SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) เรื่องการแปลง
ข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) สาหรับนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน กับการเรียนการสอนแบบปกติ โดยมีขั้นตอนในการศึกษาสรุปผลได้ ดังนี้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้
เป็นสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ เรื่องการแปลง
ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการเรียนรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับการเรียนรู้แบบ
ปกติ
3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการ
แปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการเรียนรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และการ
สอนแบบปกติระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1) ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส
ตั้งอยู่เลขที่ 4 ซอยเอกชัย 4 ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 10150
สังกัด สพม.เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
รหัสวิชา (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ จานวน 2 ห้องเรียน ซึ่งมีการจัด
ห้องเรียนเป็น 2 กลุ่มที่ใช้ คือ ม.1/5 จานวน 47 คน (เป็นการเรียนรู้แบบการสอนปกติ) และ
ม.1/8 จานวน 47 คน เป็นการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รวมทั้งหมด 94 คน
2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส
ตั้งอยู่เลขที่ 4 ซอยเอกชัย 4 ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 10150
สังกัด สพม.เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
รหัสวิชา (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยวิธีการเลือกห้องที่มีจานวน
นักเรียนเท่ากันในแต่ละห้องเรียนคือ 47 คน และมีผลการเรียนเฉลี่ยและใกล้เคียงกัน
กลุ่มทดลอง ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 1 ห้องเรียน จานวน 47 คน
ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ
กลุ่มควบคุม ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 1 ห้องเรียน จานวน 47 คน
ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
1. แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ที่ เรื่องการแปลงข้อมูลให้
เป็นสารสนเทศ
1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบทฤษฎีและลงมือ
ปฏิบัติกับคอมพิวเตอร์ จานวน 2 แผน 1 คาบ/สัปดาห์ รวม 4 คาบ
1.2 บทเรียนที่ใช้ในการสอน คือ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
โดยมีการอธิบายพร้อมให้นักเรียนเขียนบันทึกลงในสมุดเพื่อจะได้ทบทวนในการเรียน
ครั้งต่อไป และมีการนาสื่อต่างๆ มาขึ้นสไลด์บนหน้าจอโปรเจ็คเตอร์ มีการน า เ ส น อ
บทสรุป แบบวิธีการบรรยายพร้อมทั้งการปฏิบัติให้กับนักเรียนดูหน้าชั้นเรียน ประกอบ
กับใบความความรู้ และแบบฝึกหัดในแต่ละเรื่อง
1.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยผู้วิจัยได้
สร้างขึ้นเองเป็ นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อ
เดียวจานวน 30 ข้อ
1.4 สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
โดยได้พัฒนามาจากการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งให้นักเรียนได้เพิ่มเพื่อน
และได้เป็นสมาชิกในกลุ่มของการเรียนในห้องเรียน ม.1/8 จานวน 47 คนมีการนาเสนอ
บทสรุปที่ใช้การบรรยายด้วยภาพ
1.5 บทเรียนที่สอนแบบปกติ คือ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
มีการนาเสนอบทสรุปแบบวิธีการบรรยายหน้าชั้นเรียน ประกอบกับใบความรู้ และ
แบบฝึกหัดในแต่ละเรื่อง
วิธีการดาเนินการวิจัย (โดยย่อ)
1. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มทดลองโดยใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ให้ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนจานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 30 นาทีในการสอบก่อนเรียน
2. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มควบคุมเรียนโดยใช้การเรียนแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5
(ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 30 ข้อ
ใช้เวลา 30 นาทีในการสอบก่อนเรียน
3. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มทดลองโดยใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยกลุ่มทดลองเรียน
โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 โดยให้นักเรียน
เปิดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ แล้วให้ไปเรียนรู้ใน
กลุ่มที่ผู้วิจัยจัดให้เรียนในแต่ละคาบ พร้อมทาแบบฝึกหัดให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนทาในคาบ
เรียนเป็นเวลา 4 สัปดาห์ๆ ละ 1 คาบเรียน คาบเรียนละ50 นาที รวมทั้งสิ้น 4 คาบ ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ดูแล
และดาเนินการทั้งหมด
4. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มควบคุมเรียนโดยใช้การเรียนแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5
(ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยกลุ่มควบคุมการเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรม
โดยครูผู้สอน สอนทั้ง 2 คาบเรียน แล้วให้นักเรียนทาใบงานในคาบเรียนเพื่อทบทวนความรู้
เป็นเวลา 4 สัปดาห์ๆ ละ 1 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 4 คาบ ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ดูแลและ
ดาเนินการทั้งหมด
5. ระยะหลังการทดลอง ผู้วิจัยทาการทดสอบหลังเรียน โดยให้กลุ่มทดลองโดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มควบคุมโดยการสอนปกติ
ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยถือเอาคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบนั้น
เป็นคะแนนทดสอบหลังการทดลอง จานวน 30 ข้อ โดยใช้เวลาในการทดสอบหลังเรียน 30 นาที
6. นาคะแนนในข้อ 1,2 และ ข้อ 5 มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ย
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และทดสอบค่าทีแบบ t-test
Independent
5. นาคะแนนในข้อ 1,2 และข้อ 5 มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ภายในกลุ่มทดลองและทดสอบค่าทีแบบ t-test Paired
สรุปผลการวิจัย
นักเรียนที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/8 โดยการเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผล
การเรียนดีกว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โดยการเรียนแบบการเรียนการสอนแบบปกติ
ภายหลังได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
อภิปรายผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการเรียนผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผล
การเรียนดีกว่าการเรียนการสอนแบบปกติ เพราะจะทาให้นักเรียนได้ตามงานได้รวดเร็วกว่าพบครู
ที่สอนเนื่องจากสามารถดูได้จากข้อมูลที่เรียนมาในแต่ละอาทิตย์ และสามารถบอกเล่าในกลุ่มจาก
เพื่อนสู่เพื่อนได้ และจะได้ปรึกษาในเนื้อหาที่ไม่เข้าใจโดยให้ผู้เรียนได้เผชิญและแก้ปัญหาได้ด้วย
ตนเอง ทาให้ผู้เรียนสนใจ มีความกระตือรือร้น สนุกสนานในการเรียนของการเรียนโดยผ่านสื่อ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่งผลให้นักเรียนที่เรียนในสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
มีผลการเรียนดีกว่าการเรียนการสอนตามปกติ แล้วมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.1 ควรมีการเผยแพร่บทเรียนคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อส่งเสริมทักษะด้าน
การเรียนการสอน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นี้ไปให้นักเรียนที่มีปัญหาด้าน การเรียนการ
สอนในโรงเรียนอื่นๆ ได้ทดลองใช้เพื่อศึกษาผลการใช้ว่าสัมพันธ์กับผลการวิจัยในครั้งนี้หรือไม่
เพื่อจะได้พัฒนาและเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์กับวงการศึกษาต่อไป
2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่านใน
ลักษณะ อื่นๆ โดยใช้แนวทางการพัฒนาในครั้งนี้เนื่องจากได้ผลเป็นอย่างดี และน่าจะสามารถ
นาไป ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทักษะด้านการอ่านอื่นๆ ได้
2.2 ควรมีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ประเภทอื่นๆ ให้เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริม และ
พัฒนาการอ่าน ที่นักเรียน หรือ ผู้ที่สนใจ สามารถเรียนรู้ได้ง่ายและสะดวก เช่น การพัฒนาเว็บไซต์
หรือ โปรแกรมประยุกต์บทโทรศัพท์มือถือ หรือ ภาพยนตร์ DVD
บทที่5

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อkrupornpana55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8bowing3925
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6sangkom
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltvPrachoom Rangkasikorn
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learningPrachoom Rangkasikorn
 
ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2krupornpana55
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนTanchanok Niktoei
 
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ppt
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ pptแนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ppt
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ pptAnuchai Theeraroungchaisri
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนPoppy'z Namkham
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...Wichit Chawaha
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentationkazkatcaz
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemguest2be5a70
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1Areerat Sangdao
 

Tendances (19)

บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
 
ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
 
Abstract
Abstract Abstract
Abstract
 
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ppt
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ pptแนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ppt
แนวทางในการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ppt
 
นน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโน
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 

Similaire à บทที่5

Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOCPete Pitch
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaporn Yawichai
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57Aphitsada Phothiklang
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Nu_waew
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการphonon701
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 

Similaire à บทที่5 (20)

Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Infor
InforInfor
Infor
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 

Plus de Annop Phetchakhong

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาคโครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาคAnnop Phetchakhong
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...Annop Phetchakhong
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จAnnop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 

Plus de Annop Phetchakhong (11)

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาคโครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
โครงการติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบปลายภาค
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)บทที่2 (เสร็จ)
บทที่2 (เสร็จ)
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...ใหม่  _ชื่อโครงการ  โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค   วิชาเทคโนโลยีสา...
ใหม่ _ชื่อโครงการ โครงการ ติวเตอร์ เตรียมลุยข้อสอบกลางภาค วิชาเทคโนโลยีสา...
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จ
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 

บทที่5

  • 1. บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) เรื่องการแปลง ข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) สาหรับนักเรี ยน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน กับการเรียนการสอนแบบปกติ โดยมีขั้นตอนในการศึกษาสรุปผลได้ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้ เป็นสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ เรื่องการแปลง ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการเรียนรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับการเรียนรู้แบบ ปกติ 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการ แปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่ได้รับการเรียนรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และการ สอนแบบปกติระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส ตั้งอยู่เลขที่ 4 ซอยเอกชัย 4 ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 10150 สังกัด สพม.เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ จานวน 2 ห้องเรียน ซึ่งมีการจัด ห้องเรียนเป็น 2 กลุ่มที่ใช้ คือ ม.1/5 จานวน 47 คน (เป็นการเรียนรู้แบบการสอนปกติ) และ ม.1/8 จานวน 47 คน เป็นการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รวมทั้งหมด 94 คน 2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดราชโอรส ตั้งอยู่เลขที่ 4 ซอยเอกชัย 4 ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 10150 สังกัด สพม.เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 2. รหัสวิชา (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยวิธีการเลือกห้องที่มีจานวน นักเรียนเท่ากันในแต่ละห้องเรียนคือ 47 คน และมีผลการเรียนเฉลี่ยและใกล้เคียงกัน กลุ่มทดลอง ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 1 ห้องเรียน จานวน 47 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มควบคุม ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 1 ห้องเรียน จานวน 47 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล 1. แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ที่ เรื่องการแปลงข้อมูลให้ เป็นสารสนเทศ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบทฤษฎีและลงมือ ปฏิบัติกับคอมพิวเตอร์ จานวน 2 แผน 1 คาบ/สัปดาห์ รวม 4 คาบ 1.2 บทเรียนที่ใช้ในการสอน คือ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยมีการอธิบายพร้อมให้นักเรียนเขียนบันทึกลงในสมุดเพื่อจะได้ทบทวนในการเรียน ครั้งต่อไป และมีการนาสื่อต่างๆ มาขึ้นสไลด์บนหน้าจอโปรเจ็คเตอร์ มีการน า เ ส น อ บทสรุป แบบวิธีการบรรยายพร้อมทั้งการปฏิบัติให้กับนักเรียนดูหน้าชั้นเรียน ประกอบ กับใบความความรู้ และแบบฝึกหัดในแต่ละเรื่อง 1.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/8 เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยผู้วิจัยได้ สร้างขึ้นเองเป็ นแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อ เดียวจานวน 30 ข้อ 1.4 สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยได้พัฒนามาจากการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งให้นักเรียนได้เพิ่มเพื่อน และได้เป็นสมาชิกในกลุ่มของการเรียนในห้องเรียน ม.1/8 จานวน 47 คนมีการนาเสนอ บทสรุปที่ใช้การบรรยายด้วยภาพ 1.5 บทเรียนที่สอนแบบปกติ คือ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มีการนาเสนอบทสรุปแบบวิธีการบรรยายหน้าชั้นเรียน ประกอบกับใบความรู้ และ แบบฝึกหัดในแต่ละเรื่อง
  • 3. วิธีการดาเนินการวิจัย (โดยย่อ) 1. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มทดลองโดยใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ให้ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนจานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 30 นาทีในการสอบก่อนเรียน 2. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มควบคุมเรียนโดยใช้การเรียนแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 30 นาทีในการสอบก่อนเรียน 3. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มทดลองโดยใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยกลุ่มทดลองเรียน โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 โดยให้นักเรียน เปิดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ แล้วให้ไปเรียนรู้ใน กลุ่มที่ผู้วิจัยจัดให้เรียนในแต่ละคาบ พร้อมทาแบบฝึกหัดให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนทาในคาบ เรียนเป็นเวลา 4 สัปดาห์ๆ ละ 1 คาบเรียน คาบเรียนละ50 นาที รวมทั้งสิ้น 4 คาบ ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ดูแล และดาเนินการทั้งหมด 4. ผู้วิจัยให้นักเรียนกลุ่มควบคุมเรียนโดยใช้การเรียนแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 (ง21104) เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ โดยกลุ่มควบคุมการเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรม โดยครูผู้สอน สอนทั้ง 2 คาบเรียน แล้วให้นักเรียนทาใบงานในคาบเรียนเพื่อทบทวนความรู้ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ๆ ละ 1 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 4 คาบ ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ดูแลและ ดาเนินการทั้งหมด 5. ระยะหลังการทดลอง ผู้วิจัยทาการทดสอบหลังเรียน โดยให้กลุ่มทดลองโดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มควบคุมโดยการสอนปกติ ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยถือเอาคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบนั้น เป็นคะแนนทดสอบหลังการทดลอง จานวน 30 ข้อ โดยใช้เวลาในการทดสอบหลังเรียน 30 นาที 6. นาคะแนนในข้อ 1,2 และ ข้อ 5 มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และทดสอบค่าทีแบบ t-test Independent 5. นาคะแนนในข้อ 1,2 และข้อ 5 มาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน ภายในกลุ่มทดลองและทดสอบค่าทีแบบ t-test Paired
  • 4. สรุปผลการวิจัย นักเรียนที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/8 โดยการเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผล การเรียนดีกว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โดยการเรียนแบบการเรียนการสอนแบบปกติ ภายหลังได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อภิปรายผล การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการเรียนผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผล การเรียนดีกว่าการเรียนการสอนแบบปกติ เพราะจะทาให้นักเรียนได้ตามงานได้รวดเร็วกว่าพบครู ที่สอนเนื่องจากสามารถดูได้จากข้อมูลที่เรียนมาในแต่ละอาทิตย์ และสามารถบอกเล่าในกลุ่มจาก เพื่อนสู่เพื่อนได้ และจะได้ปรึกษาในเนื้อหาที่ไม่เข้าใจโดยให้ผู้เรียนได้เผชิญและแก้ปัญหาได้ด้วย ตนเอง ทาให้ผู้เรียนสนใจ มีความกระตือรือร้น สนุกสนานในการเรียนของการเรียนโดยผ่านสื่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่งผลให้นักเรียนที่เรียนในสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผลการเรียนดีกว่าการเรียนการสอนตามปกติ แล้วมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 ควรมีการเผยแพร่บทเรียนคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อส่งเสริมทักษะด้าน การเรียนการสอน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นี้ไปให้นักเรียนที่มีปัญหาด้าน การเรียนการ สอนในโรงเรียนอื่นๆ ได้ทดลองใช้เพื่อศึกษาผลการใช้ว่าสัมพันธ์กับผลการวิจัยในครั้งนี้หรือไม่ เพื่อจะได้พัฒนาและเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์กับวงการศึกษาต่อไป 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่านใน ลักษณะ อื่นๆ โดยใช้แนวทางการพัฒนาในครั้งนี้เนื่องจากได้ผลเป็นอย่างดี และน่าจะสามารถ นาไป ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทักษะด้านการอ่านอื่นๆ ได้ 2.2 ควรมีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ประเภทอื่นๆ ให้เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริม และ พัฒนาการอ่าน ที่นักเรียน หรือ ผู้ที่สนใจ สามารถเรียนรู้ได้ง่ายและสะดวก เช่น การพัฒนาเว็บไซต์ หรือ โปรแกรมประยุกต์บทโทรศัพท์มือถือ หรือ ภาพยนตร์ DVD