SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
2558 เตรีย มความ
พร้อ ม
      สูป ระชาคม
        ่
   อาเซีย น
              กลุม นิเ ทศ ติด ตามและประเมิน ผลการจัด การ
                  ่
                             ศึก ษา
             สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา
                        สระแก้ว เขต 2

                                          เอกสารลำา ดับ ที่10/2554
                           คำา นำา

        รัฐบาลไทยได้ร่วมมือกับอาเซียนในการเสริมสร้างความ
แข็งแกร่ง และความเจริญรุ่งเรือง      ในภูมิภาคทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจ การเมืองและความมั่นคง ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่
สอดคล้อง         กับกฎบัตรอาเซียน และนโยบายของรัฐบาลไทยใน
การเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และกลุ่ม
ประเทศอาเซียน โดยใช้การศึกษาเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการ
พัฒนาเพื่อเป็นรากฐานสำาคัญ ในการเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทาง
ด้านเศรษฐกิจ การเมืองและความมั่นคง ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรม
ของประเทศ ต่อมาในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ได้ให้การ
รับรองปฏิญญาชะอำา-หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน
การศึกษาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภายในปี 2558
      สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศจุดเน้นใน
การเป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษา ขันพื้นฐาน โดยจุดเน้นข้อที่ 8 ได้
                                    ้
เน้นในเรื่องการพัฒนานักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา
เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนนั้น
      กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา จึงรวบรวม
ข้อมูลที่เป็นความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการเตรียมความ
พร้อมสู่ประชาคมอาเซียนต่อไป




                          กลุ่ม นิเ ทศ ติด ตาม และประเมิน ผล
การจัด การศึก ษา
สารบัญ

                                                          หน้า
คำา นำา
สารบัญ
ความสำาคัญและความเป็นมาของประชาคมอาเซียน
             1
การขับเคลื่อนของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว
เขต 2                   3
บทบาทของหน่วยงาน เพื่อความสำาเร็จในการพัฒนาการเรียนรู้สู่
ประชาคมอาเซียน               3
คุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
             4
ตัวชี้วัดคุณภาพผู้เรียน                                          5
ตัวชี้วัดคุณภาพครู                                               9
ตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา
        9
การปรับ หลัก สูต รสถานศึก ษาเพ ืืื ่อ การพัฒ นาสู่ป ระชาคม
อาเซีย น (แจกเป็น เอกสารในการประชุม           เชิง ปฏิบ ัต ิก าร
โครงการส่ง เสริม คุณ ภาพการศึก ษาสู่ป ระชาคมอาเซีย น เมื่อ
วัน ที่ 21 กุม ภาพัน ธ์ 2554)
การพัฒ นานัก เรีย นสู่ป ระชาคมอาเซีย น

ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
     16
ธง/รายชื่อประเทศ/ผู้นำาประเทศสมาชิกอาเซียน
             17
อาเซียน + 3
     18
อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
     18
กฎบัตรอาเซียน
     18
สถานที่สำาคัญของประเทศสมาชิกอาเซียน
             19
เอกสารอ้างอิง
    22




             เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน
                   ******************************
ความสำา คัญ และความเป็น มาของประชาคมอาเซีย น
      คำาว่า “ASEAN” เป็นคำาย่อมาจาก “Association of South
East Asian Nations” หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งเมื่อเดือน
กรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูก
ยกเลิกไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มี        การลงนามใน “ปฏิญญา
กรุงเทพ” หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ที่พระราชวัง
สราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 อาเซียนได้ถือกำาเนิดขึ้นโดยมี
รัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
มาเลเซีย และสิงคโปร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี
ระหว่างกัน      ในภูมิภาค ธำารงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความ
มั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการพัฒนา
ทางสังคม และวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาค
และผลประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาท
ระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา
อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย
ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า
อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,570 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 590
ล้านคน ในปีพ.ศ. 2553 จีดีพี ของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็นมูลค่า
ราว 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ            คิดเป็นลำาดับที่ 9 ของโลกเรียง
ตามจีดีพี มีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียน
ได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทำาให้อาเซียนมี
สถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขตการค้าเสรีอาเซียน ได้
เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกำาลังก้าวสู่ความเป็น
ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามเสาหลัก คือประชาคม
อาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political Security
Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN
Socio-Cultural Community) ภายในปี พ.ศ. 2558
       อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่าง
รวดเร็วและเป็นตัวอย่างของการรวมตัวของกลุ่มประเทศที่มีพลังต่อรอง
ในเวทีการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความก้าวหน้าของ
อาเซียนมีปัจจัยจากความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างรัฐสมาชิก อัน
ก่อให้เกิดบรรยากาศที่สร้างสรรค์และเอื้อต่อความร่วมมือระหว่างกัน
ทำาให้สถานการณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เปลี่ยนผ่านจากสภาวะ
แห่งความตึงเครียดและการเผชิญหน้าในยุคสงครามเย็นมาสู่ความมี
เสถียรภาพ ความมั่นคงและความร่วมมืออย่างใกล้ชิด
ในปัจจุบัน
       สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำาเนินงาน
โครงการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่
โครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน : Spirit of ASEAN โดยคัดเลือก
โรงเรียนเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนาให้มีความพร้อมและศักยภาพใน
การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์การเรียนรู้
อาเซียนจำานวน 68 โรง แบ่งเป็นโรงเรียน 3 รูปแบบ คือ
       1) โรงเรียน Sister School จำานวน 30 โรง
       2) โรงเรียน Buffer School จำานวน 24 โรง
       3) ASEAN Focus School จำานวน 14 โรง
       ทั้งนี้มีโรงเรียนที่เป็นเครือข่ายมากกว่า 500 โรง โรงเรียนที่เข้า
       ร่วมโครงการดังกล่าว ขณะนี้
กำาลังดำาเนินการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน และจัดกิจกรรมใน
โรงเรียนเพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ผลการ
ดำาเนินงานที่ผ่านมา โรงเรียนได้จัดกิจกรรมหลากหลาย เช่น การเรียน
รู้ผ่านสื่อ อุปกรณ์ รูปภาพ วีดิทศน์ นิทรรศการ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ
                                ั
รวมถึงการติดต่อสื่อสารกับโรงเรียนในประเทศสมาชิกประชาคม
อาเซียนทางสื่อ ICT (Information communication Technology) ซึ่ง
กิจกรรมที่กล่าวมาเป็นการออกแบบและจัดประสบการณ์ เพื่อเปิด
โอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนที่เป็นศูนย์อาเซียนศึกษาและโรงเรียน
เครือข่ายได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรงและมีกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์ที่เน้น
การสร้างความตระหนักเรื่องประชาคมอาเซียน
       สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 ได้รับ
การคัดเลือกจากสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้จัด
ตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา Buffer School จำานวน 2 โรงเรียน ได้แก่
       1.โรงเรียนบ้านจัดสรรสามัคคี
       2. โรงเรียนคลองนำ้าใสวิทยาคาร
       และได้ ขยายผลไปยังโรงเรียนเครือข่าย เพื่อสร้างความตระหนัก
และเป็นแหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้น โรงเรียนเครือข่ายมีจำานวน 18 โรงเรียน
ดังนี้
1. โรงเรียนอพป.คลองนำ้าใส2.โรงเรียนบ้านหนองแข้
       3.โรงเรียนบ้านทดเจริญ
4. โรงเรียนบ้านฟากห้วย              5. โรงเรียนบ้านกุดแต้      6.
โรงเรียนบ้านหนองเทา
7. โรงเรียนบ้านแสนสุข               8. โรงเรียนเมืองไผ่        9.
โรงเรียนบ้านกุดหิน
10. โรงเรียนบีกริม            11. โรงเรียนกรุงไทย         12. โรงเรียน
นิคมสงเคราะห์ 1
13. โรงเรียนนิคมสงเคราะห์ 2 14. โรงเรียนบ้านหนองหมูน้อย
       15.โรงเรียนสระปทุม
 16. โรงเรียนบ้านคลองหว้า 17. โรงเรียนชุมชนบ้านโนนสาวเอ้ 18.
โรงเรียนบ้านหนองปรือ


การขับ เคลื่อ นของสำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา
ประถมศึก ษาสระแก้ว เขต 2
 1. จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำาเนินโครงการ
พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน :
Spirit of ASEAN เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553
2. จัดอบรมเสริมสร้างศักยภาพการสอนภาษาอังกฤษและการสอน
คอมพิวเตอร์สำาหรับครู
   โรงเรียน Buffer school และโรงเรียนเครือข่าย เมื่อวันที่ 30-31
สิงหาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา
3. ศึกษาดูงานศูนย์อาเซียนศึกษา โรงเรียน Sister School จังหวัด
เชียงใหม่ 19 – 23 กันยายน 2553
4.การจัดเต้นท์ความรู้ของประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน 10 ประเทศ 10 เครือ
ข่าย ในงาน
  ดอกแก้วบูรพาวิชาการ ' 53 ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม
ศึกษาสระแก้ว เขต 2
  ระหว่างวันที่ 1 - 3 ธันวาคม 2553
5.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคม
อาเซียน ให้แก่ผู้บริหาร
  ในสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 เมื่อวันที่ 21
กุมภาพันธ์ 2554
  ให้รับทราบจุดเน้นของสพฐ. เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดทำาหลักสูตร
สถานศึกษา
  ที่เน้นอาเซียน และการเตรียมความพร้อมของนักเรียน ครู สถานศึกษาสู่
ประชาคมอาเซียน
  ในปี พ.ศ. 2558
6. การจัดกิจกรรมค่ายเตรียมความพร้อมเยาวชนสู่ประชาคมอาเซียน :
Love to be ASEAN
   ณ โรงเรียนร่มเกล้า อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์
- 1 มีนาคม 2554

บทบาทของหน่ว ยงาน
เพื่อ ความสำา เร็จ ในการพัฒ นาการเรีย นรู้ส ู่ป ระชาคมอาเซีย น
ภายในปีก ารศึก ษา 2554
สถานศึก ษาในสัง กัด สปพ.สระแก้ว เขต 2 ทุก โรง
  1. จัดทำาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน
  2. ศึกษาบริบทในโรงเรียนเพื่อจัดทำาแหล่งเรียนรู้ (ห้อง/มุมหนังสือ)
  3. ปรับ/ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนที่เน้นอาเซียน
     เป็นรายวิชาเพิ่มเติม/สอดแทรก/ บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
  4. ให้ความสำาคัญกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น โครงการ/ชุมนุม/ชมรม/
     สัปดาห์อาเซียน/ตอบปัญหา ฯลฯ
5. จัดทำารายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตามตัวชี้วัดคุณภาพผู้เรียนทั้ง
     4 ด้าน
สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา
  1. จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนเครือข่าย 18 โรงเรียน เพื่อเป็นแหล่ง
     เรียนรู้อาเซียนศึกษา
  2. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหารทุกสถานศึกษาตระหนักในการจัดการ
     ศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
  3. นิเทศ ติดตาม และรายงานผลสถานศึกษาที่ดำาเนินการจัดการเรียนรู้
     ตามตัวชี้วัดความสำาเร็จ
     ซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัดคุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดคุณภาพครู ตัวชี้วัด
     คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา
        ในการจัด กิจ กรรมพัฒ นาความรู้แ ละเสริม สร้า งความเป็น
พลเมือ งอาเซีย นให้ผ ู้เ รีย น จะช่ว ยเพิ่ม ศัก ยภาพในการเรีย นรู้
ให้ผ ู้เ รีย น อัน จะเป็น พลัง การขับ เคลื่อ นการพัฒ นาโรงเรีย นสู่
ประชาคมอาเซีย น ในทุก พื้น ที่อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ
สำา นัก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้น พื้น ฐานโดยสำา นัก
วิช าการและมาตรฐานการศึก ษา พิจ ารณาเห็น ว่า มีค วาม
จำา เป็น อย่า งยิ่ง ที่จ ะสร้า งศัก ยภาพให้แ ก่ส ถานศึก ษา     และ
เขตพื้น ที่ก ารศึก ษา เกี่ย วกับ ความเป็น ประชาคมอาเซีย น เพื่อ
เตรีย มความพร้อ มในการก้า วเข้า สู่ การเป็น ประชาคม
อาเซีย นอย่า งยั่ง ยืน

คุณ ลัก ษณะเด็ก ไทยในประชาคมอาเซีย น
     คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน กำาหนด
คุณลักษณะ 3 ด้าน ดังนี้
ด้า นความรู้
     1. มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ
        สังคมและวัฒนธรรม
     2. มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
        2.1 จุดกำาเนิดอาเซียน
        2.2 กฎบัตรอาเซียน
        2.3 ประชาคมอาเซียน
        2.4 ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน
ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ
  1. ทักษะพื้นฐาน
1.1 สือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษา
            ่
        ประเทศเพื่อนบ้านอีกอย่างน้อย 1 ภาษา)
     1.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์
     1.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี
     1.4 มีความสามารถในการทำางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น
  2. ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม
     2.1 เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
     2.2 มีภาวะผู้นำา
     2.3 เห็นปัญหาสังคมและลงมือทำาเพื่อนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
  3. ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน
     3.1 เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน
     3.2 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
     3.3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวธีคิด
                                                          ิ
        อย่างถูกต้อง
     3.4 มีความสามารถในการจัดการ/ควบคุมตนเอง

ด้า นเจตคติ
     1. มีความภูมิใจในความเป็นไทย/ความเป็นอาเซียน
     2. มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน
     3. ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน
     4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี /
        สันติธรรม
     5. ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา
     6. ดำาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัว ชี้ว ัด ความสำา เร็จ
      การพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน จะประสบผลสำาเร็จหรือ
ไม่เพียงใด ต้องมีตัวชี้วัดความสำาเร็จทั้งคุณภาพเด็ก คุณภาพครู และ
คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อใช้ประเมินความสำาเร็จการจัดการ
เรียนรู้
ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพผู้เ รีย น
   ด้า นความรู้
คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น    ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม          ตัว ชี้ว ัด ระดับ
                                       ศึก ษา                 มัธ ยมศึก ษา
1.มีความรู้เกี่ยวกับประเทศ 1.1 ร้อยละของนักเรียน        1.1 ร้อยละของนักเรียน
อาเซียน                    ที่สามารถอธิบายความรู้       ที่สามารถวิเคราะห์และ
  1.1 ด้านการเมือง         เกี่ยวกับระบอบ การ           จำาแนกความเหมือน/
  ได้แก่                   ปกครอง สิทธิเด็ก             ความแตกต่าง เกี่ยวกับ
      - ระบอบการ                                        ระบอบการปกครอง
  ปกครอง                                                ความสัมพันธ์ระหว่าง
      - ความสัมพันธ์                                    ประเทศ สิทธิมนุษยชน
  ระหว่างประเทศ            1.2 ร้อยละของนักเรียน        กฎหมายระหว่าง
      - สิทธิเด็ก/สิทธิ    ที่สามารถอธิบายความรู้       ประเทศในด้าน
  มนุษยชน                  เกี่ยวกับระบบเงินตรา         การเมือง
      - กฎหมายระหว่าง      ระบบเศรษฐกิจ ปัจจัย          1.2 ร้อยละของนักเรียน
  ประเทศ                   การผลิต แรงงาน               ที่สามารถวิเคราะห์และ
  1.2 ด้านเศรษฐกิจ                                      จำาแนกความเหมือน/
  ได้แก่                                                ความแตกต่าง เกี่ยวกับ
                                                        ระบบเงินตรา ระบบ
                                                        เศรษฐกิจ ปัจจัยการ
                                                        ผลิต

คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น      ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม        ตัว ชี้ว ัด ระดับ
                                         ศึก ษา               มัธ ยมศึก ษา
      - ระบบเงินตราของ       1.3 ร้อยละของนักเรียน      แรงงาน การค้าเสรี ข้อ
  ประเทศ ในกลุ่ม             ที่สามารถอธิบายความรู้     ตกลงทางการค้า ความ
  อาเซียน                    เกี่ยวกับ ภาษา ศาสนา       ร่วมมือทางเศรษฐกิจ
      - ระบบเศรษฐกิจ         บุคคลสำาคัญ สภาพทาง        1.3 ร้อยละของนักเรียน
      - ปัจจัยการผลิต        ภูมิศาสตร์ สาธารณสุข       ที่สามารถวิเคราะห์และ
      - แรงงาน               เอกลักษณ์ไทย               จำาแนกความเหมือน/
      - การค้าเสรี ข้อ       ประวัติศาสตร์ในด้าน        ความแตกต่างเกี่ยวกับ
  ตกลงทางการค้า ความ         สังคมและวัฒนธรรม           ชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนา
  ร่วมมือทางเศรษฐกิจ         2.1 ร้อยละของนักเรียน      การแต่งกาย
  1.3 ด้านสังคมและ           ที่สามารถอธิบายความ        สาธารณสุข สภาพทาง
  วัฒนธรรม ได้แก่            หมาย ความสำาคัญของ         ภูมิศาสตร์ เอกลักษณ์
     - ชาติพันธุ์ , ภาษา ,   อาเซียน                    บุคคลสำาคัญ
  ศาสนา                      2.2 ร้อยละของนักเรียน      ประวัติศาสตร์
การแต่ง                    ที่สามารถอธิบายเป้า       2.1 ร้อยละของนักเรียน
     กาย,สาธารณสุข,สภาพ         หมายและหลักการ            ที่สามารถ วิเคราะห์
     ทาง                        อัตลักษณ์ สัญลักษณ์       ความจำาเป็น ความ
     ภูมิศาสตร์,เอกลักษณ์,บุ    ของกฎบัตรอาเซียน          สำาคัญของกฎบัตร
     คคลสำาคัญและ                                         อาเซียน
     ประวัติศาสตร์                                        2.2 ร้อยละของนักเรียน
  2. มีความรู้เกี่ยวกับ                                   ที่สามารถวิเคราะห์เป้า
  อาเซียน ได้แก่                                          หมายและหลักการ อัต
    2.1 จุดกำาเนิดอาเซียน                                 ลักษณ์ สัญลักษณ์ของ
    2.2 กฎบัตรอาเซียน                                     กฎบัตรอาเซียน
         - ความหมาย                                       2.3 ร้อยละของนักเรียน
         - ความสำาคัญ                                     ที่สามารถอธิบายเกี่ยว
         - สาระสำาคัญ                                     กับองค์กรอาเซียน
    2.3 ประชาคมอาเซียน                                    องค์กรที่มีความสัมพันธ์
            - ประชาคม                                     กับอาเซียน
     การเมืองและความ                                      กระบวนการตัดสินใจ
     มั่นคงอาเซียน                                        การระงับข้อพิพาท
           - ประชาคม                                      ความสัมพันธ์กับ
     เศรษฐกิจอาเซียน                                      ภายนอก
           - ประชาคมสังคม                                 2.4 ร้อยละของนักเรียน
     และวัฒนธรรมอาเซียน                                   ที่สามารถวิเคราะห์
     2.4 ความสัมพันธ์กับ                                  ประโยชน์ของกฎบัตร
     ภายนอกอาเซียน                                        อาเซียนที่มีต่อ
                                                          ประชาคมอาเซียน




      ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ
 คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น       ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม         ตัว ชี้ว ัด ระดับ
                                           ศึก ษา               มัธ ยมศึก ษา
1. ทักษะพื้นฐาน                1. ร้อยละของนักเรียนที่    1. ร้อยละของนักเรียนที่
1.1 สื่อสารได้อย่างน้อย 2      สามารถสื่อสารได้อย่าง      สามารถสื่อสารได้อย่าง
ภาษา                           น้อย 2 ภาษา คือภาษา        น้อย 2 ภาษา คือภาษา
(ภาษาอังกฤษ และภาษา         ไทยและภาษาอังกฤษ        อังกฤษและภาษาของ
ประเทศ         ในอาเซียน                            ประเทศ
อีกอย่างน้อย 1 ภาษา)                                ในอาเซียนอีกอย่างน้อย
                                                    1 ภาษา
1.2 มีทักษะในการใช้         2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สามารถใช้เทคโนโลยี           สามารถใช้เทคโนโลยี
สร้างสรรค์                  สารสนเทศในการเรียนรู้ สารสนเทศในการเรียนรู้
                            สื่อสาร                 ออกแบบ สร้างสรรค์งาน
                                                    นำาเสนอ เผยแพร่ แลก
                                                    เปลี่ยนผลงานในระดับ
                                                    อาเซียน
1.3 มีความสามารถในการ 3. ร้อยละของนักเรียนที่มี 3. ร้อยละของนักเรียนที่มี
แก้ปัญหา อย่างสันติวิธี     ความสามารถในการแก้ ความสามารถในการแก้
                            ปัญหาได้ อย่างสันติวิธี ปัญหาได้ อย่างสันติวิธี
1.4 มีความสามารถในการ 4. ร้อยละของนักเรียนที่ 4. ร้อยละของนักเรียนที่
ทำางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น สามารถทำางานและอยู่     สามารถทำางานและอยู่
                            ร่วมกับผู้อื่น          ร่วมกับผู้อื่น
2. ทักษะพลเมือง/ความรับ     1. ร้อยละของนักเรียนที่ 1. ร้อยละของนักเรียนที่
ผิดชอบ     ทางสังคม         เคารพและยอมรับความ เคารพและยอมรับความ
2.1 เคารพและยอมรับความ แตกต่างหลากหลายทาง แตกต่างหลากหลายทาง
หลากหลายทางวัฒนธรรม
2.2 มีภาวะผู้นำา            2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่
2.3 เห็นปัญหาสังคมและ       ปฏิบัติตน เป็นผู้นำาที่ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำาที่
ลงมือทำา     เพื่อนำาไปสู่  เกี่ยวข้องกับกิจกรรม    เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
การเปลี่ยนแปลง              อาเซียนศึกษา            อาเซียนศึกษาและมีผล
                            3. ร้อยละของนักเรียนที่ งานปรากฏ
                            สามารถเสนอปัญหาและ 3. ร้อยละของนักเรียนที่
                            แสดงความคิดเห็น         สามารถเสนอปัญหาและ
                                                    แสดงความคิดเห็น
                                                    เสนอทางเลือกในการแก้
                                                    ปัญหาได้

            ทัก ษะการเรีย นรู้แ ละพัฒ นาตน
 คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น    ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม      ตัว ชี้ว ัด ระดับ
                                        ศึก ษา            มัธ ยมศึก ษา
1. เห็นคุณค่าความเป็น       1. ร้อยละของนักเรียนที่ 1. ร้อยละของนักเรียนที่
มนุษย์เท่าเทียมกัน (สิทธิ   ยอมรับ ความเท่าเทียม ยอมรับ ความเท่าเทียม
เด็ก/สิทธิมนุษยชน)          กันของความเป็นมนุษย์   กันและตระหนัก         ใน
                            บนความแตกต่าง          คุณค่าของมนุษย์
2. มีส่วนร่วมในการแสดง      2.ร้อยละของนักเรียนที่มี
                                                   2.ร้อยละของนักเรียนที่มี
ความคิดเห็น และแลก          ส่วนร่วม ในการแสดง     ส่วนร่วม ในการแสดง
เปลี่ยนเรียนรู้             ความคิดเห็น        และ ความคิดเห็น           และ
                            แลกเปลี่ยนเรียนรู้     แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง
                                                   สังคม และวัฒนธรรม
3.มีความสามารถในการคิด 3. ร้อยละของนักเรียนที่ 3. ร้อยละของนักเรียนที่
วิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล มี สามารถอธิบายเหตุผลใน สามารถอธิบายเหตุผลใน
วีคิดอย่างถูกต้อง          ด้านการเมือง เศรษฐกิจ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ
                           สังคมและวัฒนธรรมได้     สังคมและวัฒนธรรม
                           อย่างถูกต้อง            สามารถแสดงออกได้
                                                   อย่างสร้างสรรค์และมี
4. มีความสามารถในการ       4. ร้อยละของนักเรียนที่ เหตุผล
จัดการ/ควบคุมตนเอง         สามารถปฏิบัติตนตามขั้น 4. ร้อยละของนักเรียนที่
                           ตอนอย่างเป็นระบบ        สามารถควบคุมตนเอง
                                                   ยืดหยุ่น ปรับตัวเข้ากับ
                                                   สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
                                                   อย่างเป็นระบบ

     เจตคติ
 คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น  ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม         ตัว ชี้ว ัด ระดับ
                                      ศึก ษา               มัธ ยมศึก ษา
1. มีความตระหนักในความ 1.ร้อยละของนักเรียนที่      1.ร้อยละของนักเรียนที่
เป็นอาเซียน               ยอมรับและเห็นประโยชน์ ยอมรับและเห็นประโยชน์
                          ของการเป็นอาเซียน        และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
                                                   ที่เกี่ยวกับอาเซียน
2. มีความภูมิใจในความเป็น 2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่
ไทย/ความเป็นอาเซียน       เข้าร่วมกิจกรรมด้วย      เข้าร่วมกิจกรรมด้วย
                          ความกระตือรือร้น         ความกระตือรือร้นและ
                                                   รู้คุณค่าของความเป็น
                                                   ไทยและความเป็นส่วน
                                                   หนึ่งของอาเซียน
3. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ    3. ร้อยละของนักเรียนที่ 3. ร้อยละของนักเรียนที่
ประชาคมอาเซียน            แสดงความเอื้ออาทร แบ่ง แสดงความเอื้ออาทร แบ่ง
                          ปันระหว่างสมาชิกใน       ปัน คำานึงถึงผลกระทบ
                          ประเทศอาเซียน
4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย      4.1 ร้อยละของนักเรียนที่   4.1 ร้อยละของนักเรียนที่
ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล        มีคารวะธรรม ปัญญา          มีคารวะธรรม ปัญญา
(คารวะธรรม ปัญญาธรรม           ธรรม สามัคคีธรรม           ธรรม สามัคคีธรรม และ
สามัคคีธรรม) สันติวิธี/สันติ   4.2 ร้อยละของนักเรียนที่   ปฏิบัติตนเป็นประจำา
ธรรม                           สามารถแก้ปัญหาอย่าง        สมำ่าเสมอ
                               สันติวี/สันติธรรม          4.2 ร้อยละของนักเรียนที่
                                                          สามารถแก้ปัญหาอย่าง
                                                          สันติวี/สันติธรรมเป็น
                                                          ประจำาสมำ่าเสมอ



      ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพครู
         1. ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม
            อาเซียน
         2. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร
         3. ครูใช้หนังสือ ตำาราเรียน และสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศในการ
            จัดการเรียนรู้
         4. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการจัดการเรียนรู้ การวัดและ
            ประเมินผล และการเผยแพร่ทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์

      ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพครู
         5. ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม
            อาเซียน
         6. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร
         7. ครูใช้หนังสือ ตำาราเรียน และสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศในการ
            จัดการเรียนรู้
         8. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการจัดการเรียนรู้ การวัดและ
            ประเมินผล และการเผยแพร่ทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์
         9. ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายโดยเน้นกิจกรรมหรือ
            กระบวนการในการจัดการเรียนรู้
         10.       ครูสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการ
            เรียนรู้ทั้งในประเทศ และในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
         11.       ครูใช้การวิจัย สื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง

      ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพผู้บ ริห ารสถานศึก ษา
          1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
2. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวการณ์
      จำากัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   3. ผู้บริหารมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ
      ทักษะในการใช้ ICT
   4. ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่าย เพื่อความ
      ร่วมมือในการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน เช่น โรงเรียน
      องค์กรเอกชน หน่วยงานราชการ ฯลฯ
   5. ผู้บริหารมีความสามารถในการนิเทศ ติดตามผลการดำาเนินงาน
   6. ผู้บริหารมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อ
      สือสารกับภาคีเครือข่ายในกลุ่มประชาคมประเทศสมาชิก
        ่
      อาเซียน




   การปรับ หลัก สูต รสถานศึก ษาเพื่อ การพัฒ นาสู่
                ประชาคมอาเซีย น
        เอกสารหลัก สูต รสถานศึก ษาเป็น เอกสารที่ส ำา คัญ ที่ค รู จ ะ
ใช้ส ำา หรับ การจัด ทำา หน่ว ยการเรีย นรู่ จัด การเรีย นการสอน
และการประเมิน ผลเพื่อ พัฒ นาผู้เ รีย น ดังนั้นเอกสารหลักสูตร
สถานศึกษาควรมีข้อมูลที่ชัดเจนในการนำาไปสู่การปฎิบัติ การปรับ
หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน อาจดำาเนิน
การได้ดังนี้
        -ความนำา แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับกรอบหลักสูตรระดับ
ท้องถิ่น จุดเน้น และความต้อ งการของโรงเรีย นในการพัฒ นาสู่
ประชาคมอาเซีย น
        -วิส ัย ทัศ น์ เป็นทิศทางในการจัดการศึกษาของตน เป็น
เอกลักษณ์ของสถานศึก ษา เพิ่ม เติม ข้อ ความที่แ สดงเจตนารมณ์
ในการพัฒ นาผู้เ รีย นสู่ป ระชาคมอาเซีย น เพื่อ ให้อ ยู่ใ นสัง คม
อย่า งมีค วามสุข เช่น
        “โรงเรียน......................มุ่งมั่นสร้างโอกาสและส่งเสริมการเรียน
รู้สู่มาตรฐานสากล พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม รัก
ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ มีทักษะการดำารงชีวิต มีทักษะการอยู่ร่วม
กับประชาคมอาเซียน เพื่อให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข”
- สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น เป็นสมรรถนะจำาเป็นพื้นฐาน 5
ปะการ ดังนี้
          1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3)
          ความสามารถในการแก้ปัญหา
          4.) ความสามารถในการใช้ชีวิต 5) ความสามารถในการใช้
          เทคโนโลยี
       - คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ 8 ประการ ที่กำาหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางนั้น เป็นคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนทุก
คนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่
       1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
       2. ซือสัตย์ สุจริต
             ่
       3. มีวินัย
       4. ใฝ่เรียนรู้
       5. อยู่อย่างพอพียง
       6. มุ่งมั่นในการทำางาน
       7. รักความเป็นไทย
       8. มีจิตสาธารณะ
       - โครงสร้า งหลัก สูต รสถานศึก ษา เป็นส่วนที่ให้ข้อมูลเกี่ยว
กับโครงสร้างเวลาเรียน การกำาหนดรายวิชาที่จัดสอนในแต่ละปี / ภาค
เรียน ซึ่งประกอบด้วยรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน พร้อมทั้งจำานวนเวลาเรียน หรือหน่วยกิตของรายวิชาเหล่านั้น




     * หลัก สูต รชั้น ปี
      ระดับประถมศึกษา จะระบุรายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่
เปิดสอนในแต่ละปี
      ระดับมัธยมศึกษาระบุไว้ในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งระบุจำานวน
เวลาเรียนหรือจำานวนหน่วยกิตของรายวิชาและกิจกรรมเหล่านั้นกำากับ
ไว้ด้วย

     *ประเภทรายวิช า
      รายวิช าพื้น ฐาน เป็นรายวิชาที่เปิดสอนพเอพัฒนาผู้เรียนตาม
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางที่กำาหนดไว้
ในหลักสูตรแกนกลาง ซึ่งเป็นสิ่งซึ่งผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานต้องเรียนรู้ เนื้อ หาสาระของอาเซีย น สามารถนำา ไปเชื่อ ม
โยง เพิ่ม เติม หรือ บูร ณาการได้ท ุก รายวิช า โดยเฉพาะรายวิช า
สัง คมศึก ษาฯ
      รายวิช าเพิ่ม เติม เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถะ
เปิดสอนเพิ่มเติมจากสิ่งที่กำาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง เพื่อให้
สอดคล้องกับจุดเน้น ความต้องการและความถนัดของผู้เรียนหรือความ
ต้องการของท้องถิ่น
      - ในส่วนของจุดเน้นอาเซียน โรงเรียนอาจเปิด สอนเป็น
รายวิช าเพิ่ม เติม ในกลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ัง คมศึก ษาฯ ใน
ระดับ มัธ ยมศึก ษา
      -คำา อธิบ ายรายวิช า ส่วนนี้เป็นรายละเอียดที่ช่วยให้ทราบว่าผู้
เรียนจะเรียนรู้อะไร จากรายวิชานั้น ๆ ในคำาอธิบายรายวิชา จะ
ประกอบด้วย รหัสวิชา ประเภทรายวิชา (พื้นฐาน/เพิ่มเติม) กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ระดับชั้นที่สอน พร้อมทั้งคำาอธิบายให้ทราบว่า เมื่อเรียน
รายวิชานั้นแล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะหรือเจตคติอะไร
ซึ่งอาจระบุให้ทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ หรือประสบการณ์สำาคัญที่ผู้
เรียนจะได้รับด้วยก็ได้
      -ในส่วนของอาเซียน ถ้าในรายวิชาพื้นฐานรายวิชาใด เพิ่มเติม
เนื้อหาเกี่ยวกับอาเซียน ก็ต้องเพิ่มข้อความเนื้อหาที่เพิ่มเติมนั้นลงไป
ด้วย
      - กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น ประกอบด้วย กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วน
ของอาเซียน อาจจัดกิจกรรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน เช่น จัดเป็น
ชมรม (ชมรมรักษ์อาเซียน ฯ กิจกรรมศึกษาเกี่ยวกับอาเซียน ฯ)

*แนวการจัด การเรีย นรู้
      1. สอดแทรก / บูรณาการทุกกลุ่มสาระ (8 กลุ่มสาระ)
      2. จัดทำาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระสังคมฯ (มัธยมศึกษา)
      3. จัดเป็นชุมนุม / ชมรม เกี่ยวกับอาเซียน
      4. จัดในลักษณะกิจกรรมเสริมตามบริบท ความพร้อมของ
โรงเรียน เช่น
            4.1 จัดเป็นโครงการ หรือกิจกรรมทางวิชาการเสริม เช่น
แรลลีอาเซียน ฐานการเรียนรู้อาเซียน สัปดาห์อาเซียน ตอบปัญหา
อาเซียน(ทุกวันศุกร์) ข่าวอาเซียนรายวัน ประกวดจัดทำาหนังสือเล่มเล็ก
อาเซียน โครงงานอาเซียน(ตามความสนใจ) ค่ายเยาวชนอาเซียน ฯลฯ
            4.2 จัดเป็นแหล่งเรียนรู้ สำาหรับให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า
เช่น มุมอาเซียนในห้องเรียน ในห้องสมุด หรือจัดเป็นห้องอาเซ๊ยนโดย
เฉพาะ ฯลฯ
การพัฒ นานัก เรีย นสูป ระชาคมอาเซีย น
                        ่

1. เป้า หมายของการพัฒ นานัก เรีย นสู่ป ระชาคม
   อาเซีย น
  เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมนักเรียนสู่ประชาคมอาเซียน
  โดยมีเป้าหมาย ดังนี้
  1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าใจและอธิบายความรู้
      พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน
  1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปฏิบัติตนและเข้าร่วมกิจกรรม
      เกี่ยวกับอาเซียน
  1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ตระหนักถึงความสำาคัญของ
      อาเซียนและเผยแพร่

2. สาระการเรีย นรู้อ าเซีย น
  2.1 นัก เรีย นชั้น ประถมศึก ษาปีท ี่ 4-6
           1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน
            ความเป็นมา/การก่อตั้ง
            เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง
            ประเทศสมาชิก และข้อมูลพื้นฐาน
            ธงอาเซียนและสัญลักษณ์เซียน
            ภาษาที่ใช้ในอาเซียน
           2) การพัฒนาคนไทยสู่ประชาคมอาเซียน
              อาเซียน
            ประชาคมอาเซียน
            แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน



  2.2 นัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1-3
      1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน
            ความเป็นมา/การก่อตั้ง
            เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง
ประเทศสมาชิก ประเทศคู่เจรจา และข้อมูลพื้นฐาน
               ธงอาเซียนและสัญลักษณ์เซียน
               ภาษาที่ใช้ในอาเซียน
               การประชุมสุดยอดอาเซียน
          2) การพัฒนาคนไทยสู่ประชาคมอาเซียน
                อาเซียน
               ประชาคมอาเซียน
               ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
               ประชาคมการเมืองและเศรษฐกิจอาเซียน
                กฎบัตรอาเซียน
                ปฏิญญาอาเซียน
               แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน
    2.3 นัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4-6
        1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน
              ความเป็นมา/การก่อตั้ง
              เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง
              ประเทศสมาชิก ประเทศคู่เจรจา และข้อมูลพื้นฐาน
              ธงอาเซียนและสัญลักษณ์เซียน
              ภาษาที่ใช้ในอาเซียน
              การประชุมสุดยอดอาเซียน
        2) การพัฒนาคนไทยสู่ประชาคมอาเซียน
              อาเซียน
              ประชาคมอาเซียน
              ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
              ประชาคมการเมืองและเศรษฐกิจอาเซียน
               กฎบัตรอาเซียน
               ปฏิญญาการศึกษา
               อาเซียนกับประเด็นต่าง ๆ เช่น สิทธิมนุษยชน สิ่ง
             แวดล้อม ประชาธิปไตย สุขภาพ
ขนบธรรมเนีบม ประเพณี วัฒนธรรม
                 บทบาทของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน
              แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน

  3. แนวการจัด การเรีย นรู้
       1. นำาไปสอดแทรก หรือบูรณาการในรายวิชาพื้นฐาน 8 กลุ่ม
          สาระ
2. จัดทำาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
          ศึกษาฯ ในระดับมัธยมศึกษา
       3. จัดทำาเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น ชุมนุม / ชมรมรักษ์
          อาเซียน เยาวชนอาเซียน ค่ายเยาวชนอาเซียน

  4.สื่อ การเรีย นรู้
       1. แผ่นพับ “แนะนำาให้รู้จักอาเซียน” ของกรมอาเซียน
       2. หนังสือ “มารู้จักอาเซียนกันเถอะ” ของกรมอาเซียน
       3. ชุดสือต้นแบบเกี่ยวกับอาเซียนสำาหรับนักเรียน ที่สำานัก
               ่
       วิชาการและมาตรฐานการศึกษาจัดทำา / จัดซื้อ จัดหา ขึ้น
       4. สือและแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ ที่โรงเรียนจัดทำา / จัดซื้อ/
            ่
       จัดหา ขึน ้

5. แนวการวัด และประเมิน ผล
      วัดและประเมินการเรียนรู้ที่หลากหลายตามสภาพจริง เช่น การ
สังเกต การสัมภาษณ์ การถาม/ตอบ การตรวจผลงานนักเรียน การวัด
หรือการสอบ โดยใช้แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แฟ้มสะสมผลงาน
นักเรียน การใช้แบบวัด หรือแบบทดสอบ




                 ความรู้เ กี่ย วกับ อาเซีย น
สัญ ลัก ษณ์อ าเซีย น
               “ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้”
   หมายถึง ประเทศในภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10
                            ิ
  ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นนำ้าหนึ่งใจเดียวกัน
  โดยสีที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่สำาคัญของ
              ธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
-สีน ำ้า เงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
 -สีแ ดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
- สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และ สีเหลือง หมายถึง ความ
เจริญรุ่งเรือง
                       ธงอาเซียน




                         คำาขวัญ
    "One Vision, One Identity, One Community"
    (หนึ่ง วิส ัย ทัศ น์ หนึ่ง เอกลัก ษณ์ หนึ่ง ประชาคม)




 ธงของประเทศสมาชิก ในสมาคมประชาติเ อเชีย ตะวัน
               ออกเฉีย งใต้
ธงชาติใ หม่ข องสาธารณรัฐ แห่ง สหภาพ
พม่า
          รายชือ ประเทศและผู้น ำา ของประเทศ ที่เ ป็น
                ่
       สมาชิก อาเซีย น
1. ราชอาณาจักรไทย                    - นายกรัฐมนตรี
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ      2. สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว - ประธานประเทศจูมมะลี ไชยะสอน
3.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม         - ประธานาธิบดีเหงี
ยน มินห์ เจียต
4. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า              - พลเอกอาวุโส
ต่าน ฉ่วย
5. ราชอาณาจักรกัมพูชา          - นายกรัฐมนตรีสมเด็จอัค
คมหาเสนาดีเดโชฮุน เซน
6 มาเลเซีย                     - นายกรัฐมนตรีดาโต๊ะ ชรี
โมฮาเหม็ด นาจิบ บินตุ
                                   ฮัจญี อับดุล ราซัค
7. สาธารณรัฐสิงคโปร์                - นายกรัฐมนตรีลี
เซียนลุง
8. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย             - ประธานาธิบดีซูซีโล
บัมบัง ยูโดโยโน
9. รัฐบรูไนดารุสซาลาม                - สมเด็จพระราชาธิบดี
ฮัจญี ฮัสซานัล
                                         โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน
วัดเดาละห์
                                         สมเด็จพระราชาธิบดี
องค์ที่ 29
10.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์        -ประธานาธิบดี กลอเรีย มาคาปากัล
อาโรโย
ประเทศสัง เกตการณ ื์อ ีก 2 ประเทศ
                             ที่มา : กรมอาเซียน กระทรวงการต่าง
คือ 1. ประเทศติมอร์ ตะวันออก ประธานาธิบดี โจเซ รามอส ฮอร์ตา
                             ประเทศ
     2. ประเทศปาปัวนิวกีนี  นายกรัฐมนตรีเซอร์ไมเคิล โซมาเร
อาเซีย น + 3
ความร่วมมือด้านการศึกษาภายใต้กรอบความร่วมมือ อาเซียน + 3 (จีน ญี่ปุ่น
และสาธารณรัฐเกาหลี)

อาเซีย นกับ ประเทศคู่เ จรจา
ความสัมพันธ์กับประเทศคู่เจรจา 10 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา
จีน อินเดีย ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป
และกับสหประชาชาติ
เพื่อทำาให้เกิดสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศในภูมิภาคที่เอื้ออำานวยต่อ
กระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน

กฎบัต รอาเซีย น (ASEAN Charter)
      กฎบัตรอาเซียน เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบแนวทาง
ทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการ
ดำาเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการ
รวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558(ค.ศ.2015) ตามที่ผู้นำาอาเซียนได้
ตกลงกันไว้ โดยวัตถุประสงค์ของกฎบัตร คือ ทำาให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มี
ประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และเคารพกฎ กติกาในการทำางานมาก
ขึน นอกจากนี้ กฎบัตรฯจะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็นองค์กรระหว่าง
  ้
รัฐบาล

ประชาคมอาเซีย นด้า นการเมือ งและความมั่น คง (ASEAN
Political Security Community)
อาเซียนมุ่งส่งเสริมความร่วมมือในด้านการเมืองและความมั่นคงเพื่อเสริม
สร้างและธำารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน
ภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งโดย
สันติวิธี
ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย น (ASEAN Economic Community)
     อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2553 โดยมีเป้า
หมายให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า
บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
ประชาคมสัง คมและวัฒ นธรรมอาเซีย น (ASEAN Socio-Cultural
Community
      อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จากการรวมตัวกันเพื่อทำาให้ประชาชนมีการอยู่ดี
กินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ      มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้าน (Functional cooperation)ภายใต้สังคม
และวัฒนธรรม ที่ครอบคลุมในหลายด้าน ได้แก่ เยาวชน การศึกษาและการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิ่งแวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา
วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล ยาเสพ
ติด       การจัดการภัยพิบัติ โดยมีคณะทำางานอาเซียนรับผิดชอบการดำาเนิน
ความร่วมมือในแต่ละด้าน

สถานทีส ำา คัญ ของประเทศสมาชิก อาเซีย น
      ่



                                         พระธาตุหลวง
                                         ประเทศลาว




                                         นครวัด ประเทศ
                                         กัมพูชา



                                          พิพิธภัณฑ์โฮจิมินห์
                                          ประเทศเวียดนาม
ประเท                         ศฟิลิปปินส์




        เมอร์ไลออน หรือ สิงโตทะเล -
              ประเทศสิงคโปร์




            บรูไนมิวเซียม-ประเทศ
                    บรูไน
บุโรพุทโธ ประเทศ
                                อินโดนีเซีย




                             พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง
                             ประเทศพม่า




                            จตุรัสเมอร์เดก้า ประเทศ
                            มาเลเซีย


การประชุม สุด ยอดอาเซีย นครั้ง ที่ 18 ที่จ าการ์ต า 7 – 8
                 พฤษภาคม 2011
การประชุม สุด ยอดอาเซีย นครั้ง ที่ 18 มีห ัว ข้อ หลัก ว่า “ประชาคม
อาเซีย นในประชาคมโลก :
ASEAN Community in a Global Community of Nations” โดยมีเ ป้า
หมายสำา คัญ อยู่ท ี่
“การพยายามผลัก ดัน ให้อ าเซีย นเดิน หน้า สู่ก ารเป็น ประชาคมอาเซีย น
ในปี 2558 (ค.ศ. 2015)
และการพยายามให้ป ระชาคมอาเซีย น มีบ ทบาทในประชาคมโลก ”
ซึ่ง ประธานาธิบ ดีอ ิน โดนีเ ซีย
ในฐานะประธานอาเซีย นในปีน ี้ ได้เ รีย กร้อ งให้ป ระเทศสมาชิก ผลัก ดัน
เพื่อ รับ ประกัน ว่า แผนแม่บ ท
ว่า ด้ว ยการเชื่อ มโยงภายในภูม ิภ าคอาเซีย น หรือ ASEAN Connectivity
จะเริ่ม ดำา เนิน การ
และบรรลุผ ลสำา เร็จ ได้อ ย่า งเร็ว ที่ส ุด เท่า ที่จ ะเป็น ไปได้

แถลงการณ์" ผู้น ำา อาเซีย น" รวมพลัง รับ มือ "มหาอุท กภัย "
        ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 19 ที่เกาะบาหลี สาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย ผู้นำาอาเซียนได้ร่วมรับรองแถลงการณ์
ผู้นำาอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือในด้านการป้องกันอุทกภัย การลดผลกระทบ
การบรรเทา การฟื้นฟู และการบูรณะ
เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ซึ่งไทยเป็นผู้ริเริ่มเสนอแถลงการณ์ดังกล่าวในการ
ประชุมสุดยอดครั้งนี้ มีเนื้อหาสำาคัญ คือ
         1.เพิ่มพูนความร่วมมือด้านบริหารจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการ
ลดผลกระทบ โดยหนึ่งในแนวทางความร่วมมือ
คือ การแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ประสบความสำาเร็จในด้าน นี้ และในการบริหาร
จัดการทรัพยากรนำ้า เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย
 ซึ่งคุกคามต่อชีวิตมนุษย์ และเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค รวมถึง
ความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ตลอดจนผลผลิตทางการเกษตร ความมั่นคงทาง
อาหารของภูมิภาค และห่วงโซ่อุปทานของภาคอุตสาห กรรมทั้งในระดับภูมิภาค
และระดับโลก

2.เพิ่มพูนความร่วมมือในด้านการบรรเทา การฟื้นฟู และการบูรณะภายหลัง
ประสบภัยพิบัติ และการพัฒนาประสิทธิภาพในการประสานความร่วมมือดังกล่าว
3.เสริมสร้างบทบาทของเลขาธิการอาเซียนในฐานะผู้ประสานงานอาเซียนใน
การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเพิ่มพูนขีดความสามารถ ตลอดจน
ดำารงความยั่งยืนของศูนย์ประสานงานอาเซียนสำาหรับความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรมในการจัดการภัยพิบัติ ในการช่วยประสานความร่วมมือในการ
บริหารจัดการภัยพิบัติระหว่างประเทศสมาชิกและกับพันธมิตรนอกภูมิภาค

4.มอบหมายให้เลขาธิการอาเซียนและคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน
โดยร่วมหารือกับองค์กรเฉพาะสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาว่า อาเซียนจะประสาน
งานและเตรียมการสำาหรับอุทกภัยให้ดีขึ้นได้อย่างไร รวมทั้งจัดทำาข้อเสนอแนะ
ในสาขาที่อาจสามารถร่วมมือกันในแง่ของผู้เชี่ยวชาญ และทรัพยากร เพื่อ
ป้องกันอุทกภัย ลดผลกระทบ เตรียมความพร้อม รับมือ บรรเทา และฟื้นฟู
ระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียน และระหว่างอาเซียนกับพันธมิตร รวมทั้งติดตามการ
ดำาเนินการตามแถลงการณ์นี้ เพื่อรายงานต่อคณะมนตรีประสานงานอาเซียน
โดยผ่านคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

                                                        รับรอง ณ บาหลี
อินโดนีเซีย

                                                        วันที่ 17 พฤศจิกายน
ค.ศ.2011

                                                        ในการประชุมสุดยอด
อาเซียน ครั้งที่ 19




                        เพื่อ เป็น ข้อ มูล เกี่ย วกับ การเตรีย มความพร้อ มสู่
ประชาคมอาเซีย น
                          นางจรรยา หัน ทยุง ศึก ษานิเ ทศก์
              กลุ่ม นิเ ทศ ติด ตามและประเมิน ผลการจัด การศึก ษา



                            เอกสารอ้า งอิง
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ.บัน ทึก การเดิน ทางอาเซีย น ,บริษัทวิธิ
ตา แอนิเมชั่น
         จำากัด กรุงเทพ : 2552.
กรมประชาสัมพันธ์ สำานักนายกรัฐมนตรี.ประเทศไทยกับ
อาเซีย น,หจก.เปเปอร์เฮาส์ กรุงเทพ : 2552.
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

www.boi.go.th.
www.depthai.go.th.
www.mfa.go.th.
www.moc.go.th.
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน

Contenu connexe

Tendances

121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์Preaw Adisaun
 
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนโครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนNutthachai Thaobunrueang
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...Dp' Warissara
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3Mudhita Ubasika
 
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557Somchart Phaeumnart
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑Kruthai Kidsdee
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยหลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยTeresa Di Gesu
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนโครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนUnity' N Bc
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนจุลี สร้อยญานะ
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3sompriaw aums
 

Tendances (19)

121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนโครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
สภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก ปี2557
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
Asean complete
Asean completeAsean complete
Asean complete
 
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยหลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนโครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
แผนอาเซียน ป.3
แผนอาเซียน  ป.3แผนอาเซียน  ป.3
แผนอาเซียน ป.3
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 

En vedette

1 البيئة الكهربائية للحاسب
1  البيئة الكهربائية للحاسب1  البيئة الكهربائية للحاسب
1 البيئة الكهربائية للحاسبhatimfa
 
Alquimia, mitos y realidades
Alquimia, mitos y realidadesAlquimia, mitos y realidades
Alquimia, mitos y realidadeslatinmexboy
 
วิธีการใช้ Slideshare
วิธีการใช้ Slideshare วิธีการใช้ Slideshare
วิธีการใช้ Slideshare tomodachi7016
 
Fhdcvdriskpp 160827205842
Fhdcvdriskpp 160827205842Fhdcvdriskpp 160827205842
Fhdcvdriskpp 160827205842johnwd8
 

En vedette (6)

1 البيئة الكهربائية للحاسب
1  البيئة الكهربائية للحاسب1  البيئة الكهربائية للحاسب
1 البيئة الكهربائية للحاسب
 
Alquimia, mitos y realidades
Alquimia, mitos y realidadesAlquimia, mitos y realidades
Alquimia, mitos y realidades
 
วิธีการใช้ Slideshare
วิธีการใช้ Slideshare วิธีการใช้ Slideshare
วิธีการใช้ Slideshare
 
SEO
SEOSEO
SEO
 
Cambiar iconos en windows 7
Cambiar iconos en windows 7Cambiar iconos en windows 7
Cambiar iconos en windows 7
 
Fhdcvdriskpp 160827205842
Fhdcvdriskpp 160827205842Fhdcvdriskpp 160827205842
Fhdcvdriskpp 160827205842
 

Similaire à 1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน

นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะงาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะbarbieeven
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]กุลเศรษฐ บานเย็น
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3sompriaw aums
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Rapol
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาPrachoom Rangkasikorn
 

Similaire à 1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน (20)

Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
vip
vipvip
vip
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะงาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
 

1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน

  • 1.
  • 2. 2558 เตรีย มความ พร้อ ม สูป ระชาคม ่ อาเซีย น กลุม นิเ ทศ ติด ตามและประเมิน ผลการจัด การ ่ ศึก ษา สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา สระแก้ว เขต 2 เอกสารลำา ดับ ที่10/2554 คำา นำา รัฐบาลไทยได้ร่วมมือกับอาเซียนในการเสริมสร้างความ แข็งแกร่ง และความเจริญรุ่งเรือง ในภูมิภาคทั้งทางด้าน
  • 3. เศรษฐกิจ การเมืองและความมั่นคง ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่ สอดคล้อง กับกฎบัตรอาเซียน และนโยบายของรัฐบาลไทยใน การเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และกลุ่ม ประเทศอาเซียน โดยใช้การศึกษาเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการ พัฒนาเพื่อเป็นรากฐานสำาคัญ ในการเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทาง ด้านเศรษฐกิจ การเมืองและความมั่นคง ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรม ของประเทศ ต่อมาในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ได้ให้การ รับรองปฏิญญาชะอำา-หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน การศึกษาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภายในปี 2558 สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศจุดเน้นใน การเป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษา ขันพื้นฐาน โดยจุดเน้นข้อที่ 8 ได้ ้ เน้นในเรื่องการพัฒนานักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนนั้น กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา จึงรวบรวม ข้อมูลที่เป็นความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการเตรียมความ พร้อมสู่ประชาคมอาเซียนต่อไป กลุ่ม นิเ ทศ ติด ตาม และประเมิน ผล การจัด การศึก ษา
  • 4. สารบัญ หน้า คำา นำา สารบัญ ความสำาคัญและความเป็นมาของประชาคมอาเซียน 1 การขับเคลื่อนของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 3 บทบาทของหน่วยงาน เพื่อความสำาเร็จในการพัฒนาการเรียนรู้สู่ ประชาคมอาเซียน 3 คุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน 4 ตัวชี้วัดคุณภาพผู้เรียน 5 ตัวชี้วัดคุณภาพครู 9 ตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา 9 การปรับ หลัก สูต รสถานศึก ษาเพ ืืื ่อ การพัฒ นาสู่ป ระชาคม อาเซีย น (แจกเป็น เอกสารในการประชุม เชิง ปฏิบ ัต ิก าร โครงการส่ง เสริม คุณ ภาพการศึก ษาสู่ป ระชาคมอาเซีย น เมื่อ วัน ที่ 21 กุม ภาพัน ธ์ 2554) การพัฒ นานัก เรีย นสู่ป ระชาคมอาเซีย น ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 16 ธง/รายชื่อประเทศ/ผู้นำาประเทศสมาชิกอาเซียน 17 อาเซียน + 3 18 อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา 18 กฎบัตรอาเซียน 18 สถานที่สำาคัญของประเทศสมาชิกอาเซียน 19
  • 5. เอกสารอ้างอิง 22 เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน ****************************** ความสำา คัญ และความเป็น มาของประชาคมอาเซีย น คำาว่า “ASEAN” เป็นคำาย่อมาจาก “Association of South East Asian Nations” หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูก ยกเลิกไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มี การลงนามใน “ปฏิญญา กรุงเทพ” หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ที่พระราชวัง สราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 อาเซียนได้ถือกำาเนิดขึ้นโดยมี รัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี ระหว่างกัน ในภูมิภาค ธำารงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความ มั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจการพัฒนา ทางสังคม และวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาค
  • 6. และผลประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาท ระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,570 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 590 ล้านคน ในปีพ.ศ. 2553 จีดีพี ของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็นมูลค่า ราว 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็นลำาดับที่ 9 ของโลกเรียง ตามจีดีพี มีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียน ได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทำาให้อาเซียนมี สถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขตการค้าเสรีอาเซียน ได้ เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกำาลังก้าวสู่ความเป็น ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามเสาหลัก คือประชาคม อาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) ภายในปี พ.ศ. 2558 อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเร็วและเป็นตัวอย่างของการรวมตัวของกลุ่มประเทศที่มีพลังต่อรอง ในเวทีการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความก้าวหน้าของ อาเซียนมีปัจจัยจากความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างรัฐสมาชิก อัน ก่อให้เกิดบรรยากาศที่สร้างสรรค์และเอื้อต่อความร่วมมือระหว่างกัน ทำาให้สถานการณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เปลี่ยนผ่านจากสภาวะ แห่งความตึงเครียดและการเผชิญหน้าในยุคสงครามเย็นมาสู่ความมี เสถียรภาพ ความมั่นคงและความร่วมมืออย่างใกล้ชิด ในปัจจุบัน สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำาเนินงาน โครงการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่ โครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน : Spirit of ASEAN โดยคัดเลือก โรงเรียนเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนาให้มีความพร้อมและศักยภาพใน การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์การเรียนรู้ อาเซียนจำานวน 68 โรง แบ่งเป็นโรงเรียน 3 รูปแบบ คือ 1) โรงเรียน Sister School จำานวน 30 โรง 2) โรงเรียน Buffer School จำานวน 24 โรง 3) ASEAN Focus School จำานวน 14 โรง ทั้งนี้มีโรงเรียนที่เป็นเครือข่ายมากกว่า 500 โรง โรงเรียนที่เข้า ร่วมโครงการดังกล่าว ขณะนี้
  • 7. กำาลังดำาเนินการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน และจัดกิจกรรมใน โรงเรียนเพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ผลการ ดำาเนินงานที่ผ่านมา โรงเรียนได้จัดกิจกรรมหลากหลาย เช่น การเรียน รู้ผ่านสื่อ อุปกรณ์ รูปภาพ วีดิทศน์ นิทรรศการ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ั รวมถึงการติดต่อสื่อสารกับโรงเรียนในประเทศสมาชิกประชาคม อาเซียนทางสื่อ ICT (Information communication Technology) ซึ่ง กิจกรรมที่กล่าวมาเป็นการออกแบบและจัดประสบการณ์ เพื่อเปิด โอกาสให้นักเรียนในโรงเรียนที่เป็นศูนย์อาเซียนศึกษาและโรงเรียน เครือข่ายได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรงและมีกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์ที่เน้น การสร้างความตระหนักเรื่องประชาคมอาเซียน สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 ได้รับ การคัดเลือกจากสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้จัด ตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา Buffer School จำานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ 1.โรงเรียนบ้านจัดสรรสามัคคี 2. โรงเรียนคลองนำ้าใสวิทยาคาร และได้ ขยายผลไปยังโรงเรียนเครือข่าย เพื่อสร้างความตระหนัก และเป็นแหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้น โรงเรียนเครือข่ายมีจำานวน 18 โรงเรียน ดังนี้ 1. โรงเรียนอพป.คลองนำ้าใส2.โรงเรียนบ้านหนองแข้ 3.โรงเรียนบ้านทดเจริญ 4. โรงเรียนบ้านฟากห้วย 5. โรงเรียนบ้านกุดแต้ 6. โรงเรียนบ้านหนองเทา 7. โรงเรียนบ้านแสนสุข 8. โรงเรียนเมืองไผ่ 9. โรงเรียนบ้านกุดหิน 10. โรงเรียนบีกริม 11. โรงเรียนกรุงไทย 12. โรงเรียน นิคมสงเคราะห์ 1 13. โรงเรียนนิคมสงเคราะห์ 2 14. โรงเรียนบ้านหนองหมูน้อย 15.โรงเรียนสระปทุม 16. โรงเรียนบ้านคลองหว้า 17. โรงเรียนชุมชนบ้านโนนสาวเอ้ 18. โรงเรียนบ้านหนองปรือ การขับ เคลื่อ นของสำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา ประถมศึก ษาสระแก้ว เขต 2 1. จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำาเนินโครงการ พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน :
  • 8. Spirit of ASEAN เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553 2. จัดอบรมเสริมสร้างศักยภาพการสอนภาษาอังกฤษและการสอน คอมพิวเตอร์สำาหรับครู โรงเรียน Buffer school และโรงเรียนเครือข่าย เมื่อวันที่ 30-31 สิงหาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา 3. ศึกษาดูงานศูนย์อาเซียนศึกษา โรงเรียน Sister School จังหวัด เชียงใหม่ 19 – 23 กันยายน 2553 4.การจัดเต้นท์ความรู้ของประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน 10 ประเทศ 10 เครือ ข่าย ในงาน ดอกแก้วบูรพาวิชาการ ' 53 ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาสระแก้ว เขต 2 ระหว่างวันที่ 1 - 3 ธันวาคม 2553 5.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาสู่ประชาคม อาเซียน ให้แก่ผู้บริหาร ในสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ให้รับทราบจุดเน้นของสพฐ. เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดทำาหลักสูตร สถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน และการเตรียมความพร้อมของนักเรียน ครู สถานศึกษาสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 6. การจัดกิจกรรมค่ายเตรียมความพร้อมเยาวชนสู่ประชาคมอาเซียน : Love to be ASEAN ณ โรงเรียนร่มเกล้า อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2554 บทบาทของหน่ว ยงาน เพื่อ ความสำา เร็จ ในการพัฒ นาการเรีย นรู้ส ู่ป ระชาคมอาเซีย น ภายในปีก ารศึก ษา 2554 สถานศึก ษาในสัง กัด สปพ.สระแก้ว เขต 2 ทุก โรง 1. จัดทำาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน 2. ศึกษาบริบทในโรงเรียนเพื่อจัดทำาแหล่งเรียนรู้ (ห้อง/มุมหนังสือ) 3. ปรับ/ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนที่เน้นอาเซียน เป็นรายวิชาเพิ่มเติม/สอดแทรก/ บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. ให้ความสำาคัญกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น โครงการ/ชุมนุม/ชมรม/ สัปดาห์อาเซียน/ตอบปัญหา ฯลฯ
  • 9. 5. จัดทำารายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตามตัวชี้วัดคุณภาพผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา 1. จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนเครือข่าย 18 โรงเรียน เพื่อเป็นแหล่ง เรียนรู้อาเซียนศึกษา 2. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหารทุกสถานศึกษาตระหนักในการจัดการ ศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน 3. นิเทศ ติดตาม และรายงานผลสถานศึกษาที่ดำาเนินการจัดการเรียนรู้ ตามตัวชี้วัดความสำาเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัดคุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดคุณภาพครู ตัวชี้วัด คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา ในการจัด กิจ กรรมพัฒ นาความรู้แ ละเสริม สร้า งความเป็น พลเมือ งอาเซีย นให้ผ ู้เ รีย น จะช่ว ยเพิ่ม ศัก ยภาพในการเรีย นรู้ ให้ผ ู้เ รีย น อัน จะเป็น พลัง การขับ เคลื่อ นการพัฒ นาโรงเรีย นสู่ ประชาคมอาเซีย น ในทุก พื้น ที่อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ สำา นัก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้น พื้น ฐานโดยสำา นัก วิช าการและมาตรฐานการศึก ษา พิจ ารณาเห็น ว่า มีค วาม จำา เป็น อย่า งยิ่ง ที่จ ะสร้า งศัก ยภาพให้แ ก่ส ถานศึก ษา และ เขตพื้น ที่ก ารศึก ษา เกี่ย วกับ ความเป็น ประชาคมอาเซีย น เพื่อ เตรีย มความพร้อ มในการก้า วเข้า สู่ การเป็น ประชาคม อาเซีย นอย่า งยั่ง ยืน คุณ ลัก ษณะเด็ก ไทยในประชาคมอาเซีย น คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน กำาหนด คุณลักษณะ 3 ด้าน ดังนี้ ด้า นความรู้ 1. มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 2. มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 2.1 จุดกำาเนิดอาเซียน 2.2 กฎบัตรอาเซียน 2.3 ประชาคมอาเซียน 2.4 ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ 1. ทักษะพื้นฐาน
  • 10. 1.1 สือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษา ่ ประเทศเพื่อนบ้านอีกอย่างน้อย 1 ภาษา) 1.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ 1.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี 1.4 มีความสามารถในการทำางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2. ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม 2.1 เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2.2 มีภาวะผู้นำา 2.3 เห็นปัญหาสังคมและลงมือทำาเพื่อนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลง 3. ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน 3.1 เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน 3.2 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวธีคิด ิ อย่างถูกต้อง 3.4 มีความสามารถในการจัดการ/ควบคุมตนเอง ด้า นเจตคติ 1. มีความภูมิใจในความเป็นไทย/ความเป็นอาเซียน 2. มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน 3. ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน 4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี / สันติธรรม 5. ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา 6. ดำาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัว ชี้ว ัด ความสำา เร็จ การพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน จะประสบผลสำาเร็จหรือ ไม่เพียงใด ต้องมีตัวชี้วัดความสำาเร็จทั้งคุณภาพเด็ก คุณภาพครู และ คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อใช้ประเมินความสำาเร็จการจัดการ เรียนรู้
  • 11. ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพผู้เ รีย น ด้า นความรู้ คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม ตัว ชี้ว ัด ระดับ ศึก ษา มัธ ยมศึก ษา 1.มีความรู้เกี่ยวกับประเทศ 1.1 ร้อยละของนักเรียน 1.1 ร้อยละของนักเรียน อาเซียน ที่สามารถอธิบายความรู้ ที่สามารถวิเคราะห์และ 1.1 ด้านการเมือง เกี่ยวกับระบอบ การ จำาแนกความเหมือน/ ได้แก่ ปกครอง สิทธิเด็ก ความแตกต่าง เกี่ยวกับ - ระบอบการ ระบอบการปกครอง ปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่าง - ความสัมพันธ์ ประเทศ สิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศ 1.2 ร้อยละของนักเรียน กฎหมายระหว่าง - สิทธิเด็ก/สิทธิ ที่สามารถอธิบายความรู้ ประเทศในด้าน มนุษยชน เกี่ยวกับระบบเงินตรา การเมือง - กฎหมายระหว่าง ระบบเศรษฐกิจ ปัจจัย 1.2 ร้อยละของนักเรียน ประเทศ การผลิต แรงงาน ที่สามารถวิเคราะห์และ 1.2 ด้านเศรษฐกิจ จำาแนกความเหมือน/ ได้แก่ ความแตกต่าง เกี่ยวกับ ระบบเงินตรา ระบบ เศรษฐกิจ ปัจจัยการ ผลิต คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม ตัว ชี้ว ัด ระดับ ศึก ษา มัธ ยมศึก ษา - ระบบเงินตราของ 1.3 ร้อยละของนักเรียน แรงงาน การค้าเสรี ข้อ ประเทศ ในกลุ่ม ที่สามารถอธิบายความรู้ ตกลงทางการค้า ความ อาเซียน เกี่ยวกับ ภาษา ศาสนา ร่วมมือทางเศรษฐกิจ - ระบบเศรษฐกิจ บุคคลสำาคัญ สภาพทาง 1.3 ร้อยละของนักเรียน - ปัจจัยการผลิต ภูมิศาสตร์ สาธารณสุข ที่สามารถวิเคราะห์และ - แรงงาน เอกลักษณ์ไทย จำาแนกความเหมือน/ - การค้าเสรี ข้อ ประวัติศาสตร์ในด้าน ความแตกต่างเกี่ยวกับ ตกลงทางการค้า ความ สังคมและวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนา ร่วมมือทางเศรษฐกิจ 2.1 ร้อยละของนักเรียน การแต่งกาย 1.3 ด้านสังคมและ ที่สามารถอธิบายความ สาธารณสุข สภาพทาง วัฒนธรรม ได้แก่ หมาย ความสำาคัญของ ภูมิศาสตร์ เอกลักษณ์ - ชาติพันธุ์ , ภาษา , อาเซียน บุคคลสำาคัญ ศาสนา 2.2 ร้อยละของนักเรียน ประวัติศาสตร์
  • 12. การแต่ง ที่สามารถอธิบายเป้า 2.1 ร้อยละของนักเรียน กาย,สาธารณสุข,สภาพ หมายและหลักการ ที่สามารถ วิเคราะห์ ทาง อัตลักษณ์ สัญลักษณ์ ความจำาเป็น ความ ภูมิศาสตร์,เอกลักษณ์,บุ ของกฎบัตรอาเซียน สำาคัญของกฎบัตร คคลสำาคัญและ อาเซียน ประวัติศาสตร์ 2.2 ร้อยละของนักเรียน 2. มีความรู้เกี่ยวกับ ที่สามารถวิเคราะห์เป้า อาเซียน ได้แก่ หมายและหลักการ อัต 2.1 จุดกำาเนิดอาเซียน ลักษณ์ สัญลักษณ์ของ 2.2 กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียน - ความหมาย 2.3 ร้อยละของนักเรียน - ความสำาคัญ ที่สามารถอธิบายเกี่ยว - สาระสำาคัญ กับองค์กรอาเซียน 2.3 ประชาคมอาเซียน องค์กรที่มีความสัมพันธ์ - ประชาคม กับอาเซียน การเมืองและความ กระบวนการตัดสินใจ มั่นคงอาเซียน การระงับข้อพิพาท - ประชาคม ความสัมพันธ์กับ เศรษฐกิจอาเซียน ภายนอก - ประชาคมสังคม 2.4 ร้อยละของนักเรียน และวัฒนธรรมอาเซียน ที่สามารถวิเคราะห์ 2.4 ความสัมพันธ์กับ ประโยชน์ของกฎบัตร ภายนอกอาเซียน อาเซียนที่มีต่อ ประชาคมอาเซียน ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม ตัว ชี้ว ัด ระดับ ศึก ษา มัธ ยมศึก ษา 1. ทักษะพื้นฐาน 1. ร้อยละของนักเรียนที่ 1. ร้อยละของนักเรียนที่ 1.1 สื่อสารได้อย่างน้อย 2 สามารถสื่อสารได้อย่าง สามารถสื่อสารได้อย่าง ภาษา น้อย 2 ภาษา คือภาษา น้อย 2 ภาษา คือภาษา
  • 13. (ภาษาอังกฤษ และภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ อังกฤษและภาษาของ ประเทศ ในอาเซียน ประเทศ อีกอย่างน้อย 1 ภาษา) ในอาเซียนอีกอย่างน้อย 1 ภาษา 1.2 มีทักษะในการใช้ 2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สามารถใช้เทคโนโลยี สามารถใช้เทคโนโลยี สร้างสรรค์ สารสนเทศในการเรียนรู้ สารสนเทศในการเรียนรู้ สื่อสาร ออกแบบ สร้างสรรค์งาน นำาเสนอ เผยแพร่ แลก เปลี่ยนผลงานในระดับ อาเซียน 1.3 มีความสามารถในการ 3. ร้อยละของนักเรียนที่มี 3. ร้อยละของนักเรียนที่มี แก้ปัญหา อย่างสันติวิธี ความสามารถในการแก้ ความสามารถในการแก้ ปัญหาได้ อย่างสันติวิธี ปัญหาได้ อย่างสันติวิธี 1.4 มีความสามารถในการ 4. ร้อยละของนักเรียนที่ 4. ร้อยละของนักเรียนที่ ทำางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น สามารถทำางานและอยู่ สามารถทำางานและอยู่ ร่วมกับผู้อื่น ร่วมกับผู้อื่น 2. ทักษะพลเมือง/ความรับ 1. ร้อยละของนักเรียนที่ 1. ร้อยละของนักเรียนที่ ผิดชอบ ทางสังคม เคารพและยอมรับความ เคารพและยอมรับความ 2.1 เคารพและยอมรับความ แตกต่างหลากหลายทาง แตกต่างหลากหลายทาง หลากหลายทางวัฒนธรรม 2.2 มีภาวะผู้นำา 2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2.3 เห็นปัญหาสังคมและ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำาที่ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำาที่ ลงมือทำา เพื่อนำาไปสู่ เกี่ยวข้องกับกิจกรรม เกี่ยวข้องกับกิจกรรม การเปลี่ยนแปลง อาเซียนศึกษา อาเซียนศึกษาและมีผล 3. ร้อยละของนักเรียนที่ งานปรากฏ สามารถเสนอปัญหาและ 3. ร้อยละของนักเรียนที่ แสดงความคิดเห็น สามารถเสนอปัญหาและ แสดงความคิดเห็น เสนอทางเลือกในการแก้ ปัญหาได้ ทัก ษะการเรีย นรู้แ ละพัฒ นาตน คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม ตัว ชี้ว ัด ระดับ ศึก ษา มัธ ยมศึก ษา 1. เห็นคุณค่าความเป็น 1. ร้อยละของนักเรียนที่ 1. ร้อยละของนักเรียนที่ มนุษย์เท่าเทียมกัน (สิทธิ ยอมรับ ความเท่าเทียม ยอมรับ ความเท่าเทียม
  • 14. เด็ก/สิทธิมนุษยชน) กันของความเป็นมนุษย์ กันและตระหนัก ใน บนความแตกต่าง คุณค่าของมนุษย์ 2. มีส่วนร่วมในการแสดง 2.ร้อยละของนักเรียนที่มี 2.ร้อยละของนักเรียนที่มี ความคิดเห็น และแลก ส่วนร่วม ในการแสดง ส่วนร่วม ในการแสดง เปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และ ความคิดเห็น และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง สังคม และวัฒนธรรม 3.มีความสามารถในการคิด 3. ร้อยละของนักเรียนที่ 3. ร้อยละของนักเรียนที่ วิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล มี สามารถอธิบายเหตุผลใน สามารถอธิบายเหตุผลใน วีคิดอย่างถูกต้อง ด้านการเมือง เศรษฐกิจ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมได้ สังคมและวัฒนธรรม อย่างถูกต้อง สามารถแสดงออกได้ อย่างสร้างสรรค์และมี 4. มีความสามารถในการ 4. ร้อยละของนักเรียนที่ เหตุผล จัดการ/ควบคุมตนเอง สามารถปฏิบัติตนตามขั้น 4. ร้อยละของนักเรียนที่ ตอนอย่างเป็นระบบ สามารถควบคุมตนเอง ยืดหยุ่น ปรับตัวเข้ากับ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ อย่างเป็นระบบ เจตคติ คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย น ตัว ชี้ว ัด ระดับ ประถม ตัว ชี้ว ัด ระดับ ศึก ษา มัธ ยมศึก ษา 1. มีความตระหนักในความ 1.ร้อยละของนักเรียนที่ 1.ร้อยละของนักเรียนที่ เป็นอาเซียน ยอมรับและเห็นประโยชน์ ยอมรับและเห็นประโยชน์ ของการเป็นอาเซียน และมีส่วนร่วมในกิจกรรม ที่เกี่ยวกับอาเซียน 2. มีความภูมิใจในความเป็น 2. ร้อยละของนักเรียนที่ 2. ร้อยละของนักเรียนที่ ไทย/ความเป็นอาเซียน เข้าร่วมกิจกรรมด้วย เข้าร่วมกิจกรรมด้วย ความกระตือรือร้น ความกระตือรือร้นและ รู้คุณค่าของความเป็น ไทยและความเป็นส่วน หนึ่งของอาเซียน 3. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ 3. ร้อยละของนักเรียนที่ 3. ร้อยละของนักเรียนที่ ประชาคมอาเซียน แสดงความเอื้ออาทร แบ่ง แสดงความเอื้ออาทร แบ่ง ปันระหว่างสมาชิกใน ปัน คำานึงถึงผลกระทบ ประเทศอาเซียน
  • 15. 4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย 4.1 ร้อยละของนักเรียนที่ 4.1 ร้อยละของนักเรียนที่ ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล มีคารวะธรรม ปัญญา มีคารวะธรรม ปัญญา (คารวะธรรม ปัญญาธรรม ธรรม สามัคคีธรรม ธรรม สามัคคีธรรม และ สามัคคีธรรม) สันติวิธี/สันติ 4.2 ร้อยละของนักเรียนที่ ปฏิบัติตนเป็นประจำา ธรรม สามารถแก้ปัญหาอย่าง สมำ่าเสมอ สันติวี/สันติธรรม 4.2 ร้อยละของนักเรียนที่ สามารถแก้ปัญหาอย่าง สันติวี/สันติธรรมเป็น ประจำาสมำ่าเสมอ ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพครู 1. ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม อาเซียน 2. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร 3. ครูใช้หนังสือ ตำาราเรียน และสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศในการ จัดการเรียนรู้ 4. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการจัดการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล และการเผยแพร่ทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์ ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพครู 5. ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม อาเซียน 6. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร 7. ครูใช้หนังสือ ตำาราเรียน และสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศในการ จัดการเรียนรู้ 8. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการจัดการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล และการเผยแพร่ทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์ 9. ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายโดยเน้นกิจกรรมหรือ กระบวนการในการจัดการเรียนรู้ 10. ครูสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการ เรียนรู้ทั้งในประเทศ และในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 11. ครูใช้การวิจัย สื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตัว ชี้ว ัด คุณ ภาพผู้บ ริห ารสถานศึก ษา 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
  • 16. 2. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวการณ์ จำากัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้บริหารมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ ทักษะในการใช้ ICT 4. ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่าย เพื่อความ ร่วมมือในการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน เช่น โรงเรียน องค์กรเอกชน หน่วยงานราชการ ฯลฯ 5. ผู้บริหารมีความสามารถในการนิเทศ ติดตามผลการดำาเนินงาน 6. ผู้บริหารมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อ สือสารกับภาคีเครือข่ายในกลุ่มประชาคมประเทศสมาชิก ่ อาเซียน การปรับ หลัก สูต รสถานศึก ษาเพื่อ การพัฒ นาสู่ ประชาคมอาเซีย น เอกสารหลัก สูต รสถานศึก ษาเป็น เอกสารที่ส ำา คัญ ที่ค รู จ ะ ใช้ส ำา หรับ การจัด ทำา หน่ว ยการเรีย นรู่ จัด การเรีย นการสอน และการประเมิน ผลเพื่อ พัฒ นาผู้เ รีย น ดังนั้นเอกสารหลักสูตร สถานศึกษาควรมีข้อมูลที่ชัดเจนในการนำาไปสู่การปฎิบัติ การปรับ หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน อาจดำาเนิน การได้ดังนี้ -ความนำา แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับกรอบหลักสูตรระดับ ท้องถิ่น จุดเน้น และความต้อ งการของโรงเรีย นในการพัฒ นาสู่ ประชาคมอาเซีย น -วิส ัย ทัศ น์ เป็นทิศทางในการจัดการศึกษาของตน เป็น เอกลักษณ์ของสถานศึก ษา เพิ่ม เติม ข้อ ความที่แ สดงเจตนารมณ์ ในการพัฒ นาผู้เ รีย นสู่ป ระชาคมอาเซีย น เพื่อ ให้อ ยู่ใ นสัง คม อย่า งมีค วามสุข เช่น “โรงเรียน......................มุ่งมั่นสร้างโอกาสและส่งเสริมการเรียน รู้สู่มาตรฐานสากล พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ มีทักษะการดำารงชีวิต มีทักษะการอยู่ร่วม กับประชาคมอาเซียน เพื่อให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข”
  • 17. - สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น เป็นสมรรถนะจำาเป็นพื้นฐาน 5 ปะการ ดังนี้ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.) ความสามารถในการใช้ชีวิต 5) ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี - คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ 8 ประการ ที่กำาหนดไว้ใน หลักสูตรแกนกลางนั้น เป็นคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนทุก คนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซือสัตย์ สุจริต ่ 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอพียง 6. มุ่งมั่นในการทำางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ - โครงสร้า งหลัก สูต รสถานศึก ษา เป็นส่วนที่ให้ข้อมูลเกี่ยว กับโครงสร้างเวลาเรียน การกำาหนดรายวิชาที่จัดสอนในแต่ละปี / ภาค เรียน ซึ่งประกอบด้วยรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน พร้อมทั้งจำานวนเวลาเรียน หรือหน่วยกิตของรายวิชาเหล่านั้น * หลัก สูต รชั้น ปี ระดับประถมศึกษา จะระบุรายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ เปิดสอนในแต่ละปี ระดับมัธยมศึกษาระบุไว้ในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งระบุจำานวน เวลาเรียนหรือจำานวนหน่วยกิตของรายวิชาและกิจกรรมเหล่านั้นกำากับ ไว้ด้วย *ประเภทรายวิช า รายวิช าพื้น ฐาน เป็นรายวิชาที่เปิดสอนพเอพัฒนาผู้เรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางที่กำาหนดไว้ ในหลักสูตรแกนกลาง ซึ่งเป็นสิ่งซึ่งผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานต้องเรียนรู้ เนื้อ หาสาระของอาเซีย น สามารถนำา ไปเชื่อ ม
  • 18. โยง เพิ่ม เติม หรือ บูร ณาการได้ท ุก รายวิช า โดยเฉพาะรายวิช า สัง คมศึก ษาฯ รายวิช าเพิ่ม เติม เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถะ เปิดสอนเพิ่มเติมจากสิ่งที่กำาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง เพื่อให้ สอดคล้องกับจุดเน้น ความต้องการและความถนัดของผู้เรียนหรือความ ต้องการของท้องถิ่น - ในส่วนของจุดเน้นอาเซียน โรงเรียนอาจเปิด สอนเป็น รายวิช าเพิ่ม เติม ในกลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ัง คมศึก ษาฯ ใน ระดับ มัธ ยมศึก ษา -คำา อธิบ ายรายวิช า ส่วนนี้เป็นรายละเอียดที่ช่วยให้ทราบว่าผู้ เรียนจะเรียนรู้อะไร จากรายวิชานั้น ๆ ในคำาอธิบายรายวิชา จะ ประกอบด้วย รหัสวิชา ประเภทรายวิชา (พื้นฐาน/เพิ่มเติม) กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ระดับชั้นที่สอน พร้อมทั้งคำาอธิบายให้ทราบว่า เมื่อเรียน รายวิชานั้นแล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะหรือเจตคติอะไร ซึ่งอาจระบุให้ทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ หรือประสบการณ์สำาคัญที่ผู้ เรียนจะได้รับด้วยก็ได้ -ในส่วนของอาเซียน ถ้าในรายวิชาพื้นฐานรายวิชาใด เพิ่มเติม เนื้อหาเกี่ยวกับอาเซียน ก็ต้องเพิ่มข้อความเนื้อหาที่เพิ่มเติมนั้นลงไป ด้วย - กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น ประกอบด้วย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วน ของอาเซียน อาจจัดกิจกรรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน เช่น จัดเป็น ชมรม (ชมรมรักษ์อาเซียน ฯ กิจกรรมศึกษาเกี่ยวกับอาเซียน ฯ) *แนวการจัด การเรีย นรู้ 1. สอดแทรก / บูรณาการทุกกลุ่มสาระ (8 กลุ่มสาระ) 2. จัดทำาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระสังคมฯ (มัธยมศึกษา) 3. จัดเป็นชุมนุม / ชมรม เกี่ยวกับอาเซียน 4. จัดในลักษณะกิจกรรมเสริมตามบริบท ความพร้อมของ โรงเรียน เช่น 4.1 จัดเป็นโครงการ หรือกิจกรรมทางวิชาการเสริม เช่น แรลลีอาเซียน ฐานการเรียนรู้อาเซียน สัปดาห์อาเซียน ตอบปัญหา อาเซียน(ทุกวันศุกร์) ข่าวอาเซียนรายวัน ประกวดจัดทำาหนังสือเล่มเล็ก อาเซียน โครงงานอาเซียน(ตามความสนใจ) ค่ายเยาวชนอาเซียน ฯลฯ 4.2 จัดเป็นแหล่งเรียนรู้ สำาหรับให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า เช่น มุมอาเซียนในห้องเรียน ในห้องสมุด หรือจัดเป็นห้องอาเซ๊ยนโดย เฉพาะ ฯลฯ
  • 19. การพัฒ นานัก เรีย นสูป ระชาคมอาเซีย น ่ 1. เป้า หมายของการพัฒ นานัก เรีย นสู่ป ระชาคม อาเซีย น เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมนักเรียนสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีเป้าหมาย ดังนี้ 1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าใจและอธิบายความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน 1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปฏิบัติตนและเข้าร่วมกิจกรรม เกี่ยวกับอาเซียน 1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ตระหนักถึงความสำาคัญของ อาเซียนและเผยแพร่ 2. สาระการเรีย นรู้อ าเซีย น 2.1 นัก เรีย นชั้น ประถมศึก ษาปีท ี่ 4-6 1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน ความเป็นมา/การก่อตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง ประเทศสมาชิก และข้อมูลพื้นฐาน ธงอาเซียนและสัญลักษณ์เซียน ภาษาที่ใช้ในอาเซียน 2) การพัฒนาคนไทยสู่ประชาคมอาเซียน อาเซียน ประชาคมอาเซียน แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน 2.2 นัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1-3 1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน ความเป็นมา/การก่อตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง
  • 20. ประเทศสมาชิก ประเทศคู่เจรจา และข้อมูลพื้นฐาน ธงอาเซียนและสัญลักษณ์เซียน ภาษาที่ใช้ในอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน 2) การพัฒนาคนไทยสู่ประชาคมอาเซียน อาเซียน ประชาคมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและเศรษฐกิจอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน 2.3 นัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4-6 1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน ความเป็นมา/การก่อตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง ประเทศสมาชิก ประเทศคู่เจรจา และข้อมูลพื้นฐาน ธงอาเซียนและสัญลักษณ์เซียน ภาษาที่ใช้ในอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน 2) การพัฒนาคนไทยสู่ประชาคมอาเซียน อาเซียน ประชาคมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและเศรษฐกิจอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาการศึกษา อาเซียนกับประเด็นต่าง ๆ เช่น สิทธิมนุษยชน สิ่ง แวดล้อม ประชาธิปไตย สุขภาพ ขนบธรรมเนีบม ประเพณี วัฒนธรรม บทบาทของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน 3. แนวการจัด การเรีย นรู้ 1. นำาไปสอดแทรก หรือบูรณาการในรายวิชาพื้นฐาน 8 กลุ่ม สาระ
  • 21. 2. จัดทำาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษาฯ ในระดับมัธยมศึกษา 3. จัดทำาเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น ชุมนุม / ชมรมรักษ์ อาเซียน เยาวชนอาเซียน ค่ายเยาวชนอาเซียน 4.สื่อ การเรีย นรู้ 1. แผ่นพับ “แนะนำาให้รู้จักอาเซียน” ของกรมอาเซียน 2. หนังสือ “มารู้จักอาเซียนกันเถอะ” ของกรมอาเซียน 3. ชุดสือต้นแบบเกี่ยวกับอาเซียนสำาหรับนักเรียน ที่สำานัก ่ วิชาการและมาตรฐานการศึกษาจัดทำา / จัดซื้อ จัดหา ขึ้น 4. สือและแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ ที่โรงเรียนจัดทำา / จัดซื้อ/ ่ จัดหา ขึน ้ 5. แนวการวัด และประเมิน ผล วัดและประเมินการเรียนรู้ที่หลากหลายตามสภาพจริง เช่น การ สังเกต การสัมภาษณ์ การถาม/ตอบ การตรวจผลงานนักเรียน การวัด หรือการสอบ โดยใช้แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แฟ้มสะสมผลงาน นักเรียน การใช้แบบวัด หรือแบบทดสอบ ความรู้เ กี่ย วกับ อาเซีย น
  • 22. สัญ ลัก ษณ์อ าเซีย น “ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้” หมายถึง ประเทศในภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ิ ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นนำ้าหนึ่งใจเดียวกัน โดยสีที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่สำาคัญของ ธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน -สีน ำ้า เงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง -สีแ ดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า - สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และ สีเหลือง หมายถึง ความ เจริญรุ่งเรือง ธงอาเซียน คำาขวัญ "One Vision, One Identity, One Community" (หนึ่ง วิส ัย ทัศ น์ หนึ่ง เอกลัก ษณ์ หนึ่ง ประชาคม) ธงของประเทศสมาชิก ในสมาคมประชาติเ อเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้
  • 23. ธงชาติใ หม่ข องสาธารณรัฐ แห่ง สหภาพ พม่า รายชือ ประเทศและผู้น ำา ของประเทศ ที่เ ป็น ่ สมาชิก อาเซีย น 1. ราชอาณาจักรไทย - นายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 2. สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว - ประธานประเทศจูมมะลี ไชยะสอน 3.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม - ประธานาธิบดีเหงี ยน มินห์ เจียต 4. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า - พลเอกอาวุโส ต่าน ฉ่วย 5. ราชอาณาจักรกัมพูชา - นายกรัฐมนตรีสมเด็จอัค คมหาเสนาดีเดโชฮุน เซน 6 มาเลเซีย - นายกรัฐมนตรีดาโต๊ะ ชรี โมฮาเหม็ด นาจิบ บินตุ ฮัจญี อับดุล ราซัค 7. สาธารณรัฐสิงคโปร์ - นายกรัฐมนตรีลี เซียนลุง 8. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย - ประธานาธิบดีซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน
  • 24. 9. รัฐบรูไนดารุสซาลาม - สมเด็จพระราชาธิบดี ฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์ สมเด็จพระราชาธิบดี องค์ที่ 29 10.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ -ประธานาธิบดี กลอเรีย มาคาปากัล อาโรโย ประเทศสัง เกตการณ ื์อ ีก 2 ประเทศ ที่มา : กรมอาเซียน กระทรวงการต่าง คือ 1. ประเทศติมอร์ ตะวันออก ประธานาธิบดี โจเซ รามอส ฮอร์ตา ประเทศ 2. ประเทศปาปัวนิวกีนี นายกรัฐมนตรีเซอร์ไมเคิล โซมาเร อาเซีย น + 3 ความร่วมมือด้านการศึกษาภายใต้กรอบความร่วมมือ อาเซียน + 3 (จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี) อาเซีย นกับ ประเทศคู่เ จรจา ความสัมพันธ์กับประเทศคู่เจรจา 10 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป และกับสหประชาชาติ เพื่อทำาให้เกิดสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศในภูมิภาคที่เอื้ออำานวยต่อ กระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน กฎบัต รอาเซีย น (ASEAN Charter) กฎบัตรอาเซียน เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบแนวทาง ทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการ ดำาเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการ รวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558(ค.ศ.2015) ตามที่ผู้นำาอาเซียนได้ ตกลงกันไว้ โดยวัตถุประสงค์ของกฎบัตร คือ ทำาให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มี ประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และเคารพกฎ กติกาในการทำางานมาก ขึน นอกจากนี้ กฎบัตรฯจะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็นองค์กรระหว่าง ้ รัฐบาล ประชาคมอาเซีย นด้า นการเมือ งและความมั่น คง (ASEAN Political Security Community)
  • 25. อาเซียนมุ่งส่งเสริมความร่วมมือในด้านการเมืองและความมั่นคงเพื่อเสริม สร้างและธำารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน ภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งโดย สันติวิธี ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย น (ASEAN Economic Community) อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2553 โดยมีเป้า หมายให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี ประชาคมสัง คมและวัฒ นธรรมอาเซีย น (ASEAN Socio-Cultural Community อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จากการรวมตัวกันเพื่อทำาให้ประชาชนมีการอยู่ดี กินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้าน (Functional cooperation)ภายใต้สังคม และวัฒนธรรม ที่ครอบคลุมในหลายด้าน ได้แก่ เยาวชน การศึกษาและการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล ยาเสพ ติด การจัดการภัยพิบัติ โดยมีคณะทำางานอาเซียนรับผิดชอบการดำาเนิน ความร่วมมือในแต่ละด้าน สถานทีส ำา คัญ ของประเทศสมาชิก อาเซีย น ่ พระธาตุหลวง ประเทศลาว นครวัด ประเทศ กัมพูชา พิพิธภัณฑ์โฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม
  • 26. ประเท ศฟิลิปปินส์ เมอร์ไลออน หรือ สิงโตทะเล - ประเทศสิงคโปร์ บรูไนมิวเซียม-ประเทศ บรูไน
  • 27. บุโรพุทโธ ประเทศ อินโดนีเซีย พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง ประเทศพม่า จตุรัสเมอร์เดก้า ประเทศ มาเลเซีย การประชุม สุด ยอดอาเซีย นครั้ง ที่ 18 ที่จ าการ์ต า 7 – 8 พฤษภาคม 2011
  • 28. การประชุม สุด ยอดอาเซีย นครั้ง ที่ 18 มีห ัว ข้อ หลัก ว่า “ประชาคม อาเซีย นในประชาคมโลก : ASEAN Community in a Global Community of Nations” โดยมีเ ป้า หมายสำา คัญ อยู่ท ี่ “การพยายามผลัก ดัน ให้อ าเซีย นเดิน หน้า สู่ก ารเป็น ประชาคมอาเซีย น ในปี 2558 (ค.ศ. 2015) และการพยายามให้ป ระชาคมอาเซีย น มีบ ทบาทในประชาคมโลก ” ซึ่ง ประธานาธิบ ดีอ ิน โดนีเ ซีย ในฐานะประธานอาเซีย นในปีน ี้ ได้เ รีย กร้อ งให้ป ระเทศสมาชิก ผลัก ดัน เพื่อ รับ ประกัน ว่า แผนแม่บ ท ว่า ด้ว ยการเชื่อ มโยงภายในภูม ิภ าคอาเซีย น หรือ ASEAN Connectivity จะเริ่ม ดำา เนิน การ และบรรลุผ ลสำา เร็จ ได้อ ย่า งเร็ว ที่ส ุด เท่า ที่จ ะเป็น ไปได้ แถลงการณ์" ผู้น ำา อาเซีย น" รวมพลัง รับ มือ "มหาอุท กภัย " ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 19 ที่เกาะบาหลี สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ผู้นำาอาเซียนได้ร่วมรับรองแถลงการณ์ ผู้นำาอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือในด้านการป้องกันอุทกภัย การลดผลกระทบ การบรรเทา การฟื้นฟู และการบูรณะ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ซึ่งไทยเป็นผู้ริเริ่มเสนอแถลงการณ์ดังกล่าวในการ ประชุมสุดยอดครั้งนี้ มีเนื้อหาสำาคัญ คือ 1.เพิ่มพูนความร่วมมือด้านบริหารจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการ ลดผลกระทบ โดยหนึ่งในแนวทางความร่วมมือ คือ การแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ประสบความสำาเร็จในด้าน นี้ และในการบริหาร จัดการทรัพยากรนำ้า เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย ซึ่งคุกคามต่อชีวิตมนุษย์ และเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค รวมถึง ความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ตลอดจนผลผลิตทางการเกษตร ความมั่นคงทาง อาหารของภูมิภาค และห่วงโซ่อุปทานของภาคอุตสาห กรรมทั้งในระดับภูมิภาค และระดับโลก 2.เพิ่มพูนความร่วมมือในด้านการบรรเทา การฟื้นฟู และการบูรณะภายหลัง ประสบภัยพิบัติ และการพัฒนาประสิทธิภาพในการประสานความร่วมมือดังกล่าว
  • 29. 3.เสริมสร้างบทบาทของเลขาธิการอาเซียนในฐานะผู้ประสานงานอาเซียนใน การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเพิ่มพูนขีดความสามารถ ตลอดจน ดำารงความยั่งยืนของศูนย์ประสานงานอาเซียนสำาหรับความช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมในการจัดการภัยพิบัติ ในการช่วยประสานความร่วมมือในการ บริหารจัดการภัยพิบัติระหว่างประเทศสมาชิกและกับพันธมิตรนอกภูมิภาค 4.มอบหมายให้เลขาธิการอาเซียนและคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน โดยร่วมหารือกับองค์กรเฉพาะสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาว่า อาเซียนจะประสาน งานและเตรียมการสำาหรับอุทกภัยให้ดีขึ้นได้อย่างไร รวมทั้งจัดทำาข้อเสนอแนะ ในสาขาที่อาจสามารถร่วมมือกันในแง่ของผู้เชี่ยวชาญ และทรัพยากร เพื่อ ป้องกันอุทกภัย ลดผลกระทบ เตรียมความพร้อม รับมือ บรรเทา และฟื้นฟู ระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียน และระหว่างอาเซียนกับพันธมิตร รวมทั้งติดตามการ ดำาเนินการตามแถลงการณ์นี้ เพื่อรายงานต่อคณะมนตรีประสานงานอาเซียน โดยผ่านคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน รับรอง ณ บาหลี อินโดนีเซีย วันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.2011 ในการประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 19 เพื่อ เป็น ข้อ มูล เกี่ย วกับ การเตรีย มความพร้อ มสู่ ประชาคมอาเซีย น นางจรรยา หัน ทยุง ศึก ษานิเ ทศก์ กลุ่ม นิเ ทศ ติด ตามและประเมิน ผลการจัด การศึก ษา เอกสารอ้า งอิง
  • 30. กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ.บัน ทึก การเดิน ทางอาเซีย น ,บริษัทวิธิ ตา แอนิเมชั่น จำากัด กรุงเทพ : 2552. กรมประชาสัมพันธ์ สำานักนายกรัฐมนตรี.ประเทศไทยกับ อาเซีย น,หจก.เปเปอร์เฮาส์ กรุงเทพ : 2552. สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. www.boi.go.th. www.depthai.go.th. www.mfa.go.th. www.moc.go.th.