SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
รายงาน  เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม   จัดทำโดย 1.  น . ส .  ธัญชนก  พิมพ์บึง เลขที่  20 2.  น . ส .  เพ็ญจิรา  งามสง่า เลขที่ 24  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/1 ครูที่ปรึกษา ครู ไพรินทร์  เจริญศิริ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   นำหลักการของสมดุลเคมีมาใช้อธิบาย   กระบวนการและ   ปฏิกิริยาต่างๆ   ที่เกิดขึ้น   ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต   และอธิบาย   ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม   สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นั้นเกิดขึ้นได้ในหลากหลาก รูปแบบไม่ว่าจะเป็น  1.  ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น   ภายในร่างกาย ที่มีลักษณะสมดุลไดนามิก   เช่น กระบวนการหายใจ   และ แลกเปลี่ยนแก๊สในระบบ หมุนเวียนเลือด 2.  การนำความรู้เกี่ยวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่างกาย   3.  การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์บอน 4.  เกิดปรากฏการณ์ที่พบเห็นในธรรมชาติ เช่น การเกิดหินงอกและหินย้อย
การดำรงชีวิตของมนุษย์จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการและปฏิกิริยาต่างๆภายในร่างกาย ซึ่งเกิดขึ้นในลักษณะชองสมดุลไดนามิก เช่น กระบวนการหายใจและแลกเปลี่ยนแก๊สในระบบหมุนเวียนเลือด ในภาวะปกติขณะที่ร่างกายพักผ่อน                  ผู้ชายจะใช้  O2  ประมาณ  250  มิลลิลิตรต่อนาที และมีความต้องการเพิ่มขึ้นเมื่อทำกิจกรรมหรือออกแรงมากขึ้น  O2  จะถูกลำเลียงไปยังส่วนต่างๆของร่างกายโดยรวมไปกับโมเลกุลของฮีโมโกลบิน  ( Hb)  ซึ่งเป็นโปรตีนในเม็ดเลือดแดง โมเลกุลของฮีโมโกลบินที่รวมอยู่กับ  O2  เรียกว่า ออกซีฮีโมโกลบิน เขียนสมการอย่างง่ายๆแสดงได้ดังนี้
ขณะที่หายใจเข้า  O2  จะผ่านหลอดลมฝอยและเข้าสู่ถุงลมปอด ความดันของ  O2  ในถุงลมปอดจะสูงกว่าความดันในเส้นเลือดฝอยและรวมตัวกับฮีโมโกลบินที่เม็ดเลือดแดงกลายเป็นออกซิโมโกลบิน ปฏิกิริยาจะดำเนินไปข้างหน้า เมื่อเลือดไหลเวียนไปยังเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายซึ่งจำเป็นต้องใช้  O2  เพื่อทำกิจกรรมต่างที่เป็นผลจากเมทาบอลิซึม  O2  ในเลือดจึงถูกปล่อยออกมา ปฏิกิริยาจะเกิดในทิศทางย้อนกลับเพื่อเพิ่มปริมาณ  O2  เนื่องจาก  กระบวนการทั้งสองนี้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องรวมทั้งมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากัน จึงทำให้มีภาวะสมดุลเกิดขึ้น
ในกระบวนการหายใจ นอกจากจะมีการปรับสมดุลของ  O2  แล้ว ให้พิจารณาสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในกระบวนการเมทาบอลิซึมของกลูโคส ซึ่งใช้ออกซิเจนดังต่อไปนี้ จากสมการทำให้ทราบว่าในการเผาผลาญกลูโคส  1  โมเลกุล จะต้องใช้  O2  จำนวนมากและทำให้เกิด  CO2  มากด้วยเช่นกัน เมื่อ  CO2  ที่เนื้อเยื่อมีปริมาณสูงขึ้น   CO2  จะแพร่เข้าสู่เลือดในหลอดเลือดฝอยเพื่อส่งผ่านไปยังปอด ซึ่ง  CO2  จะทำปฏิกิริยากับน้ำเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก  ( H2 CO3)  และแตะตัวอยู่ในรูปของไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน  ( HCO3)  กับไฮโดรเจนไอออน  ( H+)  ดังสมการ
ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนถูกส่งถึงหลอดเลือดฝอยรอบถุงลมปอด ซึ่งภายในถุงลมปอดมีความดันของ  CO2 น้อย ปฏิกิริยาจะเกิดย้อนกลับเพื่อเพิ่มความดัน โดย  CO2 ในหลอดเลือดฝอยจะแพร่เจ้าสู่ถุงลมปอดและถูกขับออกจากปอดในขณะที่เราหายใจออก ระบบการขนส่ง  O2  และ  CO2  ของร่างกายจากการศึกษาพบว่าในเลือดของคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมากๆจะมีความเข้มข้นของฮีโมโกลบินเม็ดเลือดแดงสูง แสดงว่าภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกันเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของระบบต่างๆภายในร่างกาย  ดังนั้นผู้ที่ต้องเดินทางไปในพื้นที่ที่สูกว่า  ระดับน้ำทะเลมากๆ อาจเกิดอาการที่ เรียกว่าไฮพอกเซีย  ( hypoxia)  ซึ่งเกิด จากที่มีออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อของ ร่างกายไม่เพียงพอ ในรายที่เป็นรุนแรง อาจถึงตายได้  เราทราบมานานแล้วว่า หน้าที่หลักของฮีโมโกลบินคือการขนส่ง ออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
เนื่องจากความดันของออกซิเจนที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลมากๆ มีค่าต่ำกว่าความดันของออกซิเจนในบรรยากาศมีค่าประมาณ  0.14  บรรยากาศ ส่วนความดันย่อยของออกซิเจนในบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลมีค่าประมาณ  0.2  บรรยากาศ ดังนั้นการอยู่ในที่ระดับความสูงมากๆ จึงมีปริมาณของ  O2  ในอากาศลดลง ตามหลักของเลอชาเตอลิเอ เมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นในที่นี้คือออกซิเจนลดลง ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดมากขึ้น ทำให้ปริมาณของออกซีฮีโมโกลบินลดลง เป็นผลให้การขนส่ง  O2  ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่างๆได้น้อยลง จึงทำให้เกิดอาการไฮพอกเซีย อย่างไรก็ตามถ้าอยู่ในบริเวณนั้นนานๆ ร่างกายสามารถปรับตัวโดยสร้าง  Hb  ในเลือดให้เพิ่มมากขึ้นจนมีผลให้ฮีโมโกลบินสามารถจับกับ   O2 เกิดเป็นออกซีฮีโมโกลบินได้อย่างเพียงพอ ด้วยเหตุนี้คนที่อยู่ในบริเวณที่มีความสูงมากๆ จึงมีระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเลือดสูงกว่าของคนที่อยู่ที่ระดับน้ำทะเลปกติ เนื่องจากกระบวนการทั้งสองเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากัน ในที่สุดระบบก็จะปรับตัวเข้าสู่ภาวะสมดุล
การนำความรู้เกี่ยวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่างกาย แคลเซียมจัดเป็นธาตุที่มีปริมาณมากที่สุดในร่างกายของมนุษย์ โดยคิดเป็นร้อยละ 1.5 – 2  ของน้ำหนักร่างกายผู้ใหญ่ ปริมาณแคลเซียมในร่างกายร้อยละ  98-99  เป็นองค์ประกอบของฟันและกระดูก ส่วนที่เหลือจะอยู่ในเนื้อเยื่อและกระแสเลือด หน้าที่หลักของแคลเซียมในร่างกายคือการเสริมสร้างและซ่อมแซมกระดูกและฟัน นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมในการทำงานของเอนไซม์ กระบวนการเมทาบอลิซึมของวิตามินดี การหดตัวของกล้ามเนื้อ การเต้นของหัวใจ การแข็งตัวของเลือด การเจริญเติบโตของกระดูกจะถึงจุดสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 35  ปี และหลังจากอายุ  40  ปี จะเกิดการสูญเสียแคลเซียมในกระดูกไปร้อยละ  1 – 2  ต่อปี เมื่ออายุประมาณ  65  ปี จะสูญเสียแคลเซียมได้ถึงร้อยละ  30 – 50  ต่อปี การสูญเสียแคลเซียมของผู้หญิงจะเกิดเร็วในช่วงภาวะหมดประจำเดือน เพื่อให้การทำงายของระบบต่างๆในร่างกายอยู่ในสภาพปกติ จึงต้องมีการรักษาระดับแคลเซียมในเลือดให้คงที่และอยู่ในภาวะสมดุลกับปริมาณแคลเซียมในกระดูก ภายใต้การควบคุมของวิตามินดีและพาราทอร์โมน การลดปริมาณแคลเซียมในเลือดเพียงเล็กน้อยจะไปกระตุ้นให้มีการปลดปล่อยแคลเซียมจากกระดูก เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมจากลำไส้พร้อมกับลดการสูญเสียทางปัสสาวะ หรือขณะที่ร่างกายอยู่ภาวะที่มีการซ่อมแซมกระดูกที่แตกหักก็จะเกิดการดูดซึมแคลเซียมเข้าไปในกระแสเลือดเพิ่มมากขึ้น กระบวนการที่เกิดขึ้นตามที่กล่าวมาแล้วมีลักษณะของสมดุลไดนามิกทั้งสิ้น
การทำงานของต่อมไทรอยด์ และพาราไทรอยด์จะทำงานร่วมกัน เพื่อควบคุม สมดุลของปริมาณแคลเซียมในเลือด โดย            ถ้าแคลเซียมในเลือดสูง จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์หลั่งฮอร์โมน แคลซิโทนิน เพื่อลดระดับแคลเซียม   ถ้าแคลเซียมในเลือดต่ำ จะกระตุ้นให้ต่อมพาราไทรอยด์หลั่งพาราทอร์โมน เพื่อเพิ่มระดับแคลเซียม               การรักษาสมดุลของแคลเซียมในเลือด
เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมพาราไทรอยด์ มีหน้าที่ควบคุมภาวะ สมดุลของแคลเซียมและ ฟอสฟอรัสในร่างกาย ซึ่งได้แก่ -  การเคลื่อนย้ายแคลเซียมและฟอสฟอรัสออกจากกระดูกและ การดูดซึมกลับ -  การเพิ่มการดูดซึมกลับของ แคลเซียมที่ไต -  การเพิ่มการดูดซึมของแคลเซียม ที่ลำไส้ -  การลดการดูดซึมฟอสฟอรัสที่ไต พาราทอร์โมน หรือ พาราไทรอยด์ ฮอร์โมน
ต่อมพาราไทรอยด์   มารู้จักกับ  ต่อมพาราไทรอยด์      ต่อมพาราไทรอยด์ หรือ   Parathyroid Glands  เป็นต่อมไร้ท่อประเภทที่จำเป็นต่อชีวิต  ( Essentail endocrine gland)  ขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วเขียว ฝังอยู่ด้านหลังของต่อมไทรอยด์ด้านละ  2  ต่อม รวมเป็น  4  ต่อม ทำหน้าที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมน  " พาราทอร์โมน "  (Parathormone)  ซึ่งเป็นสารพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน  84  โมเลกุล ทำหน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน และวิตามินดี
การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์บอน สมดุลเคมีนอกจากจะเกิดขึ้นในระบบต่างๆของร่างกายตามที่กล่าวมาแล้ว ยังเกิดกับปรากฎการณ์ต่างๆในธรรมชาติอีกด้วย เช่น วัฎจักรของคาร์บอน อะตอมของคาร์บอนมีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางเคมีต่างๆ ทั้งในสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ทำให้เกิดสารประกอบของคาร์บอนจำนวนมาก สารประกอบของคาร์บอนอาจจะสะสมในรูปของมวลชีวภาพ สารอินทรีย์ที่ตกตะกอนทับถมกัน หรือในรูปของคาร์บอเนตในหินปูนในเปลือกหอยและปะการังสารประกอบของคาร์บอนจะมีการหมุนเวียนกลับสู่บรรยากาศและแหล่งน้ำได้โดยกระบวนการหายใจ  การเผาไหม้และการเน่าเปื่อย เมื่อ  CO2  ถูกปล่อยออกมาในบรรยากาศ บางส่วน จะคงอยู่ในบรรยากาศ บางส่วนจะ ละลายลงในแหล่งน้ำ มหาสมุทร  หรือละลายในน้ำฝนแล้วซึมลงดิน
ปริมาณของแก๊ส  CO2 ในบรรยากาศกับในแหล่งน้ำบนพื้นโลกจะ อยู่ในภาวะสมดุลกันการเพิ่มปริมาณ  CO2  ให้กับบรรยากาศจะมีผลให้เกิดการละลายของ  CO2  ลงในแหล่งน้ำมากขึ้น เพื่อลดผลของการรบกวนสมดุลตามหลักของเลอชาเตอลิเอ ซึ่งในที่สุดก็จะปรับเข้าสู่สมดุลใหม่ การละลายน้ำของแก๊ส  CO2  เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้น้ำในธรรมชาติมีสภาพเป็นกรด ปัจจุบันแก๊ส  CO2  ในบรรยากาศมีปริมาณเพิ่มขึ้น เพราะว่ามีการเผาไหม้เชื้อเพลิงจำนวนมากในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การขับเคลื่อนยามพาหนะที่ใช้สัญจร และในการดำรงชีวิตประจำวัน รวมทั้งการทำลายป่า มีผลทำให้ฝนที่ตกลงมาและน้ำในแหล่งต่างๆมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น ปฏิกิริยาจากการละลายของ  CO2  ที่ทำให้มีสภาพความเป็นกรดเป็นดังนี้
เกิดปรากฏการณ์ที่พบเห็นในธรรมชาติ   การเกิดหินงอกและหินย้อย สภาพความเป็นกรดของน้ำในสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ตัวอย่างที่พบเห็นในธรรมชาติ เช่น การเกิดหินงอกและหินย้อน ซึ่งเกิดจากน้ำที่มีสภาพความเป็นกรดไหลซึมผ่านพื้นดินและทำปฏิกิริยากับหินปูน จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะละลายในน้ำที่ซึมผ่านจนอิ่มตัวและอาจมีความเข้มข้นถึง   200 ppm  เมื่อน้ำไหลซึมผ่านเข้าไปในถ้ำซึ่งมี  CO2  ในบรรยากาศเข้มข้นประมาณร้อยละ   0.04  สารละลายดังกล่าวจะอยู่ในภาวะสมดุลกับบรรยากาศภายในถ้ำ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้
ปฏิกิริยาไปข้างหน้าถึงการละลายน้ำของ  CO2  จากอากาศหรือจากการเน่าเปื่อยของซากพืชและสัตว์ในดิน ทำให้น้ำมีสภาพเป็นกรด ถ้าสารละลายมีความเป็นกรดสูงจะละลาย  Ca CO2  จากแหล่งหินปูนได้ดี หินปูนจึงเกิดการผุกร่อนเป็นโพรงหรือถ้ำได้ เมื่อสารละลายไหลไปตามผนังหรือหยดลงบนพื้นถ้ำและน้ำหรือ  CO2  สามารถแยกตัวออกจากสารละลายได้ ปฏิกิริยาจะเกิดย้อนกลับ เป็นผลให้มี  Ca CO2  ตกผลึกแยกออกมาเกิดเป็นหินย้อยตามเพดานหรือหินงอกบนพื้นภายในถ้ำ ปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดได้ช้ามาก ต้องใช้เวลานานหลายร้อยหลายพันปีกว่าจะได้หินย้อยและหินงอกที่มีสภาพใหญ่โตและสวยงามดังที่เห็น  ดังรูป
หินงอก  -  หินย้อย   หินงอกคือหินที่งอกจากพื้นหินย้อย คือหินที่ย้อยลงมาจากด้านบนเกิดมากโดยเฉพาะภูเขาหินปูน (CO2 )  ซึ่งละลายในน้ำฝน กลายเป็นกรดคาร์บอนิก   (H2CO3) ไหลไปตามก้อนหิน และทำปฏิกิริยากับแคลเซียมตาร์บอเนตที่มีอยู่ในหินปูนเกิดเป็นสารละลายแคลเซียมไฮโดรเจน - คาร์บอเนต ซี่งไหลไปตามพื้นผนังถ้ำเมื่อน้ำระเหยหมดก็เหลือตะกอนสะสมเป็นหินงอกหินย้อย
แหล่งอ้างอิง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คณะผู้จัดทำ น . ส .  ธัญชนก  พิมพ์บึง  ( พลอย )  เกิดวันจันทร์ ที่  7  กุมภาพันธ์  2537  บ้านเลขที่  119  หมู่  4  บ้านหินฮาว  ต . โนนฆ้อง อ . บ้านฝาง จ . ขอนแก่น  40270 โทร . 0874245514 [email_address]
น . ส .  เพ็ญจิรา งามสง่า  เกิดวันที่  26  มิถุนายน  2536  บ้านเลขที่  96/1  หมู่  7  บ้านหนองแวง ต . บ้านเหล่า อ . บ้านฝาง จ .  ขอนแก่น  โทร . 0870916411 Email. Penjira30@gmail.com

More Related Content

What's hot

Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 

Similar to สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
บทที่ 3 ตอนที่ 3
บทที่ 3  ตอนที่ 3บทที่ 3  ตอนที่ 3
บทที่ 3 ตอนที่ 3gasine092
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
ฝนกรด
ฝนกรดฝนกรด
ฝนกรดdnavaroj
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camappseper
 

Similar to สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (20)

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
บทที่ 3 ตอนที่ 3
บทที่ 3  ตอนที่ 3บทที่ 3  ตอนที่ 3
บทที่ 3 ตอนที่ 3
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
EM academic summary final
EM academic summary  final EM academic summary  final
EM academic summary final
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
ฝนกรด
ฝนกรดฝนกรด
ฝนกรด
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 

สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

  • 1. รายงาน เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม จัดทำโดย 1. น . ส . ธัญชนก พิมพ์บึง เลขที่ 20 2. น . ส . เพ็ญจิรา งามสง่า เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ครูที่ปรึกษา ครู ไพรินทร์ เจริญศิริ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง นำหลักการของสมดุลเคมีมาใช้อธิบาย   กระบวนการและ   ปฏิกิริยาต่างๆ   ที่เกิดขึ้น   ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต   และอธิบาย   ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
  • 3. สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นั้นเกิดขึ้นได้ในหลากหลาก รูปแบบไม่ว่าจะเป็น 1. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น   ภายในร่างกาย ที่มีลักษณะสมดุลไดนามิก   เช่น กระบวนการหายใจ   และ แลกเปลี่ยนแก๊สในระบบ หมุนเวียนเลือด 2. การนำความรู้เกี่ยวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่างกาย 3. การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์บอน 4. เกิดปรากฏการณ์ที่พบเห็นในธรรมชาติ เช่น การเกิดหินงอกและหินย้อย
  • 4. การดำรงชีวิตของมนุษย์จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการและปฏิกิริยาต่างๆภายในร่างกาย ซึ่งเกิดขึ้นในลักษณะชองสมดุลไดนามิก เช่น กระบวนการหายใจและแลกเปลี่ยนแก๊สในระบบหมุนเวียนเลือด ในภาวะปกติขณะที่ร่างกายพักผ่อน                ผู้ชายจะใช้ O2 ประมาณ 250 มิลลิลิตรต่อนาที และมีความต้องการเพิ่มขึ้นเมื่อทำกิจกรรมหรือออกแรงมากขึ้น O2 จะถูกลำเลียงไปยังส่วนต่างๆของร่างกายโดยรวมไปกับโมเลกุลของฮีโมโกลบิน ( Hb) ซึ่งเป็นโปรตีนในเม็ดเลือดแดง โมเลกุลของฮีโมโกลบินที่รวมอยู่กับ O2 เรียกว่า ออกซีฮีโมโกลบิน เขียนสมการอย่างง่ายๆแสดงได้ดังนี้
  • 5. ขณะที่หายใจเข้า O2 จะผ่านหลอดลมฝอยและเข้าสู่ถุงลมปอด ความดันของ O2 ในถุงลมปอดจะสูงกว่าความดันในเส้นเลือดฝอยและรวมตัวกับฮีโมโกลบินที่เม็ดเลือดแดงกลายเป็นออกซิโมโกลบิน ปฏิกิริยาจะดำเนินไปข้างหน้า เมื่อเลือดไหลเวียนไปยังเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายซึ่งจำเป็นต้องใช้ O2 เพื่อทำกิจกรรมต่างที่เป็นผลจากเมทาบอลิซึม O2 ในเลือดจึงถูกปล่อยออกมา ปฏิกิริยาจะเกิดในทิศทางย้อนกลับเพื่อเพิ่มปริมาณ O2 เนื่องจาก กระบวนการทั้งสองนี้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องรวมทั้งมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากัน จึงทำให้มีภาวะสมดุลเกิดขึ้น
  • 6. ในกระบวนการหายใจ นอกจากจะมีการปรับสมดุลของ O2 แล้ว ให้พิจารณาสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในกระบวนการเมทาบอลิซึมของกลูโคส ซึ่งใช้ออกซิเจนดังต่อไปนี้ จากสมการทำให้ทราบว่าในการเผาผลาญกลูโคส 1 โมเลกุล จะต้องใช้ O2 จำนวนมากและทำให้เกิด CO2 มากด้วยเช่นกัน เมื่อ CO2 ที่เนื้อเยื่อมีปริมาณสูงขึ้น CO2 จะแพร่เข้าสู่เลือดในหลอดเลือดฝอยเพื่อส่งผ่านไปยังปอด ซึ่ง CO2 จะทำปฏิกิริยากับน้ำเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก ( H2 CO3) และแตะตัวอยู่ในรูปของไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ( HCO3) กับไฮโดรเจนไอออน ( H+) ดังสมการ
  • 7. ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนถูกส่งถึงหลอดเลือดฝอยรอบถุงลมปอด ซึ่งภายในถุงลมปอดมีความดันของ CO2 น้อย ปฏิกิริยาจะเกิดย้อนกลับเพื่อเพิ่มความดัน โดย CO2 ในหลอดเลือดฝอยจะแพร่เจ้าสู่ถุงลมปอดและถูกขับออกจากปอดในขณะที่เราหายใจออก ระบบการขนส่ง O2 และ CO2 ของร่างกายจากการศึกษาพบว่าในเลือดของคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมากๆจะมีความเข้มข้นของฮีโมโกลบินเม็ดเลือดแดงสูง แสดงว่าภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกันเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของระบบต่างๆภายในร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องเดินทางไปในพื้นที่ที่สูกว่า ระดับน้ำทะเลมากๆ อาจเกิดอาการที่ เรียกว่าไฮพอกเซีย ( hypoxia) ซึ่งเกิด จากที่มีออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อของ ร่างกายไม่เพียงพอ ในรายที่เป็นรุนแรง อาจถึงตายได้ เราทราบมานานแล้วว่า หน้าที่หลักของฮีโมโกลบินคือการขนส่ง ออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
  • 8. เนื่องจากความดันของออกซิเจนที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลมากๆ มีค่าต่ำกว่าความดันของออกซิเจนในบรรยากาศมีค่าประมาณ 0.14 บรรยากาศ ส่วนความดันย่อยของออกซิเจนในบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลมีค่าประมาณ 0.2 บรรยากาศ ดังนั้นการอยู่ในที่ระดับความสูงมากๆ จึงมีปริมาณของ O2 ในอากาศลดลง ตามหลักของเลอชาเตอลิเอ เมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นในที่นี้คือออกซิเจนลดลง ปฏิกิริยาย้อนกลับจะเกิดมากขึ้น ทำให้ปริมาณของออกซีฮีโมโกลบินลดลง เป็นผลให้การขนส่ง O2 ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่างๆได้น้อยลง จึงทำให้เกิดอาการไฮพอกเซีย อย่างไรก็ตามถ้าอยู่ในบริเวณนั้นนานๆ ร่างกายสามารถปรับตัวโดยสร้าง Hb ในเลือดให้เพิ่มมากขึ้นจนมีผลให้ฮีโมโกลบินสามารถจับกับ O2 เกิดเป็นออกซีฮีโมโกลบินได้อย่างเพียงพอ ด้วยเหตุนี้คนที่อยู่ในบริเวณที่มีความสูงมากๆ จึงมีระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเลือดสูงกว่าของคนที่อยู่ที่ระดับน้ำทะเลปกติ เนื่องจากกระบวนการทั้งสองเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากัน ในที่สุดระบบก็จะปรับตัวเข้าสู่ภาวะสมดุล
  • 9. การนำความรู้เกี่ยวกับสมดุลเคมีอธิบายสมดุลของแคลเซียมในร่างกาย แคลเซียมจัดเป็นธาตุที่มีปริมาณมากที่สุดในร่างกายของมนุษย์ โดยคิดเป็นร้อยละ 1.5 – 2 ของน้ำหนักร่างกายผู้ใหญ่ ปริมาณแคลเซียมในร่างกายร้อยละ 98-99 เป็นองค์ประกอบของฟันและกระดูก ส่วนที่เหลือจะอยู่ในเนื้อเยื่อและกระแสเลือด หน้าที่หลักของแคลเซียมในร่างกายคือการเสริมสร้างและซ่อมแซมกระดูกและฟัน นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมในการทำงานของเอนไซม์ กระบวนการเมทาบอลิซึมของวิตามินดี การหดตัวของกล้ามเนื้อ การเต้นของหัวใจ การแข็งตัวของเลือด การเจริญเติบโตของกระดูกจะถึงจุดสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 35 ปี และหลังจากอายุ 40 ปี จะเกิดการสูญเสียแคลเซียมในกระดูกไปร้อยละ 1 – 2 ต่อปี เมื่ออายุประมาณ 65 ปี จะสูญเสียแคลเซียมได้ถึงร้อยละ 30 – 50 ต่อปี การสูญเสียแคลเซียมของผู้หญิงจะเกิดเร็วในช่วงภาวะหมดประจำเดือน เพื่อให้การทำงายของระบบต่างๆในร่างกายอยู่ในสภาพปกติ จึงต้องมีการรักษาระดับแคลเซียมในเลือดให้คงที่และอยู่ในภาวะสมดุลกับปริมาณแคลเซียมในกระดูก ภายใต้การควบคุมของวิตามินดีและพาราทอร์โมน การลดปริมาณแคลเซียมในเลือดเพียงเล็กน้อยจะไปกระตุ้นให้มีการปลดปล่อยแคลเซียมจากกระดูก เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมจากลำไส้พร้อมกับลดการสูญเสียทางปัสสาวะ หรือขณะที่ร่างกายอยู่ภาวะที่มีการซ่อมแซมกระดูกที่แตกหักก็จะเกิดการดูดซึมแคลเซียมเข้าไปในกระแสเลือดเพิ่มมากขึ้น กระบวนการที่เกิดขึ้นตามที่กล่าวมาแล้วมีลักษณะของสมดุลไดนามิกทั้งสิ้น
  • 10. การทำงานของต่อมไทรอยด์ และพาราไทรอยด์จะทำงานร่วมกัน เพื่อควบคุม สมดุลของปริมาณแคลเซียมในเลือด โดย           ถ้าแคลเซียมในเลือดสูง จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์หลั่งฮอร์โมน แคลซิโทนิน เพื่อลดระดับแคลเซียม ถ้าแคลเซียมในเลือดต่ำ จะกระตุ้นให้ต่อมพาราไทรอยด์หลั่งพาราทอร์โมน เพื่อเพิ่มระดับแคลเซียม            การรักษาสมดุลของแคลเซียมในเลือด
  • 11. เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมพาราไทรอยด์ มีหน้าที่ควบคุมภาวะ สมดุลของแคลเซียมและ ฟอสฟอรัสในร่างกาย ซึ่งได้แก่ - การเคลื่อนย้ายแคลเซียมและฟอสฟอรัสออกจากกระดูกและ การดูดซึมกลับ - การเพิ่มการดูดซึมกลับของ แคลเซียมที่ไต - การเพิ่มการดูดซึมของแคลเซียม ที่ลำไส้ - การลดการดูดซึมฟอสฟอรัสที่ไต พาราทอร์โมน หรือ พาราไทรอยด์ ฮอร์โมน
  • 12. ต่อมพาราไทรอยด์ มารู้จักกับ ต่อมพาราไทรอยด์     ต่อมพาราไทรอยด์ หรือ Parathyroid Glands เป็นต่อมไร้ท่อประเภทที่จำเป็นต่อชีวิต ( Essentail endocrine gland) ขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วเขียว ฝังอยู่ด้านหลังของต่อมไทรอยด์ด้านละ 2 ต่อม รวมเป็น 4 ต่อม ทำหน้าที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมน " พาราทอร์โมน " (Parathormone) ซึ่งเป็นสารพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 84 โมเลกุล ทำหน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน และวิตามินดี
  • 13. การเกิดปรากฎการณ์ วัฏจักรคาร์บอน สมดุลเคมีนอกจากจะเกิดขึ้นในระบบต่างๆของร่างกายตามที่กล่าวมาแล้ว ยังเกิดกับปรากฎการณ์ต่างๆในธรรมชาติอีกด้วย เช่น วัฎจักรของคาร์บอน อะตอมของคาร์บอนมีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางเคมีต่างๆ ทั้งในสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ทำให้เกิดสารประกอบของคาร์บอนจำนวนมาก สารประกอบของคาร์บอนอาจจะสะสมในรูปของมวลชีวภาพ สารอินทรีย์ที่ตกตะกอนทับถมกัน หรือในรูปของคาร์บอเนตในหินปูนในเปลือกหอยและปะการังสารประกอบของคาร์บอนจะมีการหมุนเวียนกลับสู่บรรยากาศและแหล่งน้ำได้โดยกระบวนการหายใจ การเผาไหม้และการเน่าเปื่อย เมื่อ CO2 ถูกปล่อยออกมาในบรรยากาศ บางส่วน จะคงอยู่ในบรรยากาศ บางส่วนจะ ละลายลงในแหล่งน้ำ มหาสมุทร หรือละลายในน้ำฝนแล้วซึมลงดิน
  • 14. ปริมาณของแก๊ส CO2 ในบรรยากาศกับในแหล่งน้ำบนพื้นโลกจะ อยู่ในภาวะสมดุลกันการเพิ่มปริมาณ CO2 ให้กับบรรยากาศจะมีผลให้เกิดการละลายของ CO2 ลงในแหล่งน้ำมากขึ้น เพื่อลดผลของการรบกวนสมดุลตามหลักของเลอชาเตอลิเอ ซึ่งในที่สุดก็จะปรับเข้าสู่สมดุลใหม่ การละลายน้ำของแก๊ส CO2 เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้น้ำในธรรมชาติมีสภาพเป็นกรด ปัจจุบันแก๊ส CO2 ในบรรยากาศมีปริมาณเพิ่มขึ้น เพราะว่ามีการเผาไหม้เชื้อเพลิงจำนวนมากในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การขับเคลื่อนยามพาหนะที่ใช้สัญจร และในการดำรงชีวิตประจำวัน รวมทั้งการทำลายป่า มีผลทำให้ฝนที่ตกลงมาและน้ำในแหล่งต่างๆมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น ปฏิกิริยาจากการละลายของ CO2 ที่ทำให้มีสภาพความเป็นกรดเป็นดังนี้
  • 15. เกิดปรากฏการณ์ที่พบเห็นในธรรมชาติ การเกิดหินงอกและหินย้อย สภาพความเป็นกรดของน้ำในสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ตัวอย่างที่พบเห็นในธรรมชาติ เช่น การเกิดหินงอกและหินย้อน ซึ่งเกิดจากน้ำที่มีสภาพความเป็นกรดไหลซึมผ่านพื้นดินและทำปฏิกิริยากับหินปูน จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะละลายในน้ำที่ซึมผ่านจนอิ่มตัวและอาจมีความเข้มข้นถึง 200 ppm เมื่อน้ำไหลซึมผ่านเข้าไปในถ้ำซึ่งมี CO2 ในบรรยากาศเข้มข้นประมาณร้อยละ 0.04 สารละลายดังกล่าวจะอยู่ในภาวะสมดุลกับบรรยากาศภายในถ้ำ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้
  • 16. ปฏิกิริยาไปข้างหน้าถึงการละลายน้ำของ CO2 จากอากาศหรือจากการเน่าเปื่อยของซากพืชและสัตว์ในดิน ทำให้น้ำมีสภาพเป็นกรด ถ้าสารละลายมีความเป็นกรดสูงจะละลาย Ca CO2 จากแหล่งหินปูนได้ดี หินปูนจึงเกิดการผุกร่อนเป็นโพรงหรือถ้ำได้ เมื่อสารละลายไหลไปตามผนังหรือหยดลงบนพื้นถ้ำและน้ำหรือ CO2 สามารถแยกตัวออกจากสารละลายได้ ปฏิกิริยาจะเกิดย้อนกลับ เป็นผลให้มี Ca CO2 ตกผลึกแยกออกมาเกิดเป็นหินย้อยตามเพดานหรือหินงอกบนพื้นภายในถ้ำ ปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดได้ช้ามาก ต้องใช้เวลานานหลายร้อยหลายพันปีกว่าจะได้หินย้อยและหินงอกที่มีสภาพใหญ่โตและสวยงามดังที่เห็น ดังรูป
  • 17. หินงอก - หินย้อย หินงอกคือหินที่งอกจากพื้นหินย้อย คือหินที่ย้อยลงมาจากด้านบนเกิดมากโดยเฉพาะภูเขาหินปูน (CO2 ) ซึ่งละลายในน้ำฝน กลายเป็นกรดคาร์บอนิก (H2CO3) ไหลไปตามก้อนหิน และทำปฏิกิริยากับแคลเซียมตาร์บอเนตที่มีอยู่ในหินปูนเกิดเป็นสารละลายแคลเซียมไฮโดรเจน - คาร์บอเนต ซี่งไหลไปตามพื้นผนังถ้ำเมื่อน้ำระเหยหมดก็เหลือตะกอนสะสมเป็นหินงอกหินย้อย
  • 18.
  • 19. คณะผู้จัดทำ น . ส . ธัญชนก พิมพ์บึง ( พลอย ) เกิดวันจันทร์ ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2537 บ้านเลขที่ 119 หมู่ 4 บ้านหินฮาว ต . โนนฆ้อง อ . บ้านฝาง จ . ขอนแก่น 40270 โทร . 0874245514 [email_address]
  • 20. น . ส . เพ็ญจิรา งามสง่า เกิดวันที่ 26 มิถุนายน 2536 บ้านเลขที่ 96/1 หมู่ 7 บ้านหนองแวง ต . บ้านเหล่า อ . บ้านฝาง จ . ขอนแก่น โทร . 0870916411 Email. Penjira30@gmail.com