SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา
รหัสวิชา		 AR1104
รายวิชา	 	 การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ 	
      	 	 	 (Collage Design)

3 (2–2)

ค�ำอธิบายรายวิชา
	
ศึกษาและปฏิบตการออกแบบเศษวัสดุเพือใช้เป็นของใช้ในชีวตประจ�ำวัน
ั ิ
่
ิ
โดยเน้นความคิด ความคิดสร้างสรรค์ และคุณค่า ทั้งทางด้านรูปแบบและ
วิธีการในการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ทั่วไป
	
1.		 เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความส� ำ คั ญ ของ
การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
	
2.		 เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกใช้เศษวัสดุเหลือใช้ แล้วน�ำมาพัฒนา
และสร้างสรรค์งานออกแบบขึ้นใหม่ได้อย่างเหมาะสม
	
3.		 เพื่อน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป

เนื้อหา
บทที่ 1	
	
	
	
	
	
	
	
	

บทน�ำ	
4  ชั่วโมง
ความส�ำคัญของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
จุดมุ่งหมายของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
ประเภทของเศษวัสดุเหลือใช้
คุณค่าและประโยชน์ของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ

บทที่ 2	 การออกแบบ	
	
	 ความหมายของการออกแบบ

_13-07(001-026)P5.indd 1

4  ชั่วโมง

11/8/13 9:08 AM
แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ)
	
	
	
	
	
	

	
	
	
	
	
	

บทที่ 3	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	

กลวิธีของการออกแบบ
ชนิดของการออกแบบ                
สิ่งที่ควรจะต้องค�ำนึงถึงในการออกแบบ
ความจ�ำเป็นที่ต้องมีการออกแบบ
การออกแบบที่ดี
คุณสมบัติพื้นฐานของนักออกแบบที่ดี
การสร้างสรรค์	
ความหมายของการสร้างสรรค์
ประวัติความเป็นมาของความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการคิดสร้างสรรค์
ชนิดของงานสร้างสรรค์
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์กับการออกแบบ
ลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์  

บทที่ 4	 ความส�ำคัญของวัสดุอุปกรณ์ 	
	
	 เครื่องมือที่ใช้ในงานประดิษฐ์
	
	 วิธีประดิษฐ์ภาพจากเศษวัสดุ
บทที่ 5	
	
	
	
	
	
	

_13-07(001-026)P5.indd 2

องค์ประกอบศิลป์และการใช้สี	
ความส�ำคัญขององค์ประกอบศิลป์
ความส�ำคัญของสี
หลักการออกแบบ

4  ชั่วโมง

4  ชั่วโมง

8  ชั่วโมง

11/8/13 9:08 AM
แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ)
บทที่ 6	
	
	
	
	
	
	

วัสดุธรรมชาติ 	
พืช
สัตว์       
แร่ธาตุ

12  ชั่วโมง

บทที่ 7	
	
	
	
	
	
	

วัสดุธรรมชาติกึ่งสังเคราะห์	
พืช
สัตว์       
แร่ธาตุ                    

12  ชั่วโมง

บทที่ 8	
	
	
	
	
	
	

วัสดุสังเคราะห์ 	
กลุ่มพลาสติกแบบบาง
กลุ่มพลาสติกแบบกึ่งอ่อนกึ่งแข็ง
กลุ่มพลาสติกแบบแข็ง

12 ชั่วโมง

วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
	
1.		 บรรยายรายละเอียดของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในแต่ละบทจากเอกสาร
ประกอบการสอน
	
2.		 สร้างสรรค์และปฏิบัติงานออกแบบจากเศษวั สดุ เ รี ยงตามหั ว ข้ อ
ตามล�ำดับ
	
3.		 น�ำเสนอผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน
	
4.		 วิจารณ์และให้ข้อเสนอแนะในการท�ำงานครั้งต่อไป
	
5.		 เตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อปฏิบัติงานในสัปดาห์ถัดไป

_13-07(001-026)P5.indd 3

11/8/13 9:08 AM
แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ)
สื่อการเรียนการสอน
	
1.		 เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
	
2.		 ภาพประกอบจากหนังสือ นิตยสาร วารสาร และสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ
	
3.		 ภาพประกอบจาก Power Point
	
4.		 ตัวอย่างผลงานที่ส�ำเร็จของนักศึกษาที่ผ่านมา
	
5.		 ภาพประกอบจาก Internet
การวัดผลและการประเมินผล
	
การวัดผล
	
1.		 คะแนนระหว่างภาคเรียน	
	
	 	 1.1	 จิตพิสัย	
	
	 	 1.2	 ผลงานปฏิบัติ 	
	
	 	 1.3	 สอบกลางภาคเรียน	
	
2.		 คะแนนสอบปลายภาคเรียน	
	

80 %
10 %
60 %
10 %
20 %

การประเมินผล
ช่วงคะแนน

ระดับผลการเรียน

คะแนนระหว่าง  80–100

ได้ระดับ  A

คะแนนระหว่าง  75–79

ได้ระดับ  B+

คะแนนระหว่าง  70–74

ได้ระดับ  B

คะแนนระหว่าง  65–69

ได้ระดับ  C+

คะแนนระหว่าง  60–64

ได้ระดับ  C

	

_13-07(001-026)P5.indd 4

11/8/13 9:08 AM
แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ)
ช่วงคะแนน

ระดับผลการเรียน

คะแนนระหว่าง  55-59
คะแนนระหว่าง  50-54

ได้ระดับ  D

คะแนนระหว่าง  0-49

_13-07(001-026)P5.indd 5

ได้ระดับ  D+
ได้ระดับ E หรือ F

11/8/13 9:08 AM
_13-07(001-026)P5.indd 6

11/8/13 9:08 AM
แผนบริหารการสอนประจ�ำบทที่ 1
หัวข้อเนื้อหาประจ�ำบท
ความส�ำคัญของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
จุดมุ่งหมายของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
ประเภทของเศษวัสดุเหลือใช้
คุณค่าและประโยชน์ของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.		เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความส� ำ คั ญ ของการ
ออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
2.		เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ จุ ด มุ ่ ง หมายของการ
ออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
3.		เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า และประโยชน์ ข องการออกแบบ
สร้างสรรค์เศษวัสดุ
วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจ�ำบท
1.		บรรยายรายละเอียดของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องจากเอกสารประกอบการสอน
2.		ดูภาพประกอบการบรรยายจาก Power Point
3.		นักศึกษาตอบค�ำถามท้ายบท                  
4.		นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความส�ำคัญของการออกแบบ
สร้างสรรค์เศษวัสดุจาก Internet
สื่อการเรียนการสอน
1.		เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
2.		ภาพประกอบจากหนังสือ นิตยสาร วารสาร และสิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ
3.		ภาพประกอบจาก Power Point
4.		ภาพประกอบจาก Internet

_13-07(001-026)P5.indd 7

11/8/13 9:08 AM
แผนบริหารการสอนประจ�ำบทที่ 1 (ต่อ)
การวัดผลและการประเมินผล
1.		การซั ก ถาม และการร่ ว มอภิ ป รายเพื่ อ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ใน
ชั้นเรียน
2.		การตอบค�ำถามท้ายบท
3.		การตรวจงานผลการค้ น คว้ า หาความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ความส� ำ คั ญ
ของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ

_13-07(001-026)P5.indd 8

11/8/13 9:08 AM
บทน�ำ
ในปั จ จุ บั น ปั ญ หาภาวะโลกร้ อ นก� ำ ลั ง ลุ ก ลามไปทั่ ว โลกก็ เ ป็ น เพราะ
มนุษย์ได้ท�ำลายความเป็นธรรมชาติและขณะเดียวกันก็สร้างสิ่งสังเคราะห์ขึ้นมา
เป็นจ�ำนวนมาก  ส่งผลให้เกิดขยะทับถมมหาศาล ดังที่ภาสุรี ฮามวงศ์ (2552 :
ค�ำน�ำ) กล่าวว่า ปัญหาสังคมในปัจจุบัน คือ มีขยะจ�ำนวนมากที่ไม่สามารถ
ก� ำ จั ด ได้ ห มด หากเราร่ ว มมื อ กั น ลดการใช้ วั ส ดุ ที่ ผ ลิ ต ใหม่ เ หล่ า นี้ ด ้ ว ยการ
สร้างสรรค์เศษวัสดุเหลือใช้ขึ้นเองโดยน�ำเศษเหลือใช้ท่ีมีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก
ตามแหล่งต่าง ๆ ก็จะเป็นการช่วยลดภาวะโลกร้อนลงได้อีกวิธีหนึ่ง อีกทั้ง
ยั ง เป็ น การแก้ ป ั ญ หาด้ ว ยปั ญ ญาด้ า นความคิ ด สร้ า งสรรค์ อี ก ด้ ว ยดั ง ภาพ
ที่ 1.1 และ 1.2

	
	

_13-07(001-026)P5.indd 9

ภาพที่ 1.1  กองขยะพลาสติก	
ภาพที่ 1.2  กองขยะ
ในประเทศอินเดีย	
ในประเทศจีน
ที่มา (www.prachatai.com/journal/2007/01/11427, 31 มกราคม 2550)

11/8/13 9:08 AM
10 … 	

การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ

ความส�ำคัญของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ
จากความตื่ น กลั ว ต่ อ ภาวะโลกร้ อ นที่ ก� ำ ลั ง แผ่ ข ยายเป็ น วงกว้ า ง
ทั่วโลกนั้น ทั้งในต่างประเทศและประเทศไทยต่างก็มีนักวิชาการ หน่วยงาน
ของภาครัฐและเอกชนที่ตอบรับและให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง ดังจะกล่าวถึง
ต่อไปนี้   
ศิริวรรณ เวชวิทย์ (2553 : 59) กล่าวถึงความหมายของเศษวัสดุว่า
หมายถึง เศษของวัตถุสิ่งของต่าง ๆ ทีเหลือใช้แล้ว  ไม่สามารถน�ำมาท�ำประโยชน์
่
อย่างอื่นได้ เช่น เศษผ้า กระดาษ ไหมพรม ส�ำลี ฟองน�้ำ  ไม้ โลหะ และก้อนหิน
เป็นต้น สิ่งของเหล่านี้ถึงแม้จะไร้ประโยชน์แล้ว แต่ก็ยังมีคุณค่าด้านความงาม
แฝงอยู่ในตัวของมันเอง เช่น ลักษณะของรูปทรง (Form) พื้นผิว (Texture)
และสี (Color) สิ่งเหล่านี้สามารถน�ำมาจินตนาการสร้างสรรค์ก่อให้เกิดเป็น
งานศิลปะได้ โดยเลือกใช้เศษวัสดุต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับรูปร่างที่สร้างสรรค์
สิงห์ อินทรชูโต (2552 : 76–114) หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการฝ่ายออกแบบของบริษัท Osisu   
นอกจากนี้ยังได้รับรางวัล Emerging Designer of the Year 2007 จาก
มหาวิทยาลัยศิลปากร รางวัล Elle Décor Design of the Year 2007 และ
รางวัลสุดยอดนักสิ่งแวดล้อม 2008 จากกรุงเทพมหานคร กล่าวถึงการน�ำ
สิ่งของเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ หรือ Reuse ว่า สิ่งแตกต่างที่ส�ำคัญในการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งกับการออกแบบโดยทั่วไป คือ ต้องเริ่ม
จากเศษวัสดุเหลือทิ้ง ต้องเห็นเศษวัสดุนั้นก่อน เพื่อที่จะหาว่ามีวิธีประกอบ
อย่างไร  มันจะกลายเป็นอะไรได้บ้าง  ซึ่งจะปรับเปลี่ยนได้หลายแบบ  ไม่เหมือน
กับวัสดุใหม่ที่เราตั้งใจซื้อมาเพื่อท�ำผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบไว้แล้ว การออกแบบ
จากเศษที่เก็บมาได้ เช่น ฝาขวดน�้ำเปล่า อาจน�ำมาท�ำเป็นก้นกระเป๋า ลิปสติก  
ไส้ปากกา อาจน�ำมาท�ำเป็นที่นั่ง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เริ่มคิดจากเศษเหลือทิ้ง
ทั้งสิ้น ขยะหนึ่งชิ้น แต่ละคนอาจมีมุมมองต่อการออกแบบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่
กับพื้นฐานความถนัดและสัญชาตญาณพื้นฐาน เศษผ้าชิ้นเดียวกันสถาปนิก

_13-07(001-026)P5.indd 10

11/8/13 9:08 AM

Contenu connexe

Similaire à 9789740331674

Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้
Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้
Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้Ploykarn Lamdual
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Dook dik
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mos44854
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 

Similaire à 9789740331674 (20)

Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้
Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้
Craft - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 

Plus de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331674

  • 1. แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา รหัสวิชา AR1104 รายวิชา การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ (Collage Design) 3 (2–2) ค�ำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตการออกแบบเศษวัสดุเพือใช้เป็นของใช้ในชีวตประจ�ำวัน ั ิ ่ ิ โดยเน้นความคิด ความคิดสร้างสรรค์ และคุณค่า ทั้งทางด้านรูปแบบและ วิธีการในการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความส� ำ คั ญ ของ การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกใช้เศษวัสดุเหลือใช้ แล้วน�ำมาพัฒนา และสร้างสรรค์งานออกแบบขึ้นใหม่ได้อย่างเหมาะสม 3. เพื่อน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป เนื้อหา บทที่ 1 บทน�ำ 4 ชั่วโมง ความส�ำคัญของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ จุดมุ่งหมายของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ ประเภทของเศษวัสดุเหลือใช้ คุณค่าและประโยชน์ของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ บทที่ 2 การออกแบบ ความหมายของการออกแบบ _13-07(001-026)P5.indd 1 4 ชั่วโมง 11/8/13 9:08 AM
  • 2. แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ) บทที่ 3 กลวิธีของการออกแบบ ชนิดของการออกแบบ สิ่งที่ควรจะต้องค�ำนึงถึงในการออกแบบ ความจ�ำเป็นที่ต้องมีการออกแบบ การออกแบบที่ดี คุณสมบัติพื้นฐานของนักออกแบบที่ดี การสร้างสรรค์ ความหมายของการสร้างสรรค์ ประวัติความเป็นมาของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ชนิดของงานสร้างสรรค์ องค์ประกอบของการสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์กับการออกแบบ ลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ บทที่ 4 ความส�ำคัญของวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในงานประดิษฐ์ วิธีประดิษฐ์ภาพจากเศษวัสดุ บทที่ 5 _13-07(001-026)P5.indd 2 องค์ประกอบศิลป์และการใช้สี ความส�ำคัญขององค์ประกอบศิลป์ ความส�ำคัญของสี หลักการออกแบบ 4 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 8 ชั่วโมง 11/8/13 9:08 AM
  • 3. แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ) บทที่ 6 วัสดุธรรมชาติ พืช สัตว์ แร่ธาตุ 12 ชั่วโมง บทที่ 7 วัสดุธรรมชาติกึ่งสังเคราะห์ พืช สัตว์ แร่ธาตุ 12 ชั่วโมง บทที่ 8 วัสดุสังเคราะห์ กลุ่มพลาสติกแบบบาง กลุ่มพลาสติกแบบกึ่งอ่อนกึ่งแข็ง กลุ่มพลาสติกแบบแข็ง 12 ชั่วโมง วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยายรายละเอียดของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในแต่ละบทจากเอกสาร ประกอบการสอน 2. สร้างสรรค์และปฏิบัติงานออกแบบจากเศษวั สดุ เ รี ยงตามหั ว ข้ อ ตามล�ำดับ 3. น�ำเสนอผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน 4. วิจารณ์และให้ข้อเสนอแนะในการท�ำงานครั้งต่อไป 5. เตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อปฏิบัติงานในสัปดาห์ถัดไป _13-07(001-026)P5.indd 3 11/8/13 9:08 AM
  • 4. แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ) สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ 2. ภาพประกอบจากหนังสือ นิตยสาร วารสาร และสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ 3. ภาพประกอบจาก Power Point 4. ตัวอย่างผลงานที่ส�ำเร็จของนักศึกษาที่ผ่านมา 5. ภาพประกอบจาก Internet การวัดผลและการประเมินผล การวัดผล 1. คะแนนระหว่างภาคเรียน 1.1 จิตพิสัย 1.2 ผลงานปฏิบัติ 1.3 สอบกลางภาคเรียน 2. คะแนนสอบปลายภาคเรียน 80 % 10 % 60 % 10 % 20 % การประเมินผล ช่วงคะแนน ระดับผลการเรียน คะแนนระหว่าง 80–100 ได้ระดับ A คะแนนระหว่าง 75–79 ได้ระดับ B+ คะแนนระหว่าง 70–74 ได้ระดับ B คะแนนระหว่าง 65–69 ได้ระดับ C+ คะแนนระหว่าง 60–64 ได้ระดับ C _13-07(001-026)P5.indd 4 11/8/13 9:08 AM
  • 5. แผนบริหารการสอนประจ�ำวิชา (ต่อ) ช่วงคะแนน ระดับผลการเรียน คะแนนระหว่าง 55-59 คะแนนระหว่าง 50-54 ได้ระดับ D คะแนนระหว่าง 0-49 _13-07(001-026)P5.indd 5 ได้ระดับ D+ ได้ระดับ E หรือ F 11/8/13 9:08 AM
  • 7. แผนบริหารการสอนประจ�ำบทที่ 1 หัวข้อเนื้อหาประจ�ำบท ความส�ำคัญของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ จุดมุ่งหมายของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ ประเภทของเศษวัสดุเหลือใช้ คุณค่าและประโยชน์ของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความส� ำ คั ญ ของการ ออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ 2. เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ จุ ด มุ ่ ง หมายของการ ออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ 3. เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า และประโยชน์ ข องการออกแบบ สร้างสรรค์เศษวัสดุ วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจ�ำบท 1. บรรยายรายละเอียดของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องจากเอกสารประกอบการสอน 2. ดูภาพประกอบการบรรยายจาก Power Point 3. นักศึกษาตอบค�ำถามท้ายบท 4. นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความส�ำคัญของการออกแบบ สร้างสรรค์เศษวัสดุจาก Internet สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ 2. ภาพประกอบจากหนังสือ นิตยสาร วารสาร และสิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ 3. ภาพประกอบจาก Power Point 4. ภาพประกอบจาก Internet _13-07(001-026)P5.indd 7 11/8/13 9:08 AM
  • 8. แผนบริหารการสอนประจ�ำบทที่ 1 (ต่อ) การวัดผลและการประเมินผล 1. การซั ก ถาม และการร่ ว มอภิ ป รายเพื่ อ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ใน ชั้นเรียน 2. การตอบค�ำถามท้ายบท 3. การตรวจงานผลการค้ น คว้ า หาความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ความส� ำ คั ญ ของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ _13-07(001-026)P5.indd 8 11/8/13 9:08 AM
  • 9. บทน�ำ ในปั จ จุ บั น ปั ญ หาภาวะโลกร้ อ นก� ำ ลั ง ลุ ก ลามไปทั่ ว โลกก็ เ ป็ น เพราะ มนุษย์ได้ท�ำลายความเป็นธรรมชาติและขณะเดียวกันก็สร้างสิ่งสังเคราะห์ขึ้นมา เป็นจ�ำนวนมาก ส่งผลให้เกิดขยะทับถมมหาศาล ดังที่ภาสุรี ฮามวงศ์ (2552 : ค�ำน�ำ) กล่าวว่า ปัญหาสังคมในปัจจุบัน คือ มีขยะจ�ำนวนมากที่ไม่สามารถ ก� ำ จั ด ได้ ห มด หากเราร่ ว มมื อ กั น ลดการใช้ วั ส ดุ ที่ ผ ลิ ต ใหม่ เ หล่ า นี้ ด ้ ว ยการ สร้างสรรค์เศษวัสดุเหลือใช้ขึ้นเองโดยน�ำเศษเหลือใช้ท่ีมีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ตามแหล่งต่าง ๆ ก็จะเป็นการช่วยลดภาวะโลกร้อนลงได้อีกวิธีหนึ่ง อีกทั้ง ยั ง เป็ น การแก้ ป ั ญ หาด้ ว ยปั ญ ญาด้ า นความคิ ด สร้ า งสรรค์ อี ก ด้ ว ยดั ง ภาพ ที่ 1.1 และ 1.2 _13-07(001-026)P5.indd 9 ภาพที่ 1.1 กองขยะพลาสติก ภาพที่ 1.2 กองขยะ ในประเทศอินเดีย ในประเทศจีน ที่มา (www.prachatai.com/journal/2007/01/11427, 31 มกราคม 2550) 11/8/13 9:08 AM
  • 10. 10 … การออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ ความส�ำคัญของการออกแบบสร้างสรรค์เศษวัสดุ จากความตื่ น กลั ว ต่ อ ภาวะโลกร้ อ นที่ ก� ำ ลั ง แผ่ ข ยายเป็ น วงกว้ า ง ทั่วโลกนั้น ทั้งในต่างประเทศและประเทศไทยต่างก็มีนักวิชาการ หน่วยงาน ของภาครัฐและเอกชนที่ตอบรับและให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง ดังจะกล่าวถึง ต่อไปนี้ ศิริวรรณ เวชวิทย์ (2553 : 59) กล่าวถึงความหมายของเศษวัสดุว่า หมายถึง เศษของวัตถุสิ่งของต่าง ๆ ทีเหลือใช้แล้ว ไม่สามารถน�ำมาท�ำประโยชน์ ่ อย่างอื่นได้ เช่น เศษผ้า กระดาษ ไหมพรม ส�ำลี ฟองน�้ำ ไม้ โลหะ และก้อนหิน เป็นต้น สิ่งของเหล่านี้ถึงแม้จะไร้ประโยชน์แล้ว แต่ก็ยังมีคุณค่าด้านความงาม แฝงอยู่ในตัวของมันเอง เช่น ลักษณะของรูปทรง (Form) พื้นผิว (Texture) และสี (Color) สิ่งเหล่านี้สามารถน�ำมาจินตนาการสร้างสรรค์ก่อให้เกิดเป็น งานศิลปะได้ โดยเลือกใช้เศษวัสดุต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับรูปร่างที่สร้างสรรค์ สิงห์ อินทรชูโต (2552 : 76–114) หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการฝ่ายออกแบบของบริษัท Osisu นอกจากนี้ยังได้รับรางวัล Emerging Designer of the Year 2007 จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร รางวัล Elle Décor Design of the Year 2007 และ รางวัลสุดยอดนักสิ่งแวดล้อม 2008 จากกรุงเทพมหานคร กล่าวถึงการน�ำ สิ่งของเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ หรือ Reuse ว่า สิ่งแตกต่างที่ส�ำคัญในการ ออกแบบผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งกับการออกแบบโดยทั่วไป คือ ต้องเริ่ม จากเศษวัสดุเหลือทิ้ง ต้องเห็นเศษวัสดุนั้นก่อน เพื่อที่จะหาว่ามีวิธีประกอบ อย่างไร มันจะกลายเป็นอะไรได้บ้าง ซึ่งจะปรับเปลี่ยนได้หลายแบบ ไม่เหมือน กับวัสดุใหม่ที่เราตั้งใจซื้อมาเพื่อท�ำผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบไว้แล้ว การออกแบบ จากเศษที่เก็บมาได้ เช่น ฝาขวดน�้ำเปล่า อาจน�ำมาท�ำเป็นก้นกระเป๋า ลิปสติก ไส้ปากกา อาจน�ำมาท�ำเป็นที่นั่ง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เริ่มคิดจากเศษเหลือทิ้ง ทั้งสิ้น ขยะหนึ่งชิ้น แต่ละคนอาจมีมุมมองต่อการออกแบบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่ กับพื้นฐานความถนัดและสัญชาตญาณพื้นฐาน เศษผ้าชิ้นเดียวกันสถาปนิก _13-07(001-026)P5.indd 10 11/8/13 9:08 AM