SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
ตอนที่หนึ่ง
                             มารู้จัก
                           กับฟองสบู่
                             กันดีกว่า




_12-07(001-088)P5.indd 1                     8/18/12 9:09:46 PM
… เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่

                   เพื่อน ๆ รู้ไหม… ฟองสบู่คืออะไรกันนะ…
                   บางคนบอกว่า ก็เป็นฟองกลม ๆ ใส ๆ มีประกายสีรุ้งเคลือบใส 
                   บางคนก็บอกว่า ก็เจ้าฟองที่เกิดจากการเป่าน้ำสบู่นั้นไงล่ะ
                   บางคนก็บอกว่า อ๋อ…มันเป็นของเล่นสมัยเด็ก ๆ ที่เป่าเล่น และวิ่งไล่จับ
             ฟองกันกับเพื่อน ๆ สนุกดีนะ
                   

             

             
                                                     
                                                           
                                                           

                                                       
                                                                                  
                           เด็ก ๆ สร้างสรรค์ฟองสบู่จากของใช้รอบตัว เช่น ไม้แขวนเสื้อ

                                                       
                                                       
                                                       
                                                       

                                                       
                                                       
                                                                                  

                                เด็ก ๆ สามารถเล่นและเรียนรู้ร่วมกันผ่านฟองสบู่




_12-07(001-088)P5.indd 2                                                                  8/18/12 9:09:51 PM
ตอนที่หนึ่ง มารู้จักกับฟองสบู่กันดีกว่า … 

                          ฟองสบู่ส่วนใหญ่จะเกิดจากของเหลวที่ผสมสารลดแรงตึงผิวอยู่ เช่น 

                  ในน้ ำ สบู่ ผงซั ก ฟอก น้ ำ ยาล้ า งจาน เพราะสารดั ง กล่ า วจะทำให้ แ รงดึ ง ดู ด
                  ระหว่างโมเลกุลน้ำลดลง แต่ก็ยังมีแรงที่ให้เกาะกันเป็นแผ่นบาง ๆ 
                         ฟองสบู่ เ ป็ น ฟิ ล์ ม บางเฉี ย บขนาด 0.1-10 ไมครอน มี ข นาดเล็ ก จิ๋ ว
                  ประมาณหนึ่งในพันของเส้นผมคนเราที่มีขนาดเส้นผมเฉลี่ยในช่วง 60-120
                  ไมครอนเลยทีเดียว ส่วนใหญ่ฟองสบู่จะมีรูปร่างทรงกลมหรือแผ่นฟิล์มบาง ๆ
                  เพราะช่วยลดพลังงานอิสระของพื้นผิวได้ดีที่สุด เราเคยสงสัยไหมว่า ทำไม 

                  ฟองสบู่บางขนาดนี้แต่ก็ยังรักษารูปทรงอยู่ได้ เพราะมันมีโครงสร้างการเรียงตัว
                  ชิดกันคล้ายแซนวิชขนาบ 2 ด้านล้อมรอบน้ำไว้ดังภาพ 
                         โมเลกุ ล ของฟองสบู่ มี คุ ณ สมบั ติ ท างเคมี ส ำคั ญ ที่ ป ระกอบไปด้ ว ย


                  2 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนหัวและส่วนหาง ส่วนหัวจะชอบน้ำ ส่วนหางจะไม่ชอบ


                  น้ำ ดังแสดงในภาพวาดโมเลกุลของฟองสบู่ที่ประกอบไปด้วยโมเลกุลเล็ก ๆ
                  หน้าตาคล้ายลูกอ๊อด หัวลูกอ๊อดจะจุ่มอยู่กับน้ำ ส่วนหางจะหนีห่างจากน้ำ
                           
                                                          
                   


                                                          

                                                          
                                                          
                                                          
                                                                                          
                    โครงสร้างทางเคมีของฟองสบู่ประกอบไปด้วยส่วนหัวที่ชอบน้ำและส่วนหางที่ไม่ชอบน้ำ
                                                แหล่งภาพ : pbs.org                               




_12-07(001-088)P5.indd 3                                                                       8/18/12 9:09:55 PM
… เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่

                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       

                                                       
                     ภาพตัดขวางของฟองสบู่แสดงชั้นโมเลกุลฟองสบู่ 2 ชั้นที่มีน้ำอยู่ตรงกลาง

                                  แหล่งภาพ : wwwchem.csustan.edu
                                                       

                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                       
                                                                                             
                                  เปรียบเทียบขนาดของฟองสบู่กับถุงไลโพโซม

                                       แหล่งภาพ : articles.mercola.com




_12-07(001-088)P5.indd 4                                                                         8/18/12 9:09:58 PM
ตอนที่สอง
                              เรื่องน่ารู
                                         ้
                           ในการทำฟองสบู่
                              ไว้เล่นเอง




_12-07(001-088)P5.indd 5                     8/18/12 9:10:01 PM
… เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่

             1. อะไรสามารถเป็นน้ำสบู่สำหรับเป่าฟองได้บ้าง
                    สารเคมีที่หาง่ายและอยู่รอบ ๆ ตัว สามารถเป็นน้ำสบู่สำหรับเป่าฟอง
             โดยเรียงลำดับความนิยม ได้แก่ อันดับหนึ่ง น้ำยาล้างจาน อันดับสอง ผง
             ซักฟอก อันดับสาม เศษสบู่ และอันดับสี่ แชมพูสระผม เมื่อนำมาผสมกับน้ำ

             ในสัดส่วนที่เหมาะสมทำให้เกิดฟองสบู่ได้ (ในที่นี้เราจะเรียกฟองสบู่ทั้งหมด 

             ไม่ว่าจะเกิดจากสารเคมีที่แตกต่างกัน อาจจะเป็นน้ำยาล้างจาน ผงซักฟอก 

             เศษสบู่ และแชมพูสระผม) 

             2. ข้อแนะนำสูตรเทคนิคการทำฟองสบู่แบบเจ๋ง ๆ
                    1)			เติมน้ำตาลทรายลงไปในน้ำสบู่จะช่วยให้ฟองสบู่แข็งแรง อยู่ได้นาน
             มากขึ้น
                      2)			ใส่กลีเซอรีนลงไปในน้ำสบู่จะช่วยให้ฟองสบู่แข็งแรงและใหญ่ขึ้น
                   3)			ใส่ผงเจละตินลงไปในน้ำสบู่ก็จะช่วยทำให้ฟองสบู่แข็งแรงและอยู่

             ได้นานขึ้น
                    4)			ความเข้ ม ข้ น ของน้ ำ สบู่ ก็ มี ผ ลต่ อ คุ ณ ภาพฟองสบู่ โดยถ้ า ความ


             เข้มข้นน้ำสบู่เจือจางเกินไปจะทำให้ฟองสบู่แตกง่าย แต่ถ้าความเข้มข้นน้ำสบู่
             มากเกินไป ฟองสบู่จะมีจำนวนมากขึ้น แต่ฟองสบู่จะหนักแล้วไม่ค่อยลอย
                     5)			น้ำสบู่ที่ผสมได้วางทิ้งค้างคืนสัก 1 คืน ฟองสบู่จะแข็งแรงมากกว่า
             น้ำสบู่ที่ผสมแล้วนำมาใช้เลย 
                  6)			ถ้าอยากให้ฟองสบู่แตกยาก ให้นำน้ำสบู่ที่ผสมได้ไปแช่ในตู้เย็น
             ประมาณ 1 คืน




_12-07(001-088)P5.indd 6                                                                            8/18/12 9:10:04 PM
ตอนที่สอง เรื่องน่ารูในการทำฟองสบู่ไว้เล่นเอง … 
                                                              ้

                          7)			พันกำมะหยี่หรือไหมพรมบริเวณโครงที่ต้องการทำฟองสบู่ จะช่วย
                  ทำให้ชุ่มน้ำและเกิดเป็นแผ่นฟิล์มหรือฟองสบู่ได้ฟองโตมากขึ้น 
                         8)			ถ้ า สามารถทำแผ่ น ฟิ ล์ ม ฟองสบู่ ไ ด้ ก ว้ า งเท่ า ไร ก็ จ ะได้ ฟ องสบู่

                  ลูกโตได้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น เราอาจทำโครงลวดโครงใหญ่ ๆ เช่น นำโครงลวด


                  ไม้แขวนเสื้อ หรือนำหลอดดูดมาตัดปลายเป็นแฉก ๆ และหักปลายให้แบน ๆ 

                  ก็จะได้ฟองสบู่ลูกโตมากขึ้น
                        9)			ถ้าเป่าฟองสบู่ช่วงหลังฝนตก ในอากาศจะมีความชื้นสัมพัทธ์สูง น้ำ
                  ระเหยช้า ฟองสบู่จะแตกยาก แต่ถ้าช่วงหน้าหนาว อากาศแห้ง ฟองสบู่จะ


                  แตกง่ายกว่า
                        10)		ไม่ควรตีน้ำสบู่ให้เกิดฟองสบู่มากเกินไป เพราะจะทำให้ฟองสบู
่
                  มีคุณภาพลดลง ถ้าเกิดฟองสบู่ในน้ำสบู่มาก ๆ ให้ตักออก

                  3.	น้ำยาที่ใช้ทำฟองสบู่ 
                         น้ำยาที่ใช้ทำฟองสบู่ต้องไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น ไม่ใช้น้ำยา
                  ทำความสะอาดที่รุนแรง เพราะอาจพลั้งเผลอใช้หลอดดูดเข้าปากหรือสัมผัส
                  ผิวหนังแล้วเกิดอันตรายได้ 

                                          ตัวอย่างสูตรการทำฟองสบู่
                         การผสมน้ำสบู่สำหรับทำฟองสบู่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ท่านผู้อ่าน
                  สามารถดัดแปลงจากสูตรที่หลากหลายในหน้า 8 นี้ อาจผสมเพิ่มเติมและ


                  ค่อยสังเกตว่า ถ้าใส่อะไรเพิ่มแล้วฟองจะมีขนาดใหญ่และแข็งแรง ท้ายที่สุด 

                  เราอาจมีเคล็ดลับสูตรฟองสบู่ดี ๆ ไว้ใช้เองได้อย่างน่าภูมิใจ




_12-07(001-088)P5.indd 7                                                                             8/18/12 9:10:08 PM
… เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่

                                             
                                      สูตรใส่
            สูตรใส่

                                                                 
                สูตรธรรมดา
                                                      สูตรใส่สี
                                      น้ำตาล
            กลีเซอรีน
                น้ำยาล้างจาน 

    น้ำยาล้างจาน 

     น้ำยาล้างจาน 

      ผงซักฟอก 

                                                                                     
                   2 ช้อนโต๊ะ
        2 ช้อนโต๊ะ
         2 ช้อนโต๊ะ
         2 ช้อนโต๊ะ

                น้ำ 1 ถ้วยตวง
     น้ำ 1 ถ้วยตวง
      น้ำ 1 ถ้วยตวง
       แป้งมัน 1 ช้อนโต๊ะ

                -
                 น้ำเชื่อม 

                                             
         กลีเซอรีน 

                                                                 
          น้ำสี 1 ถ้วยตวง
                                      1 ช้อนโต๊ะ
        1 ช้อนโต๊ะ


                                            
                                     สูตรใส่
          สูตรใส่
                                                              

                สูตรใส่ผงวุ้น
                                                 สูตรใส่สี
                                  น้ำตาลทราย
         กลีเซอรีน
                สบู่ 1 ส่วน
      	เศษสบู่ 
                                           
         น้ำยาล้างจาน 
 เศษสบู่ 5 กรัม
                                                                  
                                     1 ช้อนโต๊ะ
        4 ส่วน

                น้ำ 1 ส่วน
       น้ำอุ่น 1 แก้ว
    น้ำ 4 ส่วน
         น้ำอุ่น 200 มิลลิลิตร

                ผงวุ้น 1 ส่วน
    น้ำตาลทราย 
  
    กลีเซอรีน 

                                                               
         น้ำสี 1 ช้อนโต๊ะ
                                     1 ช้อนโต๊ะ
       1 ส่วน




_12-07(001-088)P5.indd 8                                                                          8/18/12 9:10:10 PM
ตอนที่สาม
                           เกมสนุกกับ
                           ฟองสบู่


_12-07(001-088)P5.indd 9                  8/18/12 9:10:12 PM
10 … เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่

                            1. เกม “ฟองสบู่ผู้พิทักษ์เจ้าหญิงดอกไม้”
                       ชวนมาเล่นกัน : หากใครเคยชมภาพยนตร์เรื่องโฉมงามกับอสูร (Beauty
             and The Beast) แล้วละก็ คงจำฉากตอนที่เจ้าชายจอมเกเรถูกสาปให้เป็น

             อสูรน่าเกลียดนั้น เขาจะมีของรักของหวงคือโหลแก้วที่มีดอกกุหลาบอยู่ข้างใน
             แต่น่าสงสารตรงที่กลีบดอกจะค่อย ๆ ร่วงโรยไปหากเจ้าชายไม่มีใครมารักอย่าง
             แท้จริง หากกลีบกุหลาบร่วงหมด เจ้าชายก็จะสิ้นชีวิตไป แต่สำหรับกิจกรรม


             ครั้งนี้ เราจะลองทำเจ้าหญิงดอกไม้ที่ห้อมล้อมด้วยฟิล์มฟองสบู่ ซึ่งดูน่ารัก

             ไม่แพ้ดอกกุหลาบในโหลแก้วของเจ้าชายทีเดียว
                      
                                                   เตรียมอะไรบ้าง
                      ✔	 กรวยที่ใช้รินน้ำ
                      ✔	 จานก้นลึก

                      ✔	 ดอกไม้สวย ๆ

                      ✔	 ผงซักฟอก แชมพู หรือสบู่ ที่จะนำมาทำฟองสบู่

                      
                                     มาสนุกกับการทดลอง                     
             ขั้นแรก	    ค่อย ๆ เทน้ำสบู่ลงบนจานให้ลึกประมาณครึ่งเซนติเมตร จากนั้น

                         นำดอกไม้ที่เตรียมมาวางกลางจานจำนวน 1 ดอก
             ขั้นที่สอง	 ครอบดอกไม้ ด้ ว ยกรวย พยายามวางให้ อ ยู่ ต รงกลางจาน และ


                         ค่อย ๆ ยกกรวยขึ้นอย่างเบา ๆ เราจะสังเกตเห็นมีฟิล์มฟองสบู่

                         อยู่ระหว่างกรวยกับจาน
             ขั้นที่สาม	 เป่ า ที่ ป ลายหลอดของกรวยแล้ ว จะเห็ น มี ฟ องสบู่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ได้

                         ฟองสบู่ ข นาดใหญ่ เ ท่ า ที่ ต้ อ งการ เราจะดึ ง กรวยออก ช่ ว งเวลา






_12-07(001-088)P5.indd 10                                                                               8/18/12 9:10:19 PM

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2Khunnawang Khunnawang
 
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4 6
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4   6แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4   6
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4 6ทับทิม เจริญตา
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา Wee Angela
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 

Tendances (20)

แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4 6
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4   6แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4   6
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ ป. 4 6
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
 
แบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียนแบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียน
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่  2โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่  2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 

En vedette

รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก TODSAPRON TAWANNA
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556TODSAPRON TAWANNA
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
Rainbow lipstick
Rainbow lipstickRainbow lipstick
Rainbow lipsticksarwsw
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
Lipstick production process
Lipstick production processLipstick production process
Lipstick production processTrung Milanô
 

En vedette (8)

รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
Rainbow lipstick
Rainbow lipstickRainbow lipstick
Rainbow lipstick
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
Lipstick production process
Lipstick production processLipstick production process
Lipstick production process
 

Plus de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330110

  • 1. ตอนที่หนึ่ง มารู้จัก กับฟองสบู่ กันดีกว่า _12-07(001-088)P5.indd 1 8/18/12 9:09:46 PM
  • 2. … เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่ เพื่อน ๆ รู้ไหม… ฟองสบู่คืออะไรกันนะ… บางคนบอกว่า ก็เป็นฟองกลม ๆ ใส ๆ มีประกายสีรุ้งเคลือบใส บางคนก็บอกว่า ก็เจ้าฟองที่เกิดจากการเป่าน้ำสบู่นั้นไงล่ะ บางคนก็บอกว่า อ๋อ…มันเป็นของเล่นสมัยเด็ก ๆ ที่เป่าเล่น และวิ่งไล่จับ ฟองกันกับเพื่อน ๆ สนุกดีนะ เด็ก ๆ สร้างสรรค์ฟองสบู่จากของใช้รอบตัว เช่น ไม้แขวนเสื้อ เด็ก ๆ สามารถเล่นและเรียนรู้ร่วมกันผ่านฟองสบู่ _12-07(001-088)P5.indd 2 8/18/12 9:09:51 PM
  • 3. ตอนที่หนึ่ง มารู้จักกับฟองสบู่กันดีกว่า … ฟองสบู่ส่วนใหญ่จะเกิดจากของเหลวที่ผสมสารลดแรงตึงผิวอยู่ เช่น ในน้ ำ สบู่ ผงซั ก ฟอก น้ ำ ยาล้ า งจาน เพราะสารดั ง กล่ า วจะทำให้ แ รงดึ ง ดู ด ระหว่างโมเลกุลน้ำลดลง แต่ก็ยังมีแรงที่ให้เกาะกันเป็นแผ่นบาง ๆ ฟองสบู่ เ ป็ น ฟิ ล์ ม บางเฉี ย บขนาด 0.1-10 ไมครอน มี ข นาดเล็ ก จิ๋ ว ประมาณหนึ่งในพันของเส้นผมคนเราที่มีขนาดเส้นผมเฉลี่ยในช่วง 60-120 ไมครอนเลยทีเดียว ส่วนใหญ่ฟองสบู่จะมีรูปร่างทรงกลมหรือแผ่นฟิล์มบาง ๆ เพราะช่วยลดพลังงานอิสระของพื้นผิวได้ดีที่สุด เราเคยสงสัยไหมว่า ทำไม ฟองสบู่บางขนาดนี้แต่ก็ยังรักษารูปทรงอยู่ได้ เพราะมันมีโครงสร้างการเรียงตัว ชิดกันคล้ายแซนวิชขนาบ 2 ด้านล้อมรอบน้ำไว้ดังภาพ โมเลกุ ล ของฟองสบู่ มี คุ ณ สมบั ติ ท างเคมี ส ำคั ญ ที่ ป ระกอบไปด้ ว ย 2 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนหัวและส่วนหาง ส่วนหัวจะชอบน้ำ ส่วนหางจะไม่ชอบ น้ำ ดังแสดงในภาพวาดโมเลกุลของฟองสบู่ที่ประกอบไปด้วยโมเลกุลเล็ก ๆ หน้าตาคล้ายลูกอ๊อด หัวลูกอ๊อดจะจุ่มอยู่กับน้ำ ส่วนหางจะหนีห่างจากน้ำ โครงสร้างทางเคมีของฟองสบู่ประกอบไปด้วยส่วนหัวที่ชอบน้ำและส่วนหางที่ไม่ชอบน้ำ แหล่งภาพ : pbs.org _12-07(001-088)P5.indd 3 8/18/12 9:09:55 PM
  • 4. … เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่ ภาพตัดขวางของฟองสบู่แสดงชั้นโมเลกุลฟองสบู่ 2 ชั้นที่มีน้ำอยู่ตรงกลาง แหล่งภาพ : wwwchem.csustan.edu เปรียบเทียบขนาดของฟองสบู่กับถุงไลโพโซม แหล่งภาพ : articles.mercola.com _12-07(001-088)P5.indd 4 8/18/12 9:09:58 PM
  • 5. ตอนที่สอง เรื่องน่ารู ้ ในการทำฟองสบู่ ไว้เล่นเอง _12-07(001-088)P5.indd 5 8/18/12 9:10:01 PM
  • 6. … เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่ 1. อะไรสามารถเป็นน้ำสบู่สำหรับเป่าฟองได้บ้าง สารเคมีที่หาง่ายและอยู่รอบ ๆ ตัว สามารถเป็นน้ำสบู่สำหรับเป่าฟอง โดยเรียงลำดับความนิยม ได้แก่ อันดับหนึ่ง น้ำยาล้างจาน อันดับสอง ผง ซักฟอก อันดับสาม เศษสบู่ และอันดับสี่ แชมพูสระผม เมื่อนำมาผสมกับน้ำ ในสัดส่วนที่เหมาะสมทำให้เกิดฟองสบู่ได้ (ในที่นี้เราจะเรียกฟองสบู่ทั้งหมด ไม่ว่าจะเกิดจากสารเคมีที่แตกต่างกัน อาจจะเป็นน้ำยาล้างจาน ผงซักฟอก เศษสบู่ และแชมพูสระผม) 2. ข้อแนะนำสูตรเทคนิคการทำฟองสบู่แบบเจ๋ง ๆ 1) เติมน้ำตาลทรายลงไปในน้ำสบู่จะช่วยให้ฟองสบู่แข็งแรง อยู่ได้นาน มากขึ้น 2) ใส่กลีเซอรีนลงไปในน้ำสบู่จะช่วยให้ฟองสบู่แข็งแรงและใหญ่ขึ้น 3) ใส่ผงเจละตินลงไปในน้ำสบู่ก็จะช่วยทำให้ฟองสบู่แข็งแรงและอยู่ ได้นานขึ้น 4) ความเข้ ม ข้ น ของน้ ำ สบู่ ก็ มี ผ ลต่ อ คุ ณ ภาพฟองสบู่ โดยถ้ า ความ เข้มข้นน้ำสบู่เจือจางเกินไปจะทำให้ฟองสบู่แตกง่าย แต่ถ้าความเข้มข้นน้ำสบู่ มากเกินไป ฟองสบู่จะมีจำนวนมากขึ้น แต่ฟองสบู่จะหนักแล้วไม่ค่อยลอย 5) น้ำสบู่ที่ผสมได้วางทิ้งค้างคืนสัก 1 คืน ฟองสบู่จะแข็งแรงมากกว่า น้ำสบู่ที่ผสมแล้วนำมาใช้เลย 6) ถ้าอยากให้ฟองสบู่แตกยาก ให้นำน้ำสบู่ที่ผสมได้ไปแช่ในตู้เย็น ประมาณ 1 คืน _12-07(001-088)P5.indd 6 8/18/12 9:10:04 PM
  • 7. ตอนที่สอง เรื่องน่ารูในการทำฟองสบู่ไว้เล่นเอง … ้ 7) พันกำมะหยี่หรือไหมพรมบริเวณโครงที่ต้องการทำฟองสบู่ จะช่วย ทำให้ชุ่มน้ำและเกิดเป็นแผ่นฟิล์มหรือฟองสบู่ได้ฟองโตมากขึ้น 8) ถ้ า สามารถทำแผ่ น ฟิ ล์ ม ฟองสบู่ ไ ด้ ก ว้ า งเท่ า ไร ก็ จ ะได้ ฟ องสบู่ ลูกโตได้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น เราอาจทำโครงลวดโครงใหญ่ ๆ เช่น นำโครงลวด ไม้แขวนเสื้อ หรือนำหลอดดูดมาตัดปลายเป็นแฉก ๆ และหักปลายให้แบน ๆ ก็จะได้ฟองสบู่ลูกโตมากขึ้น 9) ถ้าเป่าฟองสบู่ช่วงหลังฝนตก ในอากาศจะมีความชื้นสัมพัทธ์สูง น้ำ ระเหยช้า ฟองสบู่จะแตกยาก แต่ถ้าช่วงหน้าหนาว อากาศแห้ง ฟองสบู่จะ แตกง่ายกว่า 10) ไม่ควรตีน้ำสบู่ให้เกิดฟองสบู่มากเกินไป เพราะจะทำให้ฟองสบู ่ มีคุณภาพลดลง ถ้าเกิดฟองสบู่ในน้ำสบู่มาก ๆ ให้ตักออก 3. น้ำยาที่ใช้ทำฟองสบู่ น้ำยาที่ใช้ทำฟองสบู่ต้องไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น ไม่ใช้น้ำยา ทำความสะอาดที่รุนแรง เพราะอาจพลั้งเผลอใช้หลอดดูดเข้าปากหรือสัมผัส ผิวหนังแล้วเกิดอันตรายได้ ตัวอย่างสูตรการทำฟองสบู่ การผสมน้ำสบู่สำหรับทำฟองสบู่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ท่านผู้อ่าน สามารถดัดแปลงจากสูตรที่หลากหลายในหน้า 8 นี้ อาจผสมเพิ่มเติมและ ค่อยสังเกตว่า ถ้าใส่อะไรเพิ่มแล้วฟองจะมีขนาดใหญ่และแข็งแรง ท้ายที่สุด เราอาจมีเคล็ดลับสูตรฟองสบู่ดี ๆ ไว้ใช้เองได้อย่างน่าภูมิใจ _12-07(001-088)P5.indd 7 8/18/12 9:10:08 PM
  • 8. … เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่ สูตรใส่ สูตรใส่ สูตรธรรมดา สูตรใส่สี น้ำตาล กลีเซอรีน น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างจาน ผงซักฟอก 2 ช้อนโต๊ะ 2 ช้อนโต๊ะ 2 ช้อนโต๊ะ 2 ช้อนโต๊ะ น้ำ 1 ถ้วยตวง น้ำ 1 ถ้วยตวง น้ำ 1 ถ้วยตวง แป้งมัน 1 ช้อนโต๊ะ - น้ำเชื่อม กลีเซอรีน น้ำสี 1 ถ้วยตวง 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ สูตรใส่ สูตรใส่ สูตรใส่ผงวุ้น สูตรใส่สี น้ำตาลทราย กลีเซอรีน สบู่ 1 ส่วน เศษสบู่ น้ำยาล้างจาน เศษสบู่ 5 กรัม 1 ช้อนโต๊ะ 4 ส่วน น้ำ 1 ส่วน น้ำอุ่น 1 แก้ว น้ำ 4 ส่วน น้ำอุ่น 200 มิลลิลิตร ผงวุ้น 1 ส่วน น้ำตาลทราย กลีเซอรีน น้ำสี 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 1 ส่วน _12-07(001-088)P5.indd 8 8/18/12 9:10:10 PM
  • 9. ตอนที่สาม เกมสนุกกับ ฟองสบู่ _12-07(001-088)P5.indd 9 8/18/12 9:10:12 PM
  • 10. 10 … เรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นสนุกกับฟองสบู่ 1. เกม “ฟองสบู่ผู้พิทักษ์เจ้าหญิงดอกไม้” ชวนมาเล่นกัน : หากใครเคยชมภาพยนตร์เรื่องโฉมงามกับอสูร (Beauty and The Beast) แล้วละก็ คงจำฉากตอนที่เจ้าชายจอมเกเรถูกสาปให้เป็น อสูรน่าเกลียดนั้น เขาจะมีของรักของหวงคือโหลแก้วที่มีดอกกุหลาบอยู่ข้างใน แต่น่าสงสารตรงที่กลีบดอกจะค่อย ๆ ร่วงโรยไปหากเจ้าชายไม่มีใครมารักอย่าง แท้จริง หากกลีบกุหลาบร่วงหมด เจ้าชายก็จะสิ้นชีวิตไป แต่สำหรับกิจกรรม ครั้งนี้ เราจะลองทำเจ้าหญิงดอกไม้ที่ห้อมล้อมด้วยฟิล์มฟองสบู่ ซึ่งดูน่ารัก ไม่แพ้ดอกกุหลาบในโหลแก้วของเจ้าชายทีเดียว เตรียมอะไรบ้าง ✔ กรวยที่ใช้รินน้ำ ✔ จานก้นลึก ✔ ดอกไม้สวย ๆ ✔ ผงซักฟอก แชมพู หรือสบู่ ที่จะนำมาทำฟองสบู่ มาสนุกกับการทดลอง ขั้นแรก ค่อย ๆ เทน้ำสบู่ลงบนจานให้ลึกประมาณครึ่งเซนติเมตร จากนั้น นำดอกไม้ที่เตรียมมาวางกลางจานจำนวน 1 ดอก ขั้นที่สอง ครอบดอกไม้ ด้ ว ยกรวย พยายามวางให้ อ ยู่ ต รงกลางจาน และ ค่อย ๆ ยกกรวยขึ้นอย่างเบา ๆ เราจะสังเกตเห็นมีฟิล์มฟองสบู่ อยู่ระหว่างกรวยกับจาน ขั้นที่สาม เป่ า ที่ ป ลายหลอดของกรวยแล้ ว จะเห็ น มี ฟ องสบู่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ได้ ฟองสบู่ ข นาดใหญ่ เ ท่ า ที่ ต้ อ งการ เราจะดึ ง กรวยออก ช่ ว งเวลา _12-07(001-088)P5.indd 10 8/18/12 9:10:19 PM