SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
บทนํา (Introduction)
                                                   บทที่                           1
            ในโลกยุคโลกาภิวัตน ประเทศไทยจําเปนตองติดตอสัมพันธกับนานาชาติมากขึ้นใน
ทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปนดานการคาพาณิชย การทองเที่ยว การศึกษา การเมือง การตางประเทศ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการติดตอสัมพันธดังกลาวจําเปนตองใชภาษาในการสื่อสารกัน
ทั้งเพื่อการรับสารและเพื่อการสงสาร แตหากภาษาที่จะใชในการสื่อสารเปนคนละภาษา และ
ผูสื่อสารมิไดเรียนรูหรือเขาใจภาษาของคนชาติอื่น ก็ยอมจําเปนตองใชการแปลเปนหนทาง
ในการสือสารทําความเขาใจใหตรงกันได การแปลจึงมีบทบาทสําคัญยิงในการทําใหคนไทยสามารถ
          ่                                                       ่
ส ง สารไปถึ ง คนต า งชาติ และในขณะเดี ย วกั น ก็ ส ามารถรั บ สารจากคนต า งชาติ ม าได ด  ว ย
กิจกรรมระหวางคนไทยกับคนตางชาติจึงจะสามารถเกิดขึ้นตามมาไดไมวาจะเปนกิจธุระในดาน
ใด ๆ
         การแปลเปนสิ่งที่มีบทบาทอยางมากในชีวิตประจําวันของคนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ในยุคพาณิชยสากล วิทยาการความรูใหม ๆ ที่เขามาในประเทศ สินคาตาง ๆ ที่ซื้อขายกันไมวา
จะเปนอาหาร เสื้อผา เครื่องอุปโภคบริโภคตาง ๆ ลวนตองมีภาษาอังกฤษกํากับมา ทําใหจําเปน
ตองใชการแปล เพื่อใหคนไทยสวนใหญไดเขาใจ ในทางตรงกันขาม เมื่อคนไทยตองการจําหนาย
สินคาไทยไปตางประเทศ หรือตองการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารก็ยอมตองแปลขอความเปน
ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ ให ข  อ มู ล ที่ ถู ก ต อ งเกี่ ย วกั บ สิ น ค า รวมทั้ ง การสื่ อ สารข า วสารนั้ น ๆ อย า งมี
ประสิทธิภาพ การแปลจึงอยูในฐานะเครื่องมือสําคัญในการทําใหคนไทยสามารถสื่อสารกับคน
ตางชาติ และทําใหคนตางชาติส่ือสารกับคนไทยได อยางไรก็ตาม การแปลที่บกพรองผิดพลาด
ยอมสงผลในทางตรงกันขามได นันก็คอทําใหการสือสารไมบรรลุผล อาจสรางความเขาใจผิดพลาด
                                           ่ ื                    ่
คลาดเคลือนระหวางกัน ซึงอาจกอใหเกิดปญหานอยใหญลกลามตามมาแลวแตกรณี ดังนัน ผูแปล
          ่                  ่                                             ุ                                 ้ 
จึงตองใชความระมัดระวังอยางยิงยวดในกระบวนการทํางานแปล (process) เพือการผลิตบทแปล
                                         ่                                                         ่
(product) ที่มีประสิทธิภาพสูงในการถายทอดความหมายตามจุดประสงคของผูเขียน (intended
meaning) ไปสูผูอานบทแปล หากบทแปลดอยคุณภาพยอมไมสามารถสื่อสารไดตรง อาจจะให

                                                                                                                          1
ความหมายผิด ๆ (wrong meaning) หรืออาจจะไรความหมาย (zero meaning) หรือใหความหมาย
คลุมเครือ (obscure meaning)
         มหาวิทยาลัยในประเทศไทยมีการเปดสอนวิชาการแปลกันอยางกวางขวาง เพือผลิตบุคลากร
                                                                            ่
ที่สามารถทํางานแปลใหกับหนวยงาน บริษัท หางรานตาง ๆ เนื่องจากตลาดยังมีความจําเปนตองใช
งานบุคลากรประเภทนีอยางสูง วิชาการแปลทีเ่ ปดสอนในมหาวิทยาลัย จึงมีทงการแปลจากภาษาไทย
                     ้                                              ้ั
เปนภาษาอังกฤษ และจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย และมีหลายระดับ เชน ระดับเบื้องตน
ระดับกลาง และระดับสูง รวมทั้งมีการแปลในมิติตาง ๆ เชน การแปลเพื่ออาชีพ การแปลเพื่อ
เสริมสรางทักษะการสื่อสาร การแปลเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ การแปลแยกประเภทตามตัวบท
เชน ตัวบทวิชาการ ตัวบทวรรณกรรม ตัวบทขาวสาร ฯลฯ
        แตไมวาจะเรียนรูการแปลหรือทํางานแปลในระดับใด โอกาสแปลผิดพลาดเกิดขึ้นได
ตลอดเวลาที่ทํางานแปล การเรียนรูจากขอผิดพลาด และเรียนรูวิธีหลีกเลี่ยงขอผิดพลาดเมื่อทํางาน
แปลนั้น ยอมชวยใหผูแปลเกิดความตระหนักรูและมีความระวังระไวมากขึ้น
           งานแปลเปนงานยากและตองการความละเอียดรอบคอบอยางยิ่ง Newmark (1995)
กลาววา งานแปลเปนงานที่ทําอยางไมมีวันสิ้นสุด “A translation is never finished.” ผูแปลตอง
มีทักษะในการอาน การวิเคราะห การตีความ รวมไปถึงตองมีทักษะในการเขียนอีกดวย การเขียนก็
มิใชเปนการเขียนจากความคิดของตนเอง แตเปนการเขียนความคิดของบุคคลอืน ผูแปลตองสมมติวา
                                                                                   ่                     
ตัวเองเปนคนอื่น บอกเลาความคิดของคนอื่นดวยอีกภาษาหนึ่ง นั่นหมายความวา ผูแปลตองใช
หลักภาษาถึง 2 ชุด และความเขาใจดานสังคมวัฒนธรรมอีก 2 ชุดของภาษาตนทางและภาษา
เปาหมาย ปญหาจึงเกิดขึ้นไดเสมอในกระบวนการแปลทุกขั้นตอน ผูวิจัยไดสังเกตวางานแปลทั้งของ
นั ก ศึ ก ษาผู  เรี ย นวิ ช าการแปลและของบุ ค คลทั่ ว ไปที่ มี ผ ลงานแปลตามสื่ อ ต า ง ๆ เช น หนั ง สื อ
หนังสือพิมพ อินเทอรเน็ต และปายประกาศตาง ๆ ยังมีความบกพรองผิดพลาดอยูมาก ดังนั้น
จึงสมควรอยางยิงทีจะทําการวิเคราะหวจยขอผิดพลาดเหลานัน เพือจําแนกประเภท สาเหตุ และเสนอ
                        ่ ่              ิั                        ้ ่
แนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและแกไขปญหา
          Newmark (1995: 4) อธิบายสาเหตุของความยุงยากซับซอนในการแปล อันเนืองมาจากการ
                                                                          ่
ที่ตองใชหลักภาษาและวัฒนธรรมถึง 2 ชุด โดยการเขียนสรุปเปนแผนภาพดังนี้




2
9. The truth (the facts of the matter)
     1. SL writer                                                   5. TL readership
     2. SL norms                                                    6. TL norms
     3. SL culture                       TEXT                       7. TL culture
     4. SL setting and                                              8. TL setting and
        tradition                                                      tradition
                                       10. Translator
        ตัวบทแปลนันเกียวของกับองคประกอบทังหมด 10 ประการ ดานหนึงคือ ผูเ ขียน เกณฑปกติ
                       ้ ่                     ้                       ่
ของสังคม วัฒนธรรม ภูมิหลังและขนบของสังคมในภาษาตนฉบับ (SL, source language) และ
อีกดานหนึ่งคือ ผูอาน เกณฑปกติ วัฒนธรรม ภูมิหลังและขนบของสังคมในภาษาแปล (TL, target
language) รวมถึงขอเท็จจริงของสิ่งที่แปลและตัวผูแปลเองดวย ทั้งหมดเปนพลังในฝงตรงกันขามที่
จะลากดึงการแปลไปในทิศทางที่ตรงกันขามกันได
          Hatim และ Mason (1994) อธิบายความยุงยากซับซอนนี้เชนเดียวกับ Newmark วา
การแปลเปนกระบวนการสื่อสารอยางหนึ่งที่เกิดขึ้นภายในบริบทของสังคม เปนสื่อกลางระหวาง
ผูเขียนในภาษาตนฉบับ (the producer of the source-language text) กับผูอานในภาษาแปล
(the reader of the target-language text) ทังสองฝายตางก็อยูในกรอบสังคมของตัวเองทีแตกตาง
                                           ้                                     ่
กัน กระบวนการแปลจึงเปนเรืองซับซอนเพราะการใชภาษาเปนสวนหนึงของการดําเนินชีวตในสังคม
                           ่                                    ่               ิ
กับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมคนละกรอบกันของทั้งสองฝาย
        บทแปลที่ผูอานในภาษาแปลไดอานนั้น แสดงใหเห็นเฉพาะการเขาใจและการตัดสินใจของ
ผูแปล ผูอานจะไดเห็นก็เพียงบทแปลที่เปนผลของการเขาใจ และการตัดสินใจของผูแปล (end
product) เทานั้น มิไดเห็นกระบวนการอันนําไปสูการตัดสินใจเชนนั้น ความเขาใจตาง ๆ เปนของ
ผูแปลแตเพียงผูเดียวที่ถายทอดออกมาเปนบทแปลใหผูอานไดอาน ผูอานไดอานก็เพียงเฉพาะผล
สุดทายของกระบวนการแปลในลักษณะสมบูรณในตัว (self-contained) แมวาผูแปลอาจจะอาน
ตนฉบับแลวเขาใจผิด ตีความผิด และถายทอดผิด หรือเขาใจถูก ตีความถูก แตถายทอดผิดก็ตามที
         Hatim และ Mason (1994: 4) ยังเนนใหตระหนักถึงความแตกตางที่อาจจะเกิดขึ้นไดใน
เรื่องของจุดประสงคในการสื่อสารของผูเขียนกับผูแปลวา “… text can be seen as the result of
motivated choice: producers of texts have their own communicative aims and select
lexical items and grammatical arrangement to serve those aims. Naturally, in translating,
                                                                                            3
these are potentially two sets of motivations: those of the producer of the source
text and those of the translator.”
         ในเมื่อผูอานมิไดเห็นตัวตนฉบับ ผูแปลจึงเปนผูทําหนาที่เปนสื่อกลางระหวางผูเขียนกับ
ผูอาน ผูอานจะเขาใจเรื่องราวไดก็โดยการผานคนกลางคือผูแปลเทานั้น ทุกอยางที่ผูอานเห็นยอม
เปนความเขาใจ การตีความและทางเลือกของผูแปลเทานั้น หากสื่อกลางดอยประสิทธิภาพ ขาด
ทักษะในการอาน การวิเคราะห การตีความ และการถายทอด สารของผูเขียนยอมจะไปไมถึงผูอาน
อยางแนนอน หรือไปถึงอยางกระทอนกระแทน หรือบิดเบี้ยว ผิดเพี้ยนไป อาจสรางความอับอาย
ตอวงการตาง ๆ ที่ผูแปลเขาไปทําหนาที่ถายทอดสารนั้น ๆ ได
       ยกตัวอยางเชน หนาหองนํ้าสาธารณะแหงหนึ่งในสถานที่ทองเที่ยวที่มีนกทองเที่ยวไปเยี่ยม
                                                                         ั
ชมมากมาย เขียนประกาศขอความวา “หองนําไมมกระดาษชําระ หากทานใดประสงคจะใช โปรดซือ
                                        ้ ี                                                 ้
จากพนักงานหนาหองนํา” โดยมีคาแปลเปนภาษาอังกฤษสําหรับนักทองเทียวชาวตางชาติกากับไววา
                     ้        ํ                                    ่                ํ         
       “Because we have no tissue. Please buy the used one.”
          ผูรบสารที่อานไดเฉพาะภาษาอังกฤษ จะมีความเขาใจวา ใหนักทองเที่ยวซื้อกระดาษชําระที่
              ั
ใชแลว เพื่อเอามาใชงานตอ นับเปนการสงสารที่ผิดพลาด แทนที่จะแปลวา “Toilet paper not
provided. Please buy some.” หรือถาตองการรายละเอียดก็อาจแปลวา “No toilet paper
provided. Please buy some (from the attendant) at the entrance.” ซึ่งอาจจะดูรุงรัง
อยูบาง เพราะอธิบายยืดยาว แตก็สื่อสารไดถูกตอง
       การแปลผิดพลาดเชนนีอาจเพียงสรางความขบขันแกผอานชาวตางชาติเทานัน หรือไมกอาจ
                            ้                        ู                ้         ็
สรางความหงุดหงิด หรือทําใหเกิดการดูถูกเหยียดหยามในความดอยความสามารถในการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษของคนไทย
        ในบางกรณีการแปลผิดพลาดอาจกอใหเกิดความเสียหายได ตัวอยางเชน โรงแรมแหงหนึ่ง
ตองการแจงใหผเู ขาพักทราบวา หากผูเ ขาพักมีความประสงคสงใด โปรดเรียกใชบริการไดจากพนักงาน
                                                             ิ่
ประจําโรงแรมซึงพรอมใหบริการ แตการแปลขอความประกาศนีกลับทําใหผอานเฉพาะภาษาอังกฤษ
                 ่                                              ้         ู 
เขาใจไปอีกอยางหนึ่ง ขอความนั้นมีวา
        If you have a desire, please take advantage of our chambermaid.
         ขอความแปลนี้มีความหมายวา หากทานเกิดความตองการขึ้นมาก็กรุณาลวนลามหรือรวม
หลับนอนกับพนักงานของเราไดเลย เนื่องจากคําวา “take advantage” ที่ใชในบริบทเชนนี้ยอมมี
                                                                                    
ความหมายวา “seduce” หรือ “have sex with” ได อาจทําใหชาวตางชาติหัวหมอถือโอกาสใช
ประโยชนจากปายประกาศนี้ ผลเสียจะตกอยูกับพนักงานโรงแรมและชื่อเสียงของโรงแรม ขอความ
เชนนี้อาจแปลไดวา “Please ask for anything you need from our staff.”
4
ในกรณีการแปลจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทยก็เชนเดียวกัน การถายทอดความหมายไม
ตรงกับตนฉบับยอมสรางความเขาใจผิดและความเสียหายได ขอสําคัญคือ ไมเปนความจริง ยกตัวอยาง
เชน
           ในบทความที่วาดวยเรื่องการใชพลาสติกอยางมากมายในประเทศอังกฤษ ซึ่งมากถึงขนาด
ที่ผูเขียนใชคําพูดเกินจริง เพื่อใหเห็นภาพวาเกาะอังกฤษนั้นแทบจะจมอยูในกองพลาสติก โดย
ผูเขียนตั้งคําถามวา
        Is Britain drowning in plastic ?
        มีผูแปล แปลวา ประเทศอังกฤษกําลังนําเอาพลาสติกไปถวงนํ้า
        ผูอานเฉพาะภาษาไทยยอมเขาใจวาประเทศอังกฤษกําจัดขยะพลาสติกโดยการนําเอาไปทิ้ง
ทะเล หรือโยนลงในแมนํ้า อาจทําใหผูอานโดยเฉพาะนักอนุรักษสิ่งแวดลอมไมพอใจ กอการประทวง
หรือนึกตําหนิการกระทําของประเทศอังกฤษ
        อีกตัวอยางหนึง ในบทความเกียวกับนางฮิลลารี คลินตัน ผูไมมใครเอาชนะได แตกลับแพใน
                      ่              ่                           ี
การเลือกตัวแทนพรรคใหแกนายบารัก โอบามา ขาวพาดหัวเขียนวา
        How the “unbeatable” Hillary still managed to lose
        (ความหมาย = ฮิลลารีผูไมเคยสยบแกผูใดพายแพไดอยางไร)
        ผูแปลแปลวา ฮิลลารีผูไมเคยชนะ จะจัดการอยางไรกับความพายแพของตน
        อีกสองสามตัวอยางตอไปนีลวนแลวแตเปนการแสดงใหเห็นวา การแปลทีผดพลาดนันไมเพียง
                                ้                                      ่ิ      ้
แตจะสรางความตลกขบขันเทานั้นยังสรางความเขาใจผิดตลอดจนความเสียหายไดดวย
            A:   How are you? (= สบายดีหรือ)
            B:   I’ve been better. (= ไมคอยดีเลย)
            C:   Never better. (= ดีมากเลย)
คําแปลผิด : B:   ผมรูสึกดีขึ้นมากเลย
            C:   ไมเคยดีขึ้นเลย
        I’ve been better. มีความหมายเทากับ I don’t feel very well. หรือไมคอยดีเทาไหร
(เคยดีกวานี้ ตอนนี้ไมดี) สวน Never better. มีความหมายวา ไมเคยรูสึกดีกวานี้มากอนเลย
แปลวา เวลานี้สบายดีมากที่สุด
        The terrorist leader will never negotiate.
        (คําแปล : หัวหนาผูกอการรายจะไมมีวันยอมเจรจาโดยเด็ดขาด)
        คําแปลผิด : หัวหนาผูกอการรายไมเคยไดรับการติดตอเจรจาใด ๆ เลย
                                                                                          5
Get the flavour of dinosaurs. Escobar’s mansion with several “life-sized” concrete
dinosaurs is now open to the public.
       (คําแปล : เชิญมาสัมผัสไดโนเสารกันอยางใกลชิด คฤหาสนเอสโคบารพรอมดวยเหลา
ไดโนเสารหุนขนาดเทาตัวจริง ไดเปดใหเขาชมแลว)
       คําแปลผิด : เชิญชิมรสชาติเนื้อไดโนเสาร คฤหาสนเอสโคบารพรอมดวยไดโนเสารมีชีวิตเทา
ของจริงที่เปนรูปธรรม รอตอนรับทุกทานอยู
        ดังนั้น เมื่อขอผิดพลาดในการแปลสามารถทําใหเขาใจผิดไดเชนนี้ การศึกษาวิจยเพื่อทราบ
                                                                                  ั
ลักษณะและเหตุทมาของขอผิดพลาดในกระบวนการแปล เพือหาทางหลีกเลียงและแกไขจึงเปนเรือง
                    ี่                                   ่               ่                 ่
สําคัญและจําเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่เปดสอนวิชาการแปล จําเปนตองศึกษา
คนควาอยางละเอียดรอบคอบ เพราะเปนแหลงที่ผลิตบุคลากรทํางานดานการแปลที่สําคัญใหแก
ประเทศ เพื่อบุคลากรเหลานี้จะไดสามารถทําหนาที่เปนสื่อกลางระหวางภาษา ทั้งจากภาษาไทยเปน
ภาษาอังกฤษ และจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ รูเทาทันขอผิดพลาด รูทาง
                                                                                        
แกไข และมีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้นตอไป สามารถปฏิบัติงานไดดีในหนวยงานตาง ๆ ทั้งราชการ
และเอกชน
                                      




6

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการyahapop
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 

Tendances (14)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 

Similaire à 9789740329787

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1saoBenz
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 

Similaire à 9789740329787 (20)

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 

Plus de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740329787

  • 1. บทนํา (Introduction) บทที่ 1 ในโลกยุคโลกาภิวัตน ประเทศไทยจําเปนตองติดตอสัมพันธกับนานาชาติมากขึ้นใน ทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปนดานการคาพาณิชย การทองเที่ยว การศึกษา การเมือง การตางประเทศ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการติดตอสัมพันธดังกลาวจําเปนตองใชภาษาในการสื่อสารกัน ทั้งเพื่อการรับสารและเพื่อการสงสาร แตหากภาษาที่จะใชในการสื่อสารเปนคนละภาษา และ ผูสื่อสารมิไดเรียนรูหรือเขาใจภาษาของคนชาติอื่น ก็ยอมจําเปนตองใชการแปลเปนหนทาง ในการสือสารทําความเขาใจใหตรงกันได การแปลจึงมีบทบาทสําคัญยิงในการทําใหคนไทยสามารถ ่ ่ ส ง สารไปถึ ง คนต า งชาติ และในขณะเดี ย วกั น ก็ ส ามารถรั บ สารจากคนต า งชาติ ม าได ด  ว ย กิจกรรมระหวางคนไทยกับคนตางชาติจึงจะสามารถเกิดขึ้นตามมาไดไมวาจะเปนกิจธุระในดาน ใด ๆ การแปลเปนสิ่งที่มีบทบาทอยางมากในชีวิตประจําวันของคนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในยุคพาณิชยสากล วิทยาการความรูใหม ๆ ที่เขามาในประเทศ สินคาตาง ๆ ที่ซื้อขายกันไมวา จะเปนอาหาร เสื้อผา เครื่องอุปโภคบริโภคตาง ๆ ลวนตองมีภาษาอังกฤษกํากับมา ทําใหจําเปน ตองใชการแปล เพื่อใหคนไทยสวนใหญไดเขาใจ ในทางตรงกันขาม เมื่อคนไทยตองการจําหนาย สินคาไทยไปตางประเทศ หรือตองการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารก็ยอมตองแปลขอความเปน ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ ให ข  อ มู ล ที่ ถู ก ต อ งเกี่ ย วกั บ สิ น ค า รวมทั้ ง การสื่ อ สารข า วสารนั้ น ๆ อย า งมี ประสิทธิภาพ การแปลจึงอยูในฐานะเครื่องมือสําคัญในการทําใหคนไทยสามารถสื่อสารกับคน ตางชาติ และทําใหคนตางชาติส่ือสารกับคนไทยได อยางไรก็ตาม การแปลที่บกพรองผิดพลาด ยอมสงผลในทางตรงกันขามได นันก็คอทําใหการสือสารไมบรรลุผล อาจสรางความเขาใจผิดพลาด ่ ื ่ คลาดเคลือนระหวางกัน ซึงอาจกอใหเกิดปญหานอยใหญลกลามตามมาแลวแตกรณี ดังนัน ผูแปล ่ ่ ุ ้  จึงตองใชความระมัดระวังอยางยิงยวดในกระบวนการทํางานแปล (process) เพือการผลิตบทแปล ่ ่ (product) ที่มีประสิทธิภาพสูงในการถายทอดความหมายตามจุดประสงคของผูเขียน (intended meaning) ไปสูผูอานบทแปล หากบทแปลดอยคุณภาพยอมไมสามารถสื่อสารไดตรง อาจจะให 1
  • 2. ความหมายผิด ๆ (wrong meaning) หรืออาจจะไรความหมาย (zero meaning) หรือใหความหมาย คลุมเครือ (obscure meaning) มหาวิทยาลัยในประเทศไทยมีการเปดสอนวิชาการแปลกันอยางกวางขวาง เพือผลิตบุคลากร ่ ที่สามารถทํางานแปลใหกับหนวยงาน บริษัท หางรานตาง ๆ เนื่องจากตลาดยังมีความจําเปนตองใช งานบุคลากรประเภทนีอยางสูง วิชาการแปลทีเ่ ปดสอนในมหาวิทยาลัย จึงมีทงการแปลจากภาษาไทย ้ ้ั เปนภาษาอังกฤษ และจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย และมีหลายระดับ เชน ระดับเบื้องตน ระดับกลาง และระดับสูง รวมทั้งมีการแปลในมิติตาง ๆ เชน การแปลเพื่ออาชีพ การแปลเพื่อ เสริมสรางทักษะการสื่อสาร การแปลเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ การแปลแยกประเภทตามตัวบท เชน ตัวบทวิชาการ ตัวบทวรรณกรรม ตัวบทขาวสาร ฯลฯ แตไมวาจะเรียนรูการแปลหรือทํางานแปลในระดับใด โอกาสแปลผิดพลาดเกิดขึ้นได ตลอดเวลาที่ทํางานแปล การเรียนรูจากขอผิดพลาด และเรียนรูวิธีหลีกเลี่ยงขอผิดพลาดเมื่อทํางาน แปลนั้น ยอมชวยใหผูแปลเกิดความตระหนักรูและมีความระวังระไวมากขึ้น งานแปลเปนงานยากและตองการความละเอียดรอบคอบอยางยิ่ง Newmark (1995) กลาววา งานแปลเปนงานที่ทําอยางไมมีวันสิ้นสุด “A translation is never finished.” ผูแปลตอง มีทักษะในการอาน การวิเคราะห การตีความ รวมไปถึงตองมีทักษะในการเขียนอีกดวย การเขียนก็ มิใชเปนการเขียนจากความคิดของตนเอง แตเปนการเขียนความคิดของบุคคลอืน ผูแปลตองสมมติวา ่   ตัวเองเปนคนอื่น บอกเลาความคิดของคนอื่นดวยอีกภาษาหนึ่ง นั่นหมายความวา ผูแปลตองใช หลักภาษาถึง 2 ชุด และความเขาใจดานสังคมวัฒนธรรมอีก 2 ชุดของภาษาตนทางและภาษา เปาหมาย ปญหาจึงเกิดขึ้นไดเสมอในกระบวนการแปลทุกขั้นตอน ผูวิจัยไดสังเกตวางานแปลทั้งของ นั ก ศึ ก ษาผู  เรี ย นวิ ช าการแปลและของบุ ค คลทั่ ว ไปที่ มี ผ ลงานแปลตามสื่ อ ต า ง ๆ เช น หนั ง สื อ หนังสือพิมพ อินเทอรเน็ต และปายประกาศตาง ๆ ยังมีความบกพรองผิดพลาดอยูมาก ดังนั้น จึงสมควรอยางยิงทีจะทําการวิเคราะหวจยขอผิดพลาดเหลานัน เพือจําแนกประเภท สาเหตุ และเสนอ ่ ่ ิั ้ ่ แนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและแกไขปญหา Newmark (1995: 4) อธิบายสาเหตุของความยุงยากซับซอนในการแปล อันเนืองมาจากการ  ่ ที่ตองใชหลักภาษาและวัฒนธรรมถึง 2 ชุด โดยการเขียนสรุปเปนแผนภาพดังนี้ 2
  • 3. 9. The truth (the facts of the matter) 1. SL writer 5. TL readership 2. SL norms 6. TL norms 3. SL culture TEXT 7. TL culture 4. SL setting and 8. TL setting and tradition tradition 10. Translator ตัวบทแปลนันเกียวของกับองคประกอบทังหมด 10 ประการ ดานหนึงคือ ผูเ ขียน เกณฑปกติ ้ ่ ้ ่ ของสังคม วัฒนธรรม ภูมิหลังและขนบของสังคมในภาษาตนฉบับ (SL, source language) และ อีกดานหนึ่งคือ ผูอาน เกณฑปกติ วัฒนธรรม ภูมิหลังและขนบของสังคมในภาษาแปล (TL, target language) รวมถึงขอเท็จจริงของสิ่งที่แปลและตัวผูแปลเองดวย ทั้งหมดเปนพลังในฝงตรงกันขามที่ จะลากดึงการแปลไปในทิศทางที่ตรงกันขามกันได Hatim และ Mason (1994) อธิบายความยุงยากซับซอนนี้เชนเดียวกับ Newmark วา การแปลเปนกระบวนการสื่อสารอยางหนึ่งที่เกิดขึ้นภายในบริบทของสังคม เปนสื่อกลางระหวาง ผูเขียนในภาษาตนฉบับ (the producer of the source-language text) กับผูอานในภาษาแปล (the reader of the target-language text) ทังสองฝายตางก็อยูในกรอบสังคมของตัวเองทีแตกตาง ้  ่ กัน กระบวนการแปลจึงเปนเรืองซับซอนเพราะการใชภาษาเปนสวนหนึงของการดําเนินชีวตในสังคม ่ ่ ิ กับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมคนละกรอบกันของทั้งสองฝาย บทแปลที่ผูอานในภาษาแปลไดอานนั้น แสดงใหเห็นเฉพาะการเขาใจและการตัดสินใจของ ผูแปล ผูอานจะไดเห็นก็เพียงบทแปลที่เปนผลของการเขาใจ และการตัดสินใจของผูแปล (end product) เทานั้น มิไดเห็นกระบวนการอันนําไปสูการตัดสินใจเชนนั้น ความเขาใจตาง ๆ เปนของ ผูแปลแตเพียงผูเดียวที่ถายทอดออกมาเปนบทแปลใหผูอานไดอาน ผูอานไดอานก็เพียงเฉพาะผล สุดทายของกระบวนการแปลในลักษณะสมบูรณในตัว (self-contained) แมวาผูแปลอาจจะอาน ตนฉบับแลวเขาใจผิด ตีความผิด และถายทอดผิด หรือเขาใจถูก ตีความถูก แตถายทอดผิดก็ตามที Hatim และ Mason (1994: 4) ยังเนนใหตระหนักถึงความแตกตางที่อาจจะเกิดขึ้นไดใน เรื่องของจุดประสงคในการสื่อสารของผูเขียนกับผูแปลวา “… text can be seen as the result of motivated choice: producers of texts have their own communicative aims and select lexical items and grammatical arrangement to serve those aims. Naturally, in translating, 3
  • 4. these are potentially two sets of motivations: those of the producer of the source text and those of the translator.” ในเมื่อผูอานมิไดเห็นตัวตนฉบับ ผูแปลจึงเปนผูทําหนาที่เปนสื่อกลางระหวางผูเขียนกับ ผูอาน ผูอานจะเขาใจเรื่องราวไดก็โดยการผานคนกลางคือผูแปลเทานั้น ทุกอยางที่ผูอานเห็นยอม เปนความเขาใจ การตีความและทางเลือกของผูแปลเทานั้น หากสื่อกลางดอยประสิทธิภาพ ขาด ทักษะในการอาน การวิเคราะห การตีความ และการถายทอด สารของผูเขียนยอมจะไปไมถึงผูอาน อยางแนนอน หรือไปถึงอยางกระทอนกระแทน หรือบิดเบี้ยว ผิดเพี้ยนไป อาจสรางความอับอาย ตอวงการตาง ๆ ที่ผูแปลเขาไปทําหนาที่ถายทอดสารนั้น ๆ ได ยกตัวอยางเชน หนาหองนํ้าสาธารณะแหงหนึ่งในสถานที่ทองเที่ยวที่มีนกทองเที่ยวไปเยี่ยม  ั ชมมากมาย เขียนประกาศขอความวา “หองนําไมมกระดาษชําระ หากทานใดประสงคจะใช โปรดซือ ้ ี ้ จากพนักงานหนาหองนํา” โดยมีคาแปลเปนภาษาอังกฤษสําหรับนักทองเทียวชาวตางชาติกากับไววา ้ ํ ่ ํ  “Because we have no tissue. Please buy the used one.” ผูรบสารที่อานไดเฉพาะภาษาอังกฤษ จะมีความเขาใจวา ใหนักทองเที่ยวซื้อกระดาษชําระที่ ั ใชแลว เพื่อเอามาใชงานตอ นับเปนการสงสารที่ผิดพลาด แทนที่จะแปลวา “Toilet paper not provided. Please buy some.” หรือถาตองการรายละเอียดก็อาจแปลวา “No toilet paper provided. Please buy some (from the attendant) at the entrance.” ซึ่งอาจจะดูรุงรัง อยูบาง เพราะอธิบายยืดยาว แตก็สื่อสารไดถูกตอง การแปลผิดพลาดเชนนีอาจเพียงสรางความขบขันแกผอานชาวตางชาติเทานัน หรือไมกอาจ ้ ู  ้ ็ สรางความหงุดหงิด หรือทําใหเกิดการดูถูกเหยียดหยามในความดอยความสามารถในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษของคนไทย ในบางกรณีการแปลผิดพลาดอาจกอใหเกิดความเสียหายได ตัวอยางเชน โรงแรมแหงหนึ่ง ตองการแจงใหผเู ขาพักทราบวา หากผูเ ขาพักมีความประสงคสงใด โปรดเรียกใชบริการไดจากพนักงาน ิ่ ประจําโรงแรมซึงพรอมใหบริการ แตการแปลขอความประกาศนีกลับทําใหผอานเฉพาะภาษาอังกฤษ ่ ้ ู  เขาใจไปอีกอยางหนึ่ง ขอความนั้นมีวา If you have a desire, please take advantage of our chambermaid. ขอความแปลนี้มีความหมายวา หากทานเกิดความตองการขึ้นมาก็กรุณาลวนลามหรือรวม หลับนอนกับพนักงานของเราไดเลย เนื่องจากคําวา “take advantage” ที่ใชในบริบทเชนนี้ยอมมี  ความหมายวา “seduce” หรือ “have sex with” ได อาจทําใหชาวตางชาติหัวหมอถือโอกาสใช ประโยชนจากปายประกาศนี้ ผลเสียจะตกอยูกับพนักงานโรงแรมและชื่อเสียงของโรงแรม ขอความ เชนนี้อาจแปลไดวา “Please ask for anything you need from our staff.” 4
  • 5. ในกรณีการแปลจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทยก็เชนเดียวกัน การถายทอดความหมายไม ตรงกับตนฉบับยอมสรางความเขาใจผิดและความเสียหายได ขอสําคัญคือ ไมเปนความจริง ยกตัวอยาง เชน ในบทความที่วาดวยเรื่องการใชพลาสติกอยางมากมายในประเทศอังกฤษ ซึ่งมากถึงขนาด ที่ผูเขียนใชคําพูดเกินจริง เพื่อใหเห็นภาพวาเกาะอังกฤษนั้นแทบจะจมอยูในกองพลาสติก โดย ผูเขียนตั้งคําถามวา Is Britain drowning in plastic ? มีผูแปล แปลวา ประเทศอังกฤษกําลังนําเอาพลาสติกไปถวงนํ้า ผูอานเฉพาะภาษาไทยยอมเขาใจวาประเทศอังกฤษกําจัดขยะพลาสติกโดยการนําเอาไปทิ้ง ทะเล หรือโยนลงในแมนํ้า อาจทําใหผูอานโดยเฉพาะนักอนุรักษสิ่งแวดลอมไมพอใจ กอการประทวง หรือนึกตําหนิการกระทําของประเทศอังกฤษ อีกตัวอยางหนึง ในบทความเกียวกับนางฮิลลารี คลินตัน ผูไมมใครเอาชนะได แตกลับแพใน ่ ่  ี การเลือกตัวแทนพรรคใหแกนายบารัก โอบามา ขาวพาดหัวเขียนวา How the “unbeatable” Hillary still managed to lose (ความหมาย = ฮิลลารีผูไมเคยสยบแกผูใดพายแพไดอยางไร) ผูแปลแปลวา ฮิลลารีผูไมเคยชนะ จะจัดการอยางไรกับความพายแพของตน อีกสองสามตัวอยางตอไปนีลวนแลวแตเปนการแสดงใหเห็นวา การแปลทีผดพลาดนันไมเพียง ้ ่ิ ้ แตจะสรางความตลกขบขันเทานั้นยังสรางความเขาใจผิดตลอดจนความเสียหายไดดวย A: How are you? (= สบายดีหรือ) B: I’ve been better. (= ไมคอยดีเลย) C: Never better. (= ดีมากเลย) คําแปลผิด : B: ผมรูสึกดีขึ้นมากเลย C: ไมเคยดีขึ้นเลย I’ve been better. มีความหมายเทากับ I don’t feel very well. หรือไมคอยดีเทาไหร (เคยดีกวานี้ ตอนนี้ไมดี) สวน Never better. มีความหมายวา ไมเคยรูสึกดีกวานี้มากอนเลย แปลวา เวลานี้สบายดีมากที่สุด The terrorist leader will never negotiate. (คําแปล : หัวหนาผูกอการรายจะไมมีวันยอมเจรจาโดยเด็ดขาด) คําแปลผิด : หัวหนาผูกอการรายไมเคยไดรับการติดตอเจรจาใด ๆ เลย 5
  • 6. Get the flavour of dinosaurs. Escobar’s mansion with several “life-sized” concrete dinosaurs is now open to the public. (คําแปล : เชิญมาสัมผัสไดโนเสารกันอยางใกลชิด คฤหาสนเอสโคบารพรอมดวยเหลา ไดโนเสารหุนขนาดเทาตัวจริง ไดเปดใหเขาชมแลว) คําแปลผิด : เชิญชิมรสชาติเนื้อไดโนเสาร คฤหาสนเอสโคบารพรอมดวยไดโนเสารมีชีวิตเทา ของจริงที่เปนรูปธรรม รอตอนรับทุกทานอยู ดังนั้น เมื่อขอผิดพลาดในการแปลสามารถทําใหเขาใจผิดไดเชนนี้ การศึกษาวิจยเพื่อทราบ ั ลักษณะและเหตุทมาของขอผิดพลาดในกระบวนการแปล เพือหาทางหลีกเลียงและแกไขจึงเปนเรือง ี่ ่ ่ ่ สําคัญและจําเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่เปดสอนวิชาการแปล จําเปนตองศึกษา คนควาอยางละเอียดรอบคอบ เพราะเปนแหลงที่ผลิตบุคลากรทํางานดานการแปลที่สําคัญใหแก ประเทศ เพื่อบุคลากรเหลานี้จะไดสามารถทําหนาที่เปนสื่อกลางระหวางภาษา ทั้งจากภาษาไทยเปน ภาษาอังกฤษ และจากภาษาอังกฤษเปนภาษาไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ รูเทาทันขอผิดพลาด รูทาง   แกไข และมีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้นตอไป สามารถปฏิบัติงานไดดีในหนวยงานตาง ๆ ทั้งราชการ และเอกชน  6