SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การตั้งชื่อและใช้สูตรคานวณ Excel
ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นัน ได้อธิบายว่าเซลต่างๆในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ "ชื่อเดิม" ของ
้
เซลอยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไปด้วยชื่อคอลัมน์และแถวของเซลนั้นมารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่
8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ในการทางานจริงบางครั้งจาเป็นต้องตั้งชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นาไปใช้
งานได้งายและสะดวกขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บจานวนเงินทีนาเข้าสินค้าเดือนกุมภาพันธุ์ แทนที่จะเรียก
่
่
"E5:E8" แต้ถ้าเราตั้งว่า Feb หรือ ก.พ. ก็น่าจะเข้าใจมากกว่า

ตั้งชื่อเซลเพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย
ตั้งชื่อใหม่ให้เซลหรือกลุ่มเซล
ตั้งชื่ออัตโนมัติจากหัวคอลัมน์หรือหัวแถว

อธิบาย
ชื่อ
กุมภาพันธุ์
มีนาคม

กลุ่มเซลล์
เซลล์ B3 - B7
เซลล์ C3 - C7

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

1
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box )
วิธีนี้เป็นวิธีที่งายและรวดเร็วที่สุดในการตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อ
่
เข้าไปในช่อง name box (กล่องชื่อ) ได้ทนที ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบหรือเปลียนชื่อไม่ได้ )
ั
่
1. เลือกเซลหรือกลุ่มเซลที่ต้องการตั้งชื่อเป็นชื่อเดียวกัน
2. คลิกที่ช่อง name box (กล่องชื่อ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซล
3. เสร็จแล้วกด Enter
ประโยชน์ของชื่อเซลที่ตั้งเอง

การดูผลลัพธ์จากแถบสถานะ
1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนามาคานวณค่า
2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้วเลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะประกอบด้วย
None
(ไม่มี)
ไม่ต้องคานวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย
Average
(ค่าเฉลี่ย)
หาค่าเฉลี่ยของตัวเลข
Count
(จานวนนับ)
นับจานวนเซลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้
Count Nums (นับเฉพาะสิ่งที่เป็นตัวเลข) นับจานวนเซลที่เป็นตัวเลข
Max
(ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Min
(ค่าน้อยที่สด) หาค่าต่าสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
ุ
Sum
(ผลรวม)
หาผลรวมของตัวเลข

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

3
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

ตัวดาเนินการ
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
Opertor
+
*
/
%
^

ความหมาย
บวก
ลบ
คูณ
หาร
เปอร์เซ็นต์
ยกกาลัง

ตัวอย่างการใช ้
4+7
15-3 หรือ -6
8*3.5
9/4
3%(มีค่าเท่ากับ 0.03)
2^3(หมายถึง 2 ยกกาลัง3)

ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ
Operator ความหมาย ตัวอย่างการใช ้
=
เท่ากับ
A1= B1
>
มากกว่า
A1> B1
<
น้อยกว่า
A1< B1
>= มากกว่าหรือเท่ากับ A1>= B1
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ A1<= B1
<>
ไม่เท่ากับ
A1<> B1
ตัวดาเนินการกับข้อความ ( Text Operator )
ข้อความในที่นี้อาจเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้
(null string ) ซึ่งเวลาเขียนจะใช้เครื่องหมายคาพูดปิดและเปิดติดกันดังนี้ " "
Operator
ความหมาย
ตัวอย่างการใช้
& นาข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความข้อความขึ้นไปมาต่อเป็นข้อความเดียวกัน "บริษัท"& "อาหารไทย" หรือ A1&B1& C1

ระดับความสาคัญ
Opertor แต่ละตัวมีระดับความสาคัญไม่เท่ากัน เช่น เราใส่สูตร =2+3*5 โดยเราต้องการให้โปรแกรมนา 2+5
(ได้5) แล้วนาไปคูณกับ 5 จะได้เป็น 25 แต่เครื่องหมายคูณ* มีระดับความสาคัญสูงกว่าบวก + โปรแกรมจึงนา 3*5
ก่อน(ได้15) แล้วจึงบวกกับ 2 ได้เป็น 17 วิธีที่จะบังคับให้ Excel คิดเหมือนที่เรา ก็คือใส่ ( ) คร่อมส่วนที่ต้องการ
คานวณก่อนเป็น =(2+3)*5 เท่านี้ก็ได้คาตอบที่ถูกต้องแน่นอน

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

4
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

ตารางต่อไปนี้จะแสดงระดับความสาคัญของ Opertor ต่างๆจากมากไปน้อย โดย Opertor ที่มีระดับ
ความสาคัญสูงจะถูกคานวณก่อน และถ้ามี opertor ที่มีระดับความสาคัญเดียวกันในสูตร Excel จะคานวณจากซ้าย
ไปขวาทีละตัว

การสร้างสูตรคานวณ
พิมพ์สูตรคานวณด้วยตัวเอง
วิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างสูตรก็คือพิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อเซล ตัวเลข หรือเครื่องหมายคานวณ
ต่างๆ
1. คลิกเลือกเซลที่จะใส่สูตรคานวณ
2. พิมพ์เครื่องหมาย =
3. พิมพ์สูตรโดยใช้ชื่อเซล หรือตาแหน่งเซล
4. กด Enter ก็ขะได้ผลลัพธ์

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

5
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

ฟังก์ชั่นและสูตรคานวณ
ฟังก์ชั่นถ้าเราจะกล่าวถึงก็เหมือนกับว่าเป็น Operand ตัวหนึ่ง โดยในสูตรอาจประกอบไปด้วยฟังก์ชนอย่าง
ั่
เดียว เช่น AVERAGE( A2:A5:B12 )ซึ่งเป็นการหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขในเซล 3 เซลในวงเล็บ หรืออาจมีฟังก์ชั่นปนกับ
ข้อมูลอื่น เช่น =B4/SUM( D5:F5) คือให้นาผลรวมของเซล D5 ถึง F5 ไปหารค่าในเซล B4
สาหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นชื่อเซล จะพิมพ์ลงไปเองหรือคลิกเมาส์เลือกก็ได้

ใช้ปุ่ม Insert Function หรือแถบสูตรคานวณ ช่วยใส่ฟังก์ชน
ั่
1. คลิกเซลที่ใส่ฟังก์ชน
ั่
2. คลิกปุ่ม Insert Function ( แทรกฟังก์ชั่น )หรือกด Shift+ F3
3. คลิกเลือกประเภทของฟังก์ชั่นจากเมนูของช่อง Or select a category ( หรือเลือกประเภท ) เช่น
4. คลิก ตกลง

AVERAGE

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

6
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

5. คลิกปุ่ม Collapse
6. ใช้เมาส์คลิกที่เป็นอาร์กิวเมนต์หรือที่จะนามาคานวณ คลิกปุม Collapse
่
7. กด ตกลงเพื่อจบสูตร
เลือกฟังก์ชั่นจากปุ่ม
AutoSum ( ผลรวมอัตโนมัติ )
สาหรับฟังก์ชนต่างๆทาหน้าทีตางๆดังต่อไปนี้
ั่
่่
Sum (ผลรวม)
หาผลรวมของตัวเลข
Average (ค่าเฉลี่ย)
หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Count (จานวน)
นับจานวนเซลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้
Max (ค่ามากที่สุด)
หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Min (ค่าน้อยที่สุด)
หาค่าต่าสุดของตัวเลข
More Functions (ฟังก์ชั่นเพิ่มเติม)
ไปเลือกฟังก์ชั่นอืนๆ
่

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

7

Contenu connexe

Tendances

การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013Oil Lovery AS
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นMeaw Sukee
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นโรงเรียนโยธินบำรุง
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 

Tendances (14)

51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
 
อาร์เรย์
อาร์เรย์อาร์เรย์
อาร์เรย์
 
Lesson 20
Lesson 20Lesson 20
Lesson 20
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 

En vedette

การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานThaNit YiamRam
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopThaNit YiamRam
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ThaNit YiamRam
 
บันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพ
บันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพบันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพ
บันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพปราโมทย์ มุกดา
 

En vedette (6)

Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
Lesson 11
Lesson 11Lesson 11
Lesson 11
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
บันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพ
บันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพบันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพ
บันทึกชิ้นงานออกแบบเป็นไฟล์รูปภาพ
 

Similaire à Lesson 4 (20)

53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213021
5301121302153011213021
53011213021
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
53011213095
5301121309553011213095
53011213095
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
5632010007,5632010015
5632010007,56320100155632010007,5632010015
5632010007,5632010015
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
5632010019 5632010020
5632010019   56320100205632010019   5632010020
5632010019 5632010020
 
Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013
 
51011221071
5101122107151011221071
51011221071
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 

Plus de ThaNit YiamRam (12)

Lesson 18
Lesson 18Lesson 18
Lesson 18
 
Lesson 17
Lesson 17Lesson 17
Lesson 17
 
Lesson 16
Lesson 16Lesson 16
Lesson 16
 
Lesson 15
Lesson 15Lesson 15
Lesson 15
 
Lesson 14
Lesson 14Lesson 14
Lesson 14
 
Lesson 12
Lesson 12Lesson 12
Lesson 12
 
Lesson 10
Lesson 10Lesson 10
Lesson 10
 
Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 22
Lesson 22Lesson 22
Lesson 22
 

Lesson 4

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การตั้งชื่อและใช้สูตรคานวณ Excel ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นัน ได้อธิบายว่าเซลต่างๆในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ "ชื่อเดิม" ของ ้ เซลอยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไปด้วยชื่อคอลัมน์และแถวของเซลนั้นมารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่ 8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ในการทางานจริงบางครั้งจาเป็นต้องตั้งชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นาไปใช้ งานได้งายและสะดวกขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บจานวนเงินทีนาเข้าสินค้าเดือนกุมภาพันธุ์ แทนที่จะเรียก ่ ่ "E5:E8" แต้ถ้าเราตั้งว่า Feb หรือ ก.พ. ก็น่าจะเข้าใจมากกว่า ตั้งชื่อเซลเพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย ตั้งชื่อใหม่ให้เซลหรือกลุ่มเซล ตั้งชื่ออัตโนมัติจากหัวคอลัมน์หรือหัวแถว อธิบาย ชื่อ กุมภาพันธุ์ มีนาคม กลุ่มเซลล์ เซลล์ B3 - B7 เซลล์ C3 - C7 โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box ) วิธีนี้เป็นวิธีที่งายและรวดเร็วที่สุดในการตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อ ่ เข้าไปในช่อง name box (กล่องชื่อ) ได้ทนที ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบหรือเปลียนชื่อไม่ได้ ) ั ่ 1. เลือกเซลหรือกลุ่มเซลที่ต้องการตั้งชื่อเป็นชื่อเดียวกัน 2. คลิกที่ช่อง name box (กล่องชื่อ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซล 3. เสร็จแล้วกด Enter ประโยชน์ของชื่อเซลที่ตั้งเอง การดูผลลัพธ์จากแถบสถานะ 1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนามาคานวณค่า 2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้วเลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะประกอบด้วย None (ไม่มี) ไม่ต้องคานวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเฉลี่ยของตัวเลข Count (จานวนนับ) นับจานวนเซลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้ Count Nums (นับเฉพาะสิ่งที่เป็นตัวเลข) นับจานวนเซลที่เป็นตัวเลข Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก Min (ค่าน้อยที่สด) หาค่าต่าสุดจากทุกๆเซลที่เลือก ุ Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 2
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 3
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ตัวดาเนินการ ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ Opertor + * / % ^ ความหมาย บวก ลบ คูณ หาร เปอร์เซ็นต์ ยกกาลัง ตัวอย่างการใช ้ 4+7 15-3 หรือ -6 8*3.5 9/4 3%(มีค่าเท่ากับ 0.03) 2^3(หมายถึง 2 ยกกาลัง3) ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ Operator ความหมาย ตัวอย่างการใช ้ = เท่ากับ A1= B1 > มากกว่า A1> B1 < น้อยกว่า A1< B1 >= มากกว่าหรือเท่ากับ A1>= B1 <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ A1<= B1 <> ไม่เท่ากับ A1<> B1 ตัวดาเนินการกับข้อความ ( Text Operator ) ข้อความในที่นี้อาจเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้ (null string ) ซึ่งเวลาเขียนจะใช้เครื่องหมายคาพูดปิดและเปิดติดกันดังนี้ " " Operator ความหมาย ตัวอย่างการใช้ & นาข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความข้อความขึ้นไปมาต่อเป็นข้อความเดียวกัน "บริษัท"& "อาหารไทย" หรือ A1&B1& C1 ระดับความสาคัญ Opertor แต่ละตัวมีระดับความสาคัญไม่เท่ากัน เช่น เราใส่สูตร =2+3*5 โดยเราต้องการให้โปรแกรมนา 2+5 (ได้5) แล้วนาไปคูณกับ 5 จะได้เป็น 25 แต่เครื่องหมายคูณ* มีระดับความสาคัญสูงกว่าบวก + โปรแกรมจึงนา 3*5 ก่อน(ได้15) แล้วจึงบวกกับ 2 ได้เป็น 17 วิธีที่จะบังคับให้ Excel คิดเหมือนที่เรา ก็คือใส่ ( ) คร่อมส่วนที่ต้องการ คานวณก่อนเป็น =(2+3)*5 เท่านี้ก็ได้คาตอบที่ถูกต้องแน่นอน โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 4
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ตารางต่อไปนี้จะแสดงระดับความสาคัญของ Opertor ต่างๆจากมากไปน้อย โดย Opertor ที่มีระดับ ความสาคัญสูงจะถูกคานวณก่อน และถ้ามี opertor ที่มีระดับความสาคัญเดียวกันในสูตร Excel จะคานวณจากซ้าย ไปขวาทีละตัว การสร้างสูตรคานวณ พิมพ์สูตรคานวณด้วยตัวเอง วิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างสูตรก็คือพิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อเซล ตัวเลข หรือเครื่องหมายคานวณ ต่างๆ 1. คลิกเลือกเซลที่จะใส่สูตรคานวณ 2. พิมพ์เครื่องหมาย = 3. พิมพ์สูตรโดยใช้ชื่อเซล หรือตาแหน่งเซล 4. กด Enter ก็ขะได้ผลลัพธ์ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 5
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ฟังก์ชั่นและสูตรคานวณ ฟังก์ชั่นถ้าเราจะกล่าวถึงก็เหมือนกับว่าเป็น Operand ตัวหนึ่ง โดยในสูตรอาจประกอบไปด้วยฟังก์ชนอย่าง ั่ เดียว เช่น AVERAGE( A2:A5:B12 )ซึ่งเป็นการหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขในเซล 3 เซลในวงเล็บ หรืออาจมีฟังก์ชั่นปนกับ ข้อมูลอื่น เช่น =B4/SUM( D5:F5) คือให้นาผลรวมของเซล D5 ถึง F5 ไปหารค่าในเซล B4 สาหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นชื่อเซล จะพิมพ์ลงไปเองหรือคลิกเมาส์เลือกก็ได้ ใช้ปุ่ม Insert Function หรือแถบสูตรคานวณ ช่วยใส่ฟังก์ชน ั่ 1. คลิกเซลที่ใส่ฟังก์ชน ั่ 2. คลิกปุ่ม Insert Function ( แทรกฟังก์ชั่น )หรือกด Shift+ F3 3. คลิกเลือกประเภทของฟังก์ชั่นจากเมนูของช่อง Or select a category ( หรือเลือกประเภท ) เช่น 4. คลิก ตกลง AVERAGE โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 6
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 5. คลิกปุ่ม Collapse 6. ใช้เมาส์คลิกที่เป็นอาร์กิวเมนต์หรือที่จะนามาคานวณ คลิกปุม Collapse ่ 7. กด ตกลงเพื่อจบสูตร เลือกฟังก์ชั่นจากปุ่ม AutoSum ( ผลรวมอัตโนมัติ ) สาหรับฟังก์ชนต่างๆทาหน้าทีตางๆดังต่อไปนี้ ั่ ่่ Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต Count (จานวน) นับจานวนเซลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้ Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่าสุดของตัวเลข More Functions (ฟังก์ชั่นเพิ่มเติม) ไปเลือกฟังก์ชั่นอืนๆ ่ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 7