SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
SOLARCELL 
ENERGY 
พลังงานจากแสง 
อาทิตย์
ที่มาและความสำาคัญ 
ของโครงงาน 
ในปัจจุบันพลังงานเข้ามามีบทบาทใน 
ชีวิตประจำาวันของมนุษย์เป็นอย่างมาก เช่น 
พลังงานปิโตรเลียมเคมีซึ่งใช้แล้วหมดไป 
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้แล้วสามารถผลิตขึ้น 
ใหม่ได้ แต่ก็มีการนำาทรัพยากรธรรมชาติ 
ไปใช้เพื่อการผลิตและมีความเสี่ยงที่จะส่ง 
ผลเสียหลายอย่างต่อสภาพแวดล้อม มนุษย์ 
จึงได้มีการเลือกใช้พลังงานทดแทนขึ้นมา 
คณะผู้จัดทำาได้สนใจในการนำาพลังงานแสง 
อาทิตย์มาใช้ทดแทนหรือลดการใช้พลังงา
วัตถุประสงค์ของโครง 
งาน 1. เพื่อศึกษาการนำาพลังงานแสงอาทิตย์มา 
ใช้ 
2. เพื่อศึกษาการทำางานของ Solar Cell 
3. เพื่อศึกษาความคุ้มค่าระหว่างการนำา 
พลังงานแสงอาทิตย์มาใช้กับการใช้ 
พลังงานไฟฟ้า 
4. รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยการลด 
ทรัพยากรธรรมชาติและลดความเสี่ยงที่ 
จะเกิดผลเสียต่อ สภาพแวดล้อม
สมมุติฐานในการศึกษา 
1.พลังงานจากแสงอาทิตย์สามารถใช้ได้ 
จริงในชีวิตประจำาวัน 
2.พลังงานจากแสงอาทิตย์ไม่ล่งผลเสียต่อ 
สภาพแวดล้อม
ขอบเขตในการศึกษา 
โครงงาน ตัวแปรต้น : แผงโซล่าเซลล์ 
ตัวแปรตาม : กระแสไฟที่ได้จากแสงอาทิตย์ 
ที่ผ่านกระบวนการทำางานของ 
แผงโซล่าเซลล์ 
ตัวแปรควบคุม : แสงอาทิตย์
วิธีดำาเนินงาน 
1.ปรึกษาและขอคำาแนะนำาจาอาจารย์ที่ 
ปรึกษาโครงงาน 
2.ประชุมกลุ่มโครงงาน 
3.แบ่งงานและค้นหาข้อมูลกับโครงงานที่จัด 
ทำา 
4.ประชุมวางแผนการทำางานเบื้องต้น 
5.ลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ 
6.ประเมินผลการปฏิบัติงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะ 
ได้รับ 
1. สามารถนำามาพลังงานแสงอาทิตย์ 
มาใช้ได้ 
2. มีความรู้ความเข้าใจหลักการ 
ทำางานของ Solar Cell 
3. คำานวณความคุ้มระหว่างการใช้ 
พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงาน 
ไฟฟ้าสำาหรับช่วงเวลาปัจจุบันได้ 
4. รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยการลด 
ทรัพยากรธรรมชาติและลดความเสี่ยง 
ที่จะเกิดผลเสียต่อสภาพแวดล้อม และ
โซล่าเซลล์ 
โซล่าเซลล์ (Solar Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์กรรม 
ทาง electronic ทสี่ร้างขึ้นเพอื่เป็นอุปกรณ์สำาหรับ 
เปลคี่ยุนณพสลมังบงาัตนิแแลสะงตอาัวทแิตปยร์ใทหี่ส้เปำา็นคพัญลขังงอางนไฟฟ้า 
1.เ คซวลาลม์แเขส้มงขออางทแิตสงย์ 
กระแสไฟ (Current) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ 
ความเข้มของแสง หมายความว่าเมอื่ความเข้ม 
ของแสงสูง กระแสทไี่ด้จากเซลล์แสงอาทิตย์ก็จะ 
สูงขึ้น 
2. อุณหภูมิ 
กระแสไฟ (Current) จะไม่แปรตาม 
อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป
ส่วนประกอบของโซ 
ล่าเซลล์
รูปของแผงโซล่าเซลล์
หลักการเก็บแสงอาทิตย์ 
ของแผงโซล่าเซลล์ 
การเก็บแสงของแผงโซล่าเซลล์ จะต้องอยู่ในที่ 
โล่งไม่มีอะไรมาบดบัง ถ้าบังแม้แต่เล็กน้อยจะ 
ทำาให้แผงนั้นไม่สามารถทำางานได้เลย
ข้อดีของพลังงานไฟฟ้า 
จาก SOLAR CELL 
1. เป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ไม่มีวันหมด 
2. เป็นแหล่งพลังงานที่สะอาด 
3. สร้างไฟฟ้าได้ทุกขนาด 
4. ผลิตที่ไหนใช้ที่นั่น
ข้อเสียของพลังงานไฟฟ้า 
จาก SOLAR CELL 
1.ความเข้มของพลังงานขาเข้าตำ่า 
2. ปริมาณไฟฟ้าที่ได้เปลี่ยนแปลง 
แปรผันตามสภาพอากาศ 
3. ไม่ใช่แบตเตอรี่ (เก็บไฟฟ้าไว้ไม่ 
ได้)
ชนิดของแผงโซล่า 
1.เซลล์ผลึกเดี่ยว –เ โซมโลนคลริส์ตอลไลน์(Mono 
Crystalline Cell) หรือซิงเกิลคริสตอล 
ไลน์(Single Crystalline Silicon) ลักษณะจะ 
เป็นผลึกแผ่นสีนำ้าเงินเข้มล้วน แต่ละแผ่นมี 
ลักษณะที่บางมากและแตกหักง่าย 
2. เซลล์ผลึกผสม – โพลีคริสตอลไลน์(Poly 
Crystalline Cell) หรือมัลติคริสตอลไลน์(Multi 
Crystalline Silicon) เป็นผลึกผสมที่ตัดมาจากซิ 
ลิคอนบล๊อก มีลักษณะสีนำาเงินอ่อน และผลึกจะมี 
ลวดลายไม่เหมือนกับซิลิคอนผลึกเดี่ยว มีค่า 
ประสิทธิภาพที่ตำ่ากว่าและมีราคาที่ถูกกว่าผลึก 
เดยี่วเล็กน้อย มีลักษณะแผ่นบาง แตกหักง่ายเช่น
3. เซลล์ฟิลม์บาง – อะมาฟัส 
เซลล์(Amorphous Cell)หรือทินฟิล์ม(Thin-film) 
เป็นฟิลม์บางที่เคลือบลงบนพื้นผิวเซลล์ 
ด้วยลักษณะการผลิตนี้เองจึงทำาให้เซลล์ชนิด 
นี้สามารถยืดหยนุ่และโค้งงอได้ จึงนำาไปใช้ 
กับแผงโซล่าที่ต้องการความยืดหยุ่น เซลล์ 
ชนิดนี้มีราคาถูกและมีประสิทธิภาพที่ตำ่ากว่า 
เซลล์สองแบบแรกอยู่มากเพราะขั้นตอนการ 
ผลิตที่ซับซ้อนน้อยกว่า นอกจากนเี้ซลล์ชนิด 
นี้จะมีอายุการใช้ง่ายที่สั้นกว่าสองแบบแรกอีก 
ด้วย
ขนาดของแผงโซล่าเซลล์
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถใช้กับ 
แผงโซล่าเซลล์ได้ 
ตัวอย่างเช่น หลอดไฟแบบไส้100 วัตต์ 
60 วัตต์ 
40 วัตต์ 
25 วัตต์ 
พัดลม ติดผนัง 16 นวิ้ 
ตั้งพื้น 16 นวิ้ 
ตั้งโต๊ะ 12 นวิ้ 
และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่เกิน 
130 วัตต์
ทิศทางการติดตั้งแผงโซ 
ล่าเซลล์ 
การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ 
แผงโซล่าเซลล์จะเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ที่มาตกกระทบกับ 
แผง ดังนั้นควรติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ให้โดนแสงตลอดทั้งวัน 
ไม่ควรที่จะมีเงามาบังแผง หลีกเลี่ยงให้ไกลจากเงาต้นไม้หรือ 
สิ่งปลูกสร้างต่างๆ เพราะจะทำาให้แผงผลิตไฟฟ้าได้ไม่เต็มที่ 
ข้อควรระวังในการติดตั้งคือเมื่อมีแผงโซล่าเซลล์ติดตั้งในระบบ 
เป็นจำานวนมากและมีการต่อแผงโซล่าเซลล์เป็นแบบวงจร 
อนุกรม เมื่อมีเงามาบดบังแสงอาทิตย์เพียงแค่แผงเดียว จะ 
ทำาให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าของทั้งระบบลดลงเป็นอย่าง 
มากหรือระบบอาจจะไม่ผลิตไฟฟ้าเลย ในกรณีอย่างนี้ไม่เป็น 
ผลดีอย่างแน่นอนเพราะจะได้กำาลังไฟฟ้าที่ผลิตได้น้อยลง แต่ก็ 
มีวิธีแก้โดยการต่อบายพาสไดโอดขนานกับแผงโซล่าเซลล์ 
แต่ละแผง
ทิศทางการติดตั้งแผงโซ 
ล่าเซลล์ โซล่าเซลล์ควรติดตั้งหันไปทางด้านใด 
ในหนึ่งวัน โลกหมุนรอบตัวเองรอบเส้นศนูย์สูตร ดังนั้น 
ตำาแหน่งที่อยู่ใกลเ้ส้นศนูย์สูตรมากเท่าไร กจ็ะยิ่งมีความ 
เข้มแสงของดวงอาทิตย์เพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยถอืเป็น 
ตำาแหน่งที่เหมาะแก่การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ 
เป็นอย่างมาก เพราะอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ทำาให้ความเข้ม 
แสงมีปริมาณที่สูง แต่เนื่องจากประเทศไทยอยู่เหนือ 
เส้นศนูย์สูตรขึ้นมา จึงทำาให้การติดตั้งแผงโซล่าเซลลจ์ึง 
ต้องติดตั้งแผงระนาบรับแสงให้หันไปทางด้านทิศใต้(มุม 
จากทิศเหนือ[Azimuth]ประมาณ 180 องศา) และมีความ 
ชันของแผง(Tilt angle)จากแนวระนาบตาม องศาละติจูด 
แต่พื้นที่ที่จะติดตั้ง โดยที่กรุงเทพจะมีความชันแผงเซลลอ์ยู่ 
ที่ประมาณ 13.5 องศาจากแนวระนาบ ส่วนเชียงใหม่ความ
พลังงานแสงอาทิตย์ 
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานสะอาดไม่ทำา 
ปฏิกิริยาใด ๆ อันจะทำาให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เซลล์ 
แสงอาทิตย์ จึงเป็นสงิ่ประดิษฐ์ทางอิเลคทรอนิคส์ชนิด 
หนงึ่ทถีู่กนำามาใช้ผลิตไฟฟ้า เนื่องจาก สามารถ 
เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้ 
โดยตรง
วิธีดำาเนินการศึกษา 
ทดลอง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ 
1.ไม้ทำาโมเดล 
2.กาว UHU 
3.กระดาษลูกฟูก 
4.กระดานไม้อัด 
5.กระจก 
6.เลื่อยฉลุ 
7.กรรไกร 
8.คัตเตอร์ 
9.ไม้ไอติม 
10.สก๊อตไบท์ 
11. วงจร 
ไฟฟ้า 
12. พัดลม 
จำาลอง
ขั้นตอนการทำางาน
ผลการศึกษาทดลอง 
การทำางานของโซล่าเซลล์ เป็น 
ขบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นกระแส 
ไฟฟ้าได้โดยตรง โดยเมอื่แสงซึ่งเป็น 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีพลังงานกระทบกับ 
สารกึ่งตัวนำา จะเกิดการถ่ายทอดพลังงาน 
ระหว่างกัน พลังงานจากแสงจะทำาให้เกิด 
การเคลอื่นที่ของกระแสไฟฟ้า (อิเลคตรอน) 
ขึ้นในสารกึ่งตัวนำา จึงสามารถต่อกระแส 
ไฟฟ้าดังกล่าวไปใช้งานได้
กระบวนการทำางานของ 
ระบบโซล่าเซลล์
สรุปการศึกษาโครง 
จากการทำาโครงงงานาแบนบจำาลองแผงโซล่าเซลนี้ 
แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการทำางานของแผงโซล่าเซลล์ 
และแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของโซล่าเซลว่ามี 
ประโยชน์อย่างไร 
สรุปการทำางานชองแผงโซล่าเซลล์ได้คือ การ 
ทำางานของเซลล์แสงอาทิตย์เป็นขบวนการเปลี่ยน 
พลังงานแสง เป็นกระแสไฟฟ้าได้โดยตรงโดยเมื่อแสงวิ่ง 
เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีพลังงานกระทบกับสารกึ่ง 
ตัวนำา จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานระหว่างกันพลังงาน 
จากแสงจะทำาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า 
(อิเล็กตรอน) ขึ้นในสารกึ่งตัวนำา จึงสามารถต่อกระแส 
ไฟฟ้าดังกล่าวใช้งานไปได้ 
การนำาพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งเป็นพลังงานจาก 
ธรรมชาติมาทดแทนพลังงานรูปแบบอื่นๆ ได้รับความ
รูปภาพระหว่างการ 
ทำางาน
Thank 
you !!!!!!!!
จัดทำาโดย 
1.นางสาวฉัตรวิมล หลงทอง ม. 
5/1 เลขที่10 
2.นางสาววรรณลักษณ์ วรรณพิรุณม.5/1 
เลขที่13 
3.นางสาวสุนิสา สระแก้ว ม.5/1 
เลขที่16 
4.นางสาวกัญญารัตน์ แก้วขวา ม.5/1 
เลขที่18 
5.นางสาวสิตานันท์ อนันตศิริ ม. 
5/1 เลขที่19 
6.นางสาวโสรยา นครไพร ม.5/1 
เลขที่20 
7.นางสาวญาสุมินทร์ มาลาศรี ม.

Contenu connexe

Tendances

งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์mintra_duangsamorn
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
หู
หูหู
หู
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 

Similaire à พลังงานจากแสงอาทิตย์

Similaire à พลังงานจากแสงอาทิตย์ (11)

09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์
 
งานพลังงานและสิ่งแวดล้อม
งานพลังงานและสิ่งแวดล้อมงานพลังงานและสิ่งแวดล้อม
งานพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
10k w+hotwater
10k w+hotwater10k w+hotwater
10k w+hotwater
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
14 2
14 214 2
14 2
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2
 

พลังงานจากแสงอาทิตย์

  • 2. ที่มาและความสำาคัญ ของโครงงาน ในปัจจุบันพลังงานเข้ามามีบทบาทใน ชีวิตประจำาวันของมนุษย์เป็นอย่างมาก เช่น พลังงานปิโตรเลียมเคมีซึ่งใช้แล้วหมดไป พลังงานไฟฟ้าที่ใช้แล้วสามารถผลิตขึ้น ใหม่ได้ แต่ก็มีการนำาทรัพยากรธรรมชาติ ไปใช้เพื่อการผลิตและมีความเสี่ยงที่จะส่ง ผลเสียหลายอย่างต่อสภาพแวดล้อม มนุษย์ จึงได้มีการเลือกใช้พลังงานทดแทนขึ้นมา คณะผู้จัดทำาได้สนใจในการนำาพลังงานแสง อาทิตย์มาใช้ทดแทนหรือลดการใช้พลังงา
  • 3. วัตถุประสงค์ของโครง งาน 1. เพื่อศึกษาการนำาพลังงานแสงอาทิตย์มา ใช้ 2. เพื่อศึกษาการทำางานของ Solar Cell 3. เพื่อศึกษาความคุ้มค่าระหว่างการนำา พลังงานแสงอาทิตย์มาใช้กับการใช้ พลังงานไฟฟ้า 4. รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยการลด ทรัพยากรธรรมชาติและลดความเสี่ยงที่ จะเกิดผลเสียต่อ สภาพแวดล้อม
  • 5. ขอบเขตในการศึกษา โครงงาน ตัวแปรต้น : แผงโซล่าเซลล์ ตัวแปรตาม : กระแสไฟที่ได้จากแสงอาทิตย์ ที่ผ่านกระบวนการทำางานของ แผงโซล่าเซลล์ ตัวแปรควบคุม : แสงอาทิตย์
  • 6. วิธีดำาเนินงาน 1.ปรึกษาและขอคำาแนะนำาจาอาจารย์ที่ ปรึกษาโครงงาน 2.ประชุมกลุ่มโครงงาน 3.แบ่งงานและค้นหาข้อมูลกับโครงงานที่จัด ทำา 4.ประชุมวางแผนการทำางานเบื้องต้น 5.ลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ 6.ประเมินผลการปฏิบัติงาน
  • 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะ ได้รับ 1. สามารถนำามาพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้ได้ 2. มีความรู้ความเข้าใจหลักการ ทำางานของ Solar Cell 3. คำานวณความคุ้มระหว่างการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงาน ไฟฟ้าสำาหรับช่วงเวลาปัจจุบันได้ 4. รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยการลด ทรัพยากรธรรมชาติและลดความเสี่ยง ที่จะเกิดผลเสียต่อสภาพแวดล้อม และ
  • 8. โซล่าเซลล์ โซล่าเซลล์ (Solar Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์กรรม ทาง electronic ทสี่ร้างขึ้นเพอื่เป็นอุปกรณ์สำาหรับ เปลคี่ยุนณพสลมังบงาัตนิแแลสะงตอาัวทแิตปยร์ใทหี่ส้เปำา็นคพัญลขังงอางนไฟฟ้า 1.เ คซวลาลม์แเขส้มงขออางทแิตสงย์ กระแสไฟ (Current) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ ความเข้มของแสง หมายความว่าเมอื่ความเข้ม ของแสงสูง กระแสทไี่ด้จากเซลล์แสงอาทิตย์ก็จะ สูงขึ้น 2. อุณหภูมิ กระแสไฟ (Current) จะไม่แปรตาม อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป
  • 11. หลักการเก็บแสงอาทิตย์ ของแผงโซล่าเซลล์ การเก็บแสงของแผงโซล่าเซลล์ จะต้องอยู่ในที่ โล่งไม่มีอะไรมาบดบัง ถ้าบังแม้แต่เล็กน้อยจะ ทำาให้แผงนั้นไม่สามารถทำางานได้เลย
  • 12. ข้อดีของพลังงานไฟฟ้า จาก SOLAR CELL 1. เป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ไม่มีวันหมด 2. เป็นแหล่งพลังงานที่สะอาด 3. สร้างไฟฟ้าได้ทุกขนาด 4. ผลิตที่ไหนใช้ที่นั่น
  • 13. ข้อเสียของพลังงานไฟฟ้า จาก SOLAR CELL 1.ความเข้มของพลังงานขาเข้าตำ่า 2. ปริมาณไฟฟ้าที่ได้เปลี่ยนแปลง แปรผันตามสภาพอากาศ 3. ไม่ใช่แบตเตอรี่ (เก็บไฟฟ้าไว้ไม่ ได้)
  • 14. ชนิดของแผงโซล่า 1.เซลล์ผลึกเดี่ยว –เ โซมโลนคลริส์ตอลไลน์(Mono Crystalline Cell) หรือซิงเกิลคริสตอล ไลน์(Single Crystalline Silicon) ลักษณะจะ เป็นผลึกแผ่นสีนำ้าเงินเข้มล้วน แต่ละแผ่นมี ลักษณะที่บางมากและแตกหักง่าย 2. เซลล์ผลึกผสม – โพลีคริสตอลไลน์(Poly Crystalline Cell) หรือมัลติคริสตอลไลน์(Multi Crystalline Silicon) เป็นผลึกผสมที่ตัดมาจากซิ ลิคอนบล๊อก มีลักษณะสีนำาเงินอ่อน และผลึกจะมี ลวดลายไม่เหมือนกับซิลิคอนผลึกเดี่ยว มีค่า ประสิทธิภาพที่ตำ่ากว่าและมีราคาที่ถูกกว่าผลึก เดยี่วเล็กน้อย มีลักษณะแผ่นบาง แตกหักง่ายเช่น
  • 15. 3. เซลล์ฟิลม์บาง – อะมาฟัส เซลล์(Amorphous Cell)หรือทินฟิล์ม(Thin-film) เป็นฟิลม์บางที่เคลือบลงบนพื้นผิวเซลล์ ด้วยลักษณะการผลิตนี้เองจึงทำาให้เซลล์ชนิด นี้สามารถยืดหยนุ่และโค้งงอได้ จึงนำาไปใช้ กับแผงโซล่าที่ต้องการความยืดหยุ่น เซลล์ ชนิดนี้มีราคาถูกและมีประสิทธิภาพที่ตำ่ากว่า เซลล์สองแบบแรกอยู่มากเพราะขั้นตอนการ ผลิตที่ซับซ้อนน้อยกว่า นอกจากนเี้ซลล์ชนิด นี้จะมีอายุการใช้ง่ายที่สั้นกว่าสองแบบแรกอีก ด้วย
  • 17. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถใช้กับ แผงโซล่าเซลล์ได้ ตัวอย่างเช่น หลอดไฟแบบไส้100 วัตต์ 60 วัตต์ 40 วัตต์ 25 วัตต์ พัดลม ติดผนัง 16 นวิ้ ตั้งพื้น 16 นวิ้ ตั้งโต๊ะ 12 นวิ้ และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่เกิน 130 วัตต์
  • 18. ทิศทางการติดตั้งแผงโซ ล่าเซลล์ การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ แผงโซล่าเซลล์จะเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ที่มาตกกระทบกับ แผง ดังนั้นควรติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ให้โดนแสงตลอดทั้งวัน ไม่ควรที่จะมีเงามาบังแผง หลีกเลี่ยงให้ไกลจากเงาต้นไม้หรือ สิ่งปลูกสร้างต่างๆ เพราะจะทำาให้แผงผลิตไฟฟ้าได้ไม่เต็มที่ ข้อควรระวังในการติดตั้งคือเมื่อมีแผงโซล่าเซลล์ติดตั้งในระบบ เป็นจำานวนมากและมีการต่อแผงโซล่าเซลล์เป็นแบบวงจร อนุกรม เมื่อมีเงามาบดบังแสงอาทิตย์เพียงแค่แผงเดียว จะ ทำาให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าของทั้งระบบลดลงเป็นอย่าง มากหรือระบบอาจจะไม่ผลิตไฟฟ้าเลย ในกรณีอย่างนี้ไม่เป็น ผลดีอย่างแน่นอนเพราะจะได้กำาลังไฟฟ้าที่ผลิตได้น้อยลง แต่ก็ มีวิธีแก้โดยการต่อบายพาสไดโอดขนานกับแผงโซล่าเซลล์ แต่ละแผง
  • 19. ทิศทางการติดตั้งแผงโซ ล่าเซลล์ โซล่าเซลล์ควรติดตั้งหันไปทางด้านใด ในหนึ่งวัน โลกหมุนรอบตัวเองรอบเส้นศนูย์สูตร ดังนั้น ตำาแหน่งที่อยู่ใกลเ้ส้นศนูย์สูตรมากเท่าไร กจ็ะยิ่งมีความ เข้มแสงของดวงอาทิตย์เพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยถอืเป็น ตำาแหน่งที่เหมาะแก่การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ เป็นอย่างมาก เพราะอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ทำาให้ความเข้ม แสงมีปริมาณที่สูง แต่เนื่องจากประเทศไทยอยู่เหนือ เส้นศนูย์สูตรขึ้นมา จึงทำาให้การติดตั้งแผงโซล่าเซลลจ์ึง ต้องติดตั้งแผงระนาบรับแสงให้หันไปทางด้านทิศใต้(มุม จากทิศเหนือ[Azimuth]ประมาณ 180 องศา) และมีความ ชันของแผง(Tilt angle)จากแนวระนาบตาม องศาละติจูด แต่พื้นที่ที่จะติดตั้ง โดยที่กรุงเทพจะมีความชันแผงเซลลอ์ยู่ ที่ประมาณ 13.5 องศาจากแนวระนาบ ส่วนเชียงใหม่ความ
  • 20. พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานสะอาดไม่ทำา ปฏิกิริยาใด ๆ อันจะทำาให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เซลล์ แสงอาทิตย์ จึงเป็นสงิ่ประดิษฐ์ทางอิเลคทรอนิคส์ชนิด หนงึ่ทถีู่กนำามาใช้ผลิตไฟฟ้า เนื่องจาก สามารถ เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยตรง
  • 21. วิธีดำาเนินการศึกษา ทดลอง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ 1.ไม้ทำาโมเดล 2.กาว UHU 3.กระดาษลูกฟูก 4.กระดานไม้อัด 5.กระจก 6.เลื่อยฉลุ 7.กรรไกร 8.คัตเตอร์ 9.ไม้ไอติม 10.สก๊อตไบท์ 11. วงจร ไฟฟ้า 12. พัดลม จำาลอง
  • 23. ผลการศึกษาทดลอง การทำางานของโซล่าเซลล์ เป็น ขบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นกระแส ไฟฟ้าได้โดยตรง โดยเมอื่แสงซึ่งเป็น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีพลังงานกระทบกับ สารกึ่งตัวนำา จะเกิดการถ่ายทอดพลังงาน ระหว่างกัน พลังงานจากแสงจะทำาให้เกิด การเคลอื่นที่ของกระแสไฟฟ้า (อิเลคตรอน) ขึ้นในสารกึ่งตัวนำา จึงสามารถต่อกระแส ไฟฟ้าดังกล่าวไปใช้งานได้
  • 25. สรุปการศึกษาโครง จากการทำาโครงงงานาแบนบจำาลองแผงโซล่าเซลนี้ แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการทำางานของแผงโซล่าเซลล์ และแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของโซล่าเซลว่ามี ประโยชน์อย่างไร สรุปการทำางานชองแผงโซล่าเซลล์ได้คือ การ ทำางานของเซลล์แสงอาทิตย์เป็นขบวนการเปลี่ยน พลังงานแสง เป็นกระแสไฟฟ้าได้โดยตรงโดยเมื่อแสงวิ่ง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีพลังงานกระทบกับสารกึ่ง ตัวนำา จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานระหว่างกันพลังงาน จากแสงจะทำาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า (อิเล็กตรอน) ขึ้นในสารกึ่งตัวนำา จึงสามารถต่อกระแส ไฟฟ้าดังกล่าวใช้งานไปได้ การนำาพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งเป็นพลังงานจาก ธรรมชาติมาทดแทนพลังงานรูปแบบอื่นๆ ได้รับความ
  • 28. จัดทำาโดย 1.นางสาวฉัตรวิมล หลงทอง ม. 5/1 เลขที่10 2.นางสาววรรณลักษณ์ วรรณพิรุณม.5/1 เลขที่13 3.นางสาวสุนิสา สระแก้ว ม.5/1 เลขที่16 4.นางสาวกัญญารัตน์ แก้วขวา ม.5/1 เลขที่18 5.นางสาวสิตานันท์ อนันตศิริ ม. 5/1 เลขที่19 6.นางสาวโสรยา นครไพร ม.5/1 เลขที่20 7.นางสาวญาสุมินทร์ มาลาศรี ม.