SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
ความหมายของทักษะการปฏิบัติ
และอนุกรมวิธานของทักษะพิสัย
บ ท ที่ 1
	 ในการวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการวัดและประเมินผลการจัด             
การเรียนการสอน หรือเป็นส่วนหนึ่งของการวัดตัวแปรในการวิจัย ผู้ประเมินต้องเข้าใจความหมาย    
ของทักษะการปฏิบัติ รวมถึงศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติ ตลอดจนอนุกรมวิธาน          
ของทักษะพิสัย (psychomotor domain) ซึ่งเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว           
และการปฏิบัติงานต่าง ๆ รายละเอียดในบทนี้จะน�ำเสนอความหมายของทักษะการปฏิบัติ และ        
อนุกรมวิธานของทักษะพิสัย
ความหมายของทักษะการปฏิบัติ
	 ทักษะการปฏิบัติ หมายถึง การเคลื่อนไหวทางกายภาพ การควบคุมการเคลื่อนไหวของ            
ร่างกาย และการใช้ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว (Simpson, 1972) ซึ่งประกอบด้วยการ
เคลื่อนไหวของร่างกายและการประสานสัมพันธ์ของทักษะต่าง ๆ (กมลวรรณ ตังธนกานนท์, 2555)   
ซึ่งอาจเป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายแบบพื้นฐาน (fundamental movement) หรือเป็นการ          
แสดงการปฏิบัติงานตามกระบวนการต่าง ๆ ก็ได้ การพัฒนาทักษะการปฏิบัติจึงต้องอาศัยการ            
ฝึกฝน อย่างไรก็ตาม สุวิมล ว่องวาณิช (2546) ได้สรุปว่า เอกสารที่เกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติมัก  
กล่าวถึงศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้อง 3 ค�ำ ได้แก่ ค�ำว่า “psychomotor skill” ค�ำว่า “practical skill”
และค�ำว่า “performance” ซึ่งมีความหมายเกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติงานเหมือนกัน แต่มี                 
นัยแตกต่างกันเล็กน้อยในรายละเอียด psychomotor skill เน้นการเคลื่อนไหวทางร่างกายแบบ           
พื้นฐานที่เป็นกลไกของอวัยวะและกล้ามเนื้อ ซึ่งอาจเป็นการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ (locomotor
movement) การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ (nonlocomotor) และการเคลื่อนไหวแบบประกอบ        
อุปกรณ์ (manipulative movement) (กมลวรรณ ตังธนกานนท์, 2555) practical skill เน้นการ
ปฏิบัติที่อาศัยความสามารถทางสมองร่วมด้วย และมักเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนเป็นประจ�ำ เช่น ทักษะ
การอ่าน ทักษะการเขียน ทักษะการคิดค�ำนวณ ทักษะการวัดและประเมินผล ส่วน performance      
เน้นการแสดงออกหรือการท�ำงานตามกระบวนการต่าง ๆ ที่อาศัยความสามารถทางสมองร่วมกันกับ
2
จิตใจเพิ่มขึ้นมา นอกเหนือจากการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น การเล่นดนตรี การวาดภาพ ทั้งนี้         
หนังสือเล่มนี้จะน�ำเสนอสาระเกี่ยวกับการวัดและประเมินทั้ง “psychomotor skill” “practical          
skill” และ “performance” โดยจะใช้ค�ำว่า “ทักษะการปฏิบัติ” เป็นค�ำเรียกรวมของค�ำศัพท์ทั้ง           
3 ค�ำดังกล่าว
อนุกรมวิธานของทักษะพิสัย
	 ในการวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ ผู้ประเมินจ�ำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ       
ล�ำดับขั้นของทักษะพิสัย (psychomotor domain) เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของพัฒนาการ       
ทางด้านทักษะพิสัยซึ่งเกี่ยวกับทักษะในการปฏิบัติงานต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบ        
สร้างเครื่องมือ ใช้เครื่องมือ และการแปลผลการประเมินทักษะการปฏิบัติต่าง ๆ ต่อไป
	 มีผู้เสนออนุกรมวิธานของทักษะพิสัย (taxonomy of psychomotor domain) ไว้หลาย       
แนวคิด ผู้เขียนขอน�ำเสนอแนวคิดอนุกรมวิธานของทักษะพิสัยที่น่าใจและเป็นที่รู้จักกันดี 3 แนวคิด
ดังนี้
	 Simpson (1972) เสนอล�ำดับขั้นของทักษะพิสัยโดยเรียกล�ำดับขั้นแต่ละขั้นว่าเป็นประเภท       
ของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย โดยเรียงล�ำดับจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนน้อยที่สุดไปมากที่สุด 7 ประเภท
ดังนี้
	 1. 	การรับรู้ของประสาทและกล้ามเนื้อ (perception) เป็นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการ
รับรู้ และแปลความหมายสิ่งเร้าเพื่อการน�ำไปปฏิบัติต่อไป ซึ่งรวมถึงการกระตุ้นประสาทสัมผัส การ
เลือกรับรู้สิ่งเร้า และการแปลความหมายสิ่งเร้า เช่น การคาดคะเนหรือประมาณการว่า ลูกแบดมินตัน
ที่คู่ต่อสู้ตีมา จะเคลื่อนที่มาที่ส่วนใดของสนามในฝั่งตนเอง แล้วสามารถวิ่งไปในทิศทางที่ถูกต้องเพื่อ           
ตีลูกกลับไปฝั่งตรงข้ามได้ การปรับระดับความร้อนของเตาอบให้อยู่ในระดับอุณหภูมิที่เหมาะสม เมื่อ
ได้กลิ่นอาหารจากเตาอบหรือเมื่อได้ชิมอาหารที่ก�ำลังปรุงอยู่
	 2. 	การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติ (set) เป็นความพร้อมในการปฏิบัติหรือการกระท�ำ          
ทั้งความพร้อมด้านสมอง ร่างกาย และอารมณ์ ความพร้อมใน 3 ด้านดังกล่าวเป็นเสมือนนิสัย                     
ที่ก�ำหนดการตอบสนอง การกระท�ำ หรือการปฏิบัติของบุคคลนั้นต่อสถานการณ์ที่แตกต่างกัน  
พฤติกรรมในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันมากกับพฤติกรรมในด้านจิตพิสัยในระดับการตอบสนองต่อ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ (responding to phenomena) เช่น การรู้และการปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ใน
ขั้นตอนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม การแสดงความต้องการในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
	 3. 	การปฏิบัติตามข้อแนะน�ำ (guided response) เป็นการเลียนแบบการปฏิบัติตาม หรือการ
ลองผิดลองถูกการปฏิบัติ การปฏิบัติในขั้นตอนนี้ต้องผ่านการท�ำซ�้ำหรือฝึกฝนสม�่ำเสมอจึงจะส�ำเร็จ  
เช่น การปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการต่อโมเดลหุ่นยนต์ การแก้สมการคณิตศาสตร์ที่คล้ายคลึงกับที่
3
ยกตัวอย่างไว้
	 4. 	การปฏิบัติจนเป็นนิสัย (mechanism) เป็นการปฏิบัติเป็นล�ำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องด้วย
ความมั่นใจ จนเกิดความเคยชินเป็นนิสัย เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ในการท�ำงานต่าง ๆ การขับรถยนต์
	 5. 	การปฏิบัติที่สลับซับซ้อน (complex overt response) เป็นการปฏิบัติที่สลับซับซ้อน           
ขึ้นได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว แม่นย�ำ ช�ำนาญ สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายใน                 
การปฏิบัติได้ดี หรือปฏิบัติได้อย่างเป็นอัตโนมัติโดยไม่ต้องใช้พลังในการปฏิบัติมากนัก ประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติในขั้นนี้จะเห็นได้จากความเร็ว ความแม่นย�ำ การประสานสัมพันธ์กันอย่างดีในการ
แสดงออกด้านทักษะพิสัย เช่น นักกีฬามักจะเปล่งเสียงแสดงความพอใจเมื่อตีลูกเทนนิส เพราะมั่นใจ
ว่าจะได้คะแนนในการตีลูกนั้น
	 6. 	การปรับเปลี่ยนปฏิบัติการ (adaptation) ในขั้นตอนนี้มีการพัฒนาทักษะเป็นอย่างดีแล้ว
และสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการปฏิบัติให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เช่น การปรับเปลี่ยน
การสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน การท�ำงานกับเครื่องจักรที่ไม่เคยใช้มาก่อนได้ โดยที่
ไม่ท�ำให้เครื่องจักรเสียหายและไม่ได้รับอันตรายจากการปฏิบัติการนั้น
	 7. 	การสร้างปฏิบัติการใหม่ (origination) เป็นการสร้างการปฏิบัติการรูปแบบใหม่เพื่อให้
สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์เฉพาะ โดยปฏิบัติการที่สร้างขึ้นมาในขั้นตอนนี้มีพื้นฐาน              
มาจากทักษะที่ได้รับการพัฒนาอย่างดีแล้ว และเน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เช่น การพัฒนาทฤษฎี       
หรือหลักการขึ้นใหม่ การพัฒนาโปรแกรมการอบรมหลักสูตรเข้มข้นขึ้นมาใหม่
	 Dave (1970) เสนอล�ำดับขั้นพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนน้อยที่สุด              
ไปมากที่สุด 5 ขั้น ดังนี้
	 1.	 การเลียนแบบ (imitation) เป็นการสังเกตและสามารถปฏิบัติตามตัวแบบของปฏิบัติการ
นั้น ๆ ได้
	 2.	 การจัดการ (manipulation) เป็นการปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำหรือตามที่สอนได้
	 3.	 การปฏิบัติอย่างแม่นย�ำ (precision) เป็นการปฏิบัติได้เองด้วยความช�ำนาญ แม่นย�ำ มีข้อ
ผิดพลาดน้อย
	 4.	 การต่อประสาน (articulation) เป็นการรวมกันของทักษะ 2 ทักษะ หรือมากกว่า 2 ทักษะ
สามารถจัดล�ำดับการปฏิบัติได้ ตลอดจนปฏิบัติได้อย่างคงเส้นคงวา  
	 5.	 การปฏิบัติอย่างเป็นธรรมชาติ (naturalization) เป็นการแสดงออกในทักษะการปฏิบัตินั้น      
อย่างอัตโนมัติ หรือท�ำได้อย่างสบาย โดยที่ไม่ต้องใช้พลังมากนัก หรือสร้างสรรค์การปฏิบัติการใหม่       
ขึ้นมาได้
4
	 Harrow (1972) เสนอล�ำดับขั้นพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนน้อยที่สุด        
ไปมากที่สุด 6 ขั้น ดังนี้
	 1.	 การเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ (reflex movements) เป็นการกระท�ำหรือการตอบสนอง        
สิ่งเร้าที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ปราศจากการเรียนรู้ เช่น การยืดหรือหดร่างกาย
	 2.	 การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน (basic fundamental movement) เป็นการเคลื่อนไหว            
อย่างง่ายซึ่งเกิดขึ้นจากการรวมกันของการเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ และเป็นพื้นฐานของทักษะ               
การเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น การเดิน การวิ่ง การผลัก การบิด
	 3.	 การรับรู้ (perceptual) เป็นการแปลหรือตีความสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ท�ำให้บุคคลนั้นสามารถ        
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับประสาทด้านการมองเห็น                   
การได้ยิน หรือการสัมผัส พฤติกรรมในล�ำดับขั้นนี้อาจมีพฤติกรรมในด้านสมอง (cognitive           
behavior) เกี่ยวข้องด้วย เช่น การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้การประสานสัมพันธ์กันของอวัยวะหลายส่วน
เช่น การกระโดดเชือก การเตะฟุตบอล
	 4.	 การท�ำกิจกรรมทางกายภาพ (physical activities) เป็นการกระท�ำที่ต้องอาศัยความ            
แข็งแรง ทนทาน กระฉับกระเฉง คล่องแคล่ว ซึ่งท�ำให้ร่างกายต้องออกแรงหรือใช้พลังงาน เช่น           
กิจกรรมทุกประเภทที่ต้องอาศัยการออกแรงกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว เช่น
การเพาะกาย การปั่นจักรยาน
	 5.	 การเคลื่อนไหวอย่างมีทักษะ (skilled movements) เป็นการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาทักษะเมื่อปฏิบัติงานที่มีความซับซ้อน เช่น ทักษะการเล่นกีฬาต่าง ๆ และ       
การเต้นร�ำ 
	 6.	 การสื่อสารอย่างตรงไปตรงมา (non-discursive communication) เป็นการสื่อสารผ่าน
การเคลื่อนไหวของร่างกาย ซึ่งหมายรวมถึงการแสดงออกและการปรับเปลี่ยนการแสดงออกทาง       
ใบหน้าด้วย เช่น การแสดงหรือการเปลี่ยนอิริยาบถ การแสดงสีหน้าในระหว่างการแสดงหรือการเต้น
	 จากแนวคิดการจ�ำแนกล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย 3 แนวคิดข้างต้น สามารถ
สังเคราะห์ล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยได้ 5 ล�ำดับขั้นหลัก ได้แก่ การรับรู้และการปฏิบัติ
พื้นฐาน การเตรียมความพร้อมและการเลียนแบบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ และ       
การปรับเปลี่ยนหรือสร้างปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดดังนี้
	 1. 	การรับรู้และการปฏิบัติพื้นฐาน หมายถึง ตอบสนองสิ่งเร้าโดยอัตโนมัติ การรับรู้ ใส่ใจต่อ       
สิ่งเร้าหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ และการปฏิบัติอย่างง่าย ไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้
	 2. 	การเตรียมความพร้อมและการเลียนแบบ หมายถึง เตรียมพร้อมในการปฏิบัติ ตลอดจน      
การท�ำตามตัวแบบหรือค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการปฏิบัติต่างๆการปฏิบัติในขั้นตอนนี้จะยังไม่เป็นอัตโนมัติ
และยังไม่ราบรื่นนัก
5
	 3. 	การฝึกปฏิบัติ หมายถึง การปฏิบัติอย่างซ�้ำ ๆ การปฏิบัติในขั้นตอนนี้จะค่อย ๆ เป็น        
อัตโนมัติและราบรื่นมากขึ้น
	 4. 	การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ หมายถึง การปฏิบัติอย่างคล่องแคล่ว แม่นย�ำ ช�ำนาญ                 
การปฏิบัติในขั้นตอนนี้จะเป็นอัตโนมัติและราบรื่น
	 5. 	การปรับเปลี่ยนหรือสร้างปฏิบัติการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติการตาม
สถานการณ์ หรือสร้างปฏิบัติการขึ้นใหม่
	 รายละเอียดของผลการสังเคราะห์ล�ำดับขั้นของทักษะพิสัยจากแนวคิด 3 แนวคิดข้างต้น              
สรุปได้ดังตารางที่ 1.1  
ตารางที่ 1.1 ล�ำดับขั้นของทักษะพิสัยที่สังเคราะห์ได้
	 ล�ำดับขั้นทักษะพิสัย	 Simpson	 Dave	 Harrow
	 และความหมาย	 (1972)	 (1970)	 (1972)
1.	 การรับรู้และการปฏิบัติ	 1.	การรับรู้ของ	 	 	 1.	การเคลื่อนไหวแบบ
	 พื้นฐาน หมายถึง ตอบสนอง	 	 ประสาทและ	 	 	 	 รีเฟล็กซ์ (reflex
	 สิ่งเร้าโดยอัตโนมัติ การรับรู้	 	 กล้ามเนื้อ  	 	 	 	 movements)         
	 ใส่ใจต่อสิ่งเร้าหรือเหตุการณ์	 	 (perception)  	 	 	 2.	การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน
	 ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ และ	 	 	 	 	 	 (basic fundamental
	 การปฏิบัติอย่างง่าย ไม่ต้อง	 	 	 	 	 	 movement)
	 อาศัยการเรียนรู้	 	 	 	 	 3.	การรับรู้ (perceptual)
2.	 การเตรียมความพร้อม	 2.	การเตรียม	 1.	การเลียนแบบ
	 และการเลียนแบบ หมายถึง 		 ความพร้อมใน	 	 (imitation)
	 เตรียมพร้อมในการปฏิบัติ 	 	 การปฏิบัติ (set)          
	 ตลอดจนการท�ำตามตัวแบบ	 3.	การปฏิบัติ	 2.	การจัดการ	 	
	 หรือค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการ	 	 ตามข้อแนะน�ำ	 	 (manipulation)
	 ปฏิบัติต่าง ๆ การปฏิบัติ	 	 (guided
	 ในขั้นตอนนี้จะยังไม่เป็น	 	 response)
	 อัตโนมัติและยังไม่ราบรื่นนัก
3.	 การฝึกปฏิบัติ หมายถึง การ 	 4.	การปฏิบัติ	 	 	 4.	การท�ำกิจกรรมทาง
	 ปฏิบัติอย่างซ�้ำ ๆ การปฏิบัติ 	 	 จนเป็นนิสัย	 	 	 	 กายภาพ (physical
	 ในขั้นตอนนี้จะค่อย ๆ เป็น	 	 (mechanism)	 	 	 	 activities)
	 อัตโนมัติและราบรื่นมากขึ้น
6
ตารางที่ 1.1 (ต่อ)
	 ล�ำดับขั้นทักษะพิสัย	 Simpson	 Dave	 Harrow
	 และความหมาย	 (1972)	 (1970)	 (1972)
4.	 การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ	 5.	การปฏิบัติที่	 3.	การปฏิบัติ	 5.	การเคลื่อนไหวอย่าง
	 หมายถึง การปฏิบัติอย่าง	 	 สลับซับซ้อน	 	 อย่างแม่นย�ำ	 	 มีทักษะ (skilled
	 คล่องแคล่ว แม่นย�ำ ช�ำนาญ	 	 (complex 	 	 (precision)	 	 movements)
	 การปฏิบัติในขั้นตอนนี้ 	 	 overt	 4.	การต่อประสาน	
	 จะเป็นอัตโนมัติและราบรื่น	 	 response)	 	 (articulation)	 	
	 	 	 	 5.	การปฏิบัติอย่าง
	 	 	 	 	 เป็นธรรมชาติ	 	
	 	 	 	 	 (naturalization)	
5.	 การปรับเปลี่ยนหรือสร้าง	 6.	การปรับเปลี่ยน	 	 	 6.	การสื่อสารอย่างตรงไป
	 ปฏิบัติการ หมายถึง การ	 	 ปฏิบัติการ	 	 	 	 ตรงมา (non-discursive
	 เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติการ	 	 (adaptation)	 	 	 	 communication)
	 ตามสถานการณ์ หรือสร้าง	 7.	การสร้าง	 	 	 	
	 ปฏิบัติการขึ้นใหม่	 	 ปฏิบัติการใหม่
	 	 	 (origination)		
	 หนังสือเล่มนี้มีสาระที่ครอบคลุมทักษะการปฏิบัติทั้งที่เป็น “psychomotor skill” “practical
skill” และ “performance” โดยน�ำเสนอความเป็นมาและธรรมชาติของการวัดและประเมินทักษะ
การปฏิบัติ การออกแบบการวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ การสร้างเครื่องมือวัดและประเมิน         
ทักษะการปฏิบัติ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ การประเมิน
โดยใช้แฟ้มสะสมงานการเรียนรู้ การวิเคราะห์งาน การอบรมผู้ประเมินทักษะการปฏิบัติ และ                
การก�ำกับติดตามคุณภาพการประเมินทักษะการปฏิบัติ และเนื่องจากการวัดและประเมินทักษะ            
การปฏิบัติสามารถน�ำไปใช้ได้ทั้งในบริบทของการศึกษา การด�ำเนินโครงการหรือโปรแกรม ตลอดจน
การปฏิบัติงานในองค์กรต่าง ๆ ดังนั้น หนังสือเล่มนี้จะครอบคลุมบริบทที่หลากหลายตามที่ได้กล่าว       
ไปแล้วด้วย
สรุป
	
	 ทักษะการปฏิบัติ หมายถึง การเคลื่อนไหวทางกายภาพ การควบคุมการเคลื่อนไหวของ          
ร่างกาย และการใช้ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว ซึ่งประกอบด้วยการเคลื่อนไหวของร่างกาย
7
และการประสานสัมพันธ์ของทักษะต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายแบบพื้นฐาน หรือ
เป็นการแสดงการปฏิบัติงานตามกระบวนการต่าง ๆ ก็ได้ จากแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับการจ�ำแนก       
ล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย สามารถสรุปสังเคราะห์ล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะ        
พิสัยได้ 5 ล�ำดับขั้นหลัก ได้แก่ การรับรู้และการปฏิบัติพื้นฐาน การเตรียมความพร้อมและการ                
เลียนแบบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ และการปรับเปลี่ยนหรือสร้างปฏิบัติการ

Contenu connexe

Tendances

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงyasotornrit
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2fal-war
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมbankfai1330
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfKru Bio Hazad
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 

Tendances (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลง
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdf
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 

En vedette

พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรมsukanya petin
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทCotton On
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะNU
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

En vedette (14)

พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similaire à 9789740332961

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาhadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้honeylamon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 

Similaire à 9789740332961 (20)

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Plus de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740332961

  • 1. ความหมายของทักษะการปฏิบัติ และอนุกรมวิธานของทักษะพิสัย บ ท ที่ 1 ในการวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการวัดและประเมินผลการจัด การเรียนการสอน หรือเป็นส่วนหนึ่งของการวัดตัวแปรในการวิจัย ผู้ประเมินต้องเข้าใจความหมาย ของทักษะการปฏิบัติ รวมถึงศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติ ตลอดจนอนุกรมวิธาน ของทักษะพิสัย (psychomotor domain) ซึ่งเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว และการปฏิบัติงานต่าง ๆ รายละเอียดในบทนี้จะน�ำเสนอความหมายของทักษะการปฏิบัติ และ อนุกรมวิธานของทักษะพิสัย ความหมายของทักษะการปฏิบัติ ทักษะการปฏิบัติ หมายถึง การเคลื่อนไหวทางกายภาพ การควบคุมการเคลื่อนไหวของ ร่างกาย และการใช้ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว (Simpson, 1972) ซึ่งประกอบด้วยการ เคลื่อนไหวของร่างกายและการประสานสัมพันธ์ของทักษะต่าง ๆ (กมลวรรณ ตังธนกานนท์, 2555) ซึ่งอาจเป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายแบบพื้นฐาน (fundamental movement) หรือเป็นการ แสดงการปฏิบัติงานตามกระบวนการต่าง ๆ ก็ได้ การพัฒนาทักษะการปฏิบัติจึงต้องอาศัยการ ฝึกฝน อย่างไรก็ตาม สุวิมล ว่องวาณิช (2546) ได้สรุปว่า เอกสารที่เกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติมัก กล่าวถึงศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้อง 3 ค�ำ ได้แก่ ค�ำว่า “psychomotor skill” ค�ำว่า “practical skill” และค�ำว่า “performance” ซึ่งมีความหมายเกี่ยวข้องกับทักษะการปฏิบัติงานเหมือนกัน แต่มี นัยแตกต่างกันเล็กน้อยในรายละเอียด psychomotor skill เน้นการเคลื่อนไหวทางร่างกายแบบ พื้นฐานที่เป็นกลไกของอวัยวะและกล้ามเนื้อ ซึ่งอาจเป็นการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ (locomotor movement) การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่ (nonlocomotor) และการเคลื่อนไหวแบบประกอบ อุปกรณ์ (manipulative movement) (กมลวรรณ ตังธนกานนท์, 2555) practical skill เน้นการ ปฏิบัติที่อาศัยความสามารถทางสมองร่วมด้วย และมักเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนเป็นประจ�ำ เช่น ทักษะ การอ่าน ทักษะการเขียน ทักษะการคิดค�ำนวณ ทักษะการวัดและประเมินผล ส่วน performance เน้นการแสดงออกหรือการท�ำงานตามกระบวนการต่าง ๆ ที่อาศัยความสามารถทางสมองร่วมกันกับ
  • 2. 2 จิตใจเพิ่มขึ้นมา นอกเหนือจากการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น การเล่นดนตรี การวาดภาพ ทั้งนี้ หนังสือเล่มนี้จะน�ำเสนอสาระเกี่ยวกับการวัดและประเมินทั้ง “psychomotor skill” “practical skill” และ “performance” โดยจะใช้ค�ำว่า “ทักษะการปฏิบัติ” เป็นค�ำเรียกรวมของค�ำศัพท์ทั้ง 3 ค�ำดังกล่าว อนุกรมวิธานของทักษะพิสัย ในการวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ ผู้ประเมินจ�ำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ล�ำดับขั้นของทักษะพิสัย (psychomotor domain) เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของพัฒนาการ ทางด้านทักษะพิสัยซึ่งเกี่ยวกับทักษะในการปฏิบัติงานต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบ สร้างเครื่องมือ ใช้เครื่องมือ และการแปลผลการประเมินทักษะการปฏิบัติต่าง ๆ ต่อไป มีผู้เสนออนุกรมวิธานของทักษะพิสัย (taxonomy of psychomotor domain) ไว้หลาย แนวคิด ผู้เขียนขอน�ำเสนอแนวคิดอนุกรมวิธานของทักษะพิสัยที่น่าใจและเป็นที่รู้จักกันดี 3 แนวคิด ดังนี้ Simpson (1972) เสนอล�ำดับขั้นของทักษะพิสัยโดยเรียกล�ำดับขั้นแต่ละขั้นว่าเป็นประเภท ของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย โดยเรียงล�ำดับจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนน้อยที่สุดไปมากที่สุด 7 ประเภท ดังนี้ 1. การรับรู้ของประสาทและกล้ามเนื้อ (perception) เป็นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการ รับรู้ และแปลความหมายสิ่งเร้าเพื่อการน�ำไปปฏิบัติต่อไป ซึ่งรวมถึงการกระตุ้นประสาทสัมผัส การ เลือกรับรู้สิ่งเร้า และการแปลความหมายสิ่งเร้า เช่น การคาดคะเนหรือประมาณการว่า ลูกแบดมินตัน ที่คู่ต่อสู้ตีมา จะเคลื่อนที่มาที่ส่วนใดของสนามในฝั่งตนเอง แล้วสามารถวิ่งไปในทิศทางที่ถูกต้องเพื่อ ตีลูกกลับไปฝั่งตรงข้ามได้ การปรับระดับความร้อนของเตาอบให้อยู่ในระดับอุณหภูมิที่เหมาะสม เมื่อ ได้กลิ่นอาหารจากเตาอบหรือเมื่อได้ชิมอาหารที่ก�ำลังปรุงอยู่ 2. การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติ (set) เป็นความพร้อมในการปฏิบัติหรือการกระท�ำ ทั้งความพร้อมด้านสมอง ร่างกาย และอารมณ์ ความพร้อมใน 3 ด้านดังกล่าวเป็นเสมือนนิสัย ที่ก�ำหนดการตอบสนอง การกระท�ำ หรือการปฏิบัติของบุคคลนั้นต่อสถานการณ์ที่แตกต่างกัน พฤติกรรมในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันมากกับพฤติกรรมในด้านจิตพิสัยในระดับการตอบสนองต่อ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ (responding to phenomena) เช่น การรู้และการปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ใน ขั้นตอนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม การแสดงความต้องการในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ 3. การปฏิบัติตามข้อแนะน�ำ (guided response) เป็นการเลียนแบบการปฏิบัติตาม หรือการ ลองผิดลองถูกการปฏิบัติ การปฏิบัติในขั้นตอนนี้ต้องผ่านการท�ำซ�้ำหรือฝึกฝนสม�่ำเสมอจึงจะส�ำเร็จ เช่น การปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการต่อโมเดลหุ่นยนต์ การแก้สมการคณิตศาสตร์ที่คล้ายคลึงกับที่
  • 3. 3 ยกตัวอย่างไว้ 4. การปฏิบัติจนเป็นนิสัย (mechanism) เป็นการปฏิบัติเป็นล�ำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องด้วย ความมั่นใจ จนเกิดความเคยชินเป็นนิสัย เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ในการท�ำงานต่าง ๆ การขับรถยนต์ 5. การปฏิบัติที่สลับซับซ้อน (complex overt response) เป็นการปฏิบัติที่สลับซับซ้อน ขึ้นได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว แม่นย�ำ ช�ำนาญ สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายใน การปฏิบัติได้ดี หรือปฏิบัติได้อย่างเป็นอัตโนมัติโดยไม่ต้องใช้พลังในการปฏิบัติมากนัก ประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติในขั้นนี้จะเห็นได้จากความเร็ว ความแม่นย�ำ การประสานสัมพันธ์กันอย่างดีในการ แสดงออกด้านทักษะพิสัย เช่น นักกีฬามักจะเปล่งเสียงแสดงความพอใจเมื่อตีลูกเทนนิส เพราะมั่นใจ ว่าจะได้คะแนนในการตีลูกนั้น 6. การปรับเปลี่ยนปฏิบัติการ (adaptation) ในขั้นตอนนี้มีการพัฒนาทักษะเป็นอย่างดีแล้ว และสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการปฏิบัติให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เช่น การปรับเปลี่ยน การสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน การท�ำงานกับเครื่องจักรที่ไม่เคยใช้มาก่อนได้ โดยที่ ไม่ท�ำให้เครื่องจักรเสียหายและไม่ได้รับอันตรายจากการปฏิบัติการนั้น 7. การสร้างปฏิบัติการใหม่ (origination) เป็นการสร้างการปฏิบัติการรูปแบบใหม่เพื่อให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์เฉพาะ โดยปฏิบัติการที่สร้างขึ้นมาในขั้นตอนนี้มีพื้นฐาน มาจากทักษะที่ได้รับการพัฒนาอย่างดีแล้ว และเน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เช่น การพัฒนาทฤษฎี หรือหลักการขึ้นใหม่ การพัฒนาโปรแกรมการอบรมหลักสูตรเข้มข้นขึ้นมาใหม่ Dave (1970) เสนอล�ำดับขั้นพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนน้อยที่สุด ไปมากที่สุด 5 ขั้น ดังนี้ 1. การเลียนแบบ (imitation) เป็นการสังเกตและสามารถปฏิบัติตามตัวแบบของปฏิบัติการ นั้น ๆ ได้ 2. การจัดการ (manipulation) เป็นการปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำหรือตามที่สอนได้ 3. การปฏิบัติอย่างแม่นย�ำ (precision) เป็นการปฏิบัติได้เองด้วยความช�ำนาญ แม่นย�ำ มีข้อ ผิดพลาดน้อย 4. การต่อประสาน (articulation) เป็นการรวมกันของทักษะ 2 ทักษะ หรือมากกว่า 2 ทักษะ สามารถจัดล�ำดับการปฏิบัติได้ ตลอดจนปฏิบัติได้อย่างคงเส้นคงวา 5. การปฏิบัติอย่างเป็นธรรมชาติ (naturalization) เป็นการแสดงออกในทักษะการปฏิบัตินั้น อย่างอัตโนมัติ หรือท�ำได้อย่างสบาย โดยที่ไม่ต้องใช้พลังมากนัก หรือสร้างสรรค์การปฏิบัติการใหม่ ขึ้นมาได้
  • 4. 4 Harrow (1972) เสนอล�ำดับขั้นพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนน้อยที่สุด ไปมากที่สุด 6 ขั้น ดังนี้ 1. การเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ (reflex movements) เป็นการกระท�ำหรือการตอบสนอง สิ่งเร้าที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ปราศจากการเรียนรู้ เช่น การยืดหรือหดร่างกาย 2. การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน (basic fundamental movement) เป็นการเคลื่อนไหว อย่างง่ายซึ่งเกิดขึ้นจากการรวมกันของการเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ และเป็นพื้นฐานของทักษะ การเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น การเดิน การวิ่ง การผลัก การบิด 3. การรับรู้ (perceptual) เป็นการแปลหรือตีความสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ท�ำให้บุคคลนั้นสามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับประสาทด้านการมองเห็น การได้ยิน หรือการสัมผัส พฤติกรรมในล�ำดับขั้นนี้อาจมีพฤติกรรมในด้านสมอง (cognitive behavior) เกี่ยวข้องด้วย เช่น การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้การประสานสัมพันธ์กันของอวัยวะหลายส่วน เช่น การกระโดดเชือก การเตะฟุตบอล 4. การท�ำกิจกรรมทางกายภาพ (physical activities) เป็นการกระท�ำที่ต้องอาศัยความ แข็งแรง ทนทาน กระฉับกระเฉง คล่องแคล่ว ซึ่งท�ำให้ร่างกายต้องออกแรงหรือใช้พลังงาน เช่น กิจกรรมทุกประเภทที่ต้องอาศัยการออกแรงกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว เช่น การเพาะกาย การปั่นจักรยาน 5. การเคลื่อนไหวอย่างมีทักษะ (skilled movements) เป็นการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาทักษะเมื่อปฏิบัติงานที่มีความซับซ้อน เช่น ทักษะการเล่นกีฬาต่าง ๆ และ การเต้นร�ำ 6. การสื่อสารอย่างตรงไปตรงมา (non-discursive communication) เป็นการสื่อสารผ่าน การเคลื่อนไหวของร่างกาย ซึ่งหมายรวมถึงการแสดงออกและการปรับเปลี่ยนการแสดงออกทาง ใบหน้าด้วย เช่น การแสดงหรือการเปลี่ยนอิริยาบถ การแสดงสีหน้าในระหว่างการแสดงหรือการเต้น จากแนวคิดการจ�ำแนกล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย 3 แนวคิดข้างต้น สามารถ สังเคราะห์ล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยได้ 5 ล�ำดับขั้นหลัก ได้แก่ การรับรู้และการปฏิบัติ พื้นฐาน การเตรียมความพร้อมและการเลียนแบบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ และ การปรับเปลี่ยนหรือสร้างปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การรับรู้และการปฏิบัติพื้นฐาน หมายถึง ตอบสนองสิ่งเร้าโดยอัตโนมัติ การรับรู้ ใส่ใจต่อ สิ่งเร้าหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ และการปฏิบัติอย่างง่าย ไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้ 2. การเตรียมความพร้อมและการเลียนแบบ หมายถึง เตรียมพร้อมในการปฏิบัติ ตลอดจน การท�ำตามตัวแบบหรือค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการปฏิบัติต่างๆการปฏิบัติในขั้นตอนนี้จะยังไม่เป็นอัตโนมัติ และยังไม่ราบรื่นนัก
  • 5. 5 3. การฝึกปฏิบัติ หมายถึง การปฏิบัติอย่างซ�้ำ ๆ การปฏิบัติในขั้นตอนนี้จะค่อย ๆ เป็น อัตโนมัติและราบรื่นมากขึ้น 4. การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ หมายถึง การปฏิบัติอย่างคล่องแคล่ว แม่นย�ำ ช�ำนาญ การปฏิบัติในขั้นตอนนี้จะเป็นอัตโนมัติและราบรื่น 5. การปรับเปลี่ยนหรือสร้างปฏิบัติการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติการตาม สถานการณ์ หรือสร้างปฏิบัติการขึ้นใหม่ รายละเอียดของผลการสังเคราะห์ล�ำดับขั้นของทักษะพิสัยจากแนวคิด 3 แนวคิดข้างต้น สรุปได้ดังตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 ล�ำดับขั้นของทักษะพิสัยที่สังเคราะห์ได้ ล�ำดับขั้นทักษะพิสัย Simpson Dave Harrow และความหมาย (1972) (1970) (1972) 1. การรับรู้และการปฏิบัติ 1. การรับรู้ของ 1. การเคลื่อนไหวแบบ พื้นฐาน หมายถึง ตอบสนอง ประสาทและ รีเฟล็กซ์ (reflex สิ่งเร้าโดยอัตโนมัติ การรับรู้ กล้ามเนื้อ movements) ใส่ใจต่อสิ่งเร้าหรือเหตุการณ์ (perception) 2. การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ และ (basic fundamental การปฏิบัติอย่างง่าย ไม่ต้อง movement) อาศัยการเรียนรู้ 3. การรับรู้ (perceptual) 2. การเตรียมความพร้อม 2. การเตรียม 1. การเลียนแบบ และการเลียนแบบ หมายถึง ความพร้อมใน (imitation) เตรียมพร้อมในการปฏิบัติ การปฏิบัติ (set) ตลอดจนการท�ำตามตัวแบบ 3. การปฏิบัติ 2. การจัดการ หรือค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการ ตามข้อแนะน�ำ (manipulation) ปฏิบัติต่าง ๆ การปฏิบัติ (guided ในขั้นตอนนี้จะยังไม่เป็น response) อัตโนมัติและยังไม่ราบรื่นนัก 3. การฝึกปฏิบัติ หมายถึง การ 4. การปฏิบัติ 4. การท�ำกิจกรรมทาง ปฏิบัติอย่างซ�้ำ ๆ การปฏิบัติ จนเป็นนิสัย กายภาพ (physical ในขั้นตอนนี้จะค่อย ๆ เป็น (mechanism) activities) อัตโนมัติและราบรื่นมากขึ้น
  • 6. 6 ตารางที่ 1.1 (ต่อ) ล�ำดับขั้นทักษะพิสัย Simpson Dave Harrow และความหมาย (1972) (1970) (1972) 4. การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ 5. การปฏิบัติที่ 3. การปฏิบัติ 5. การเคลื่อนไหวอย่าง หมายถึง การปฏิบัติอย่าง สลับซับซ้อน อย่างแม่นย�ำ มีทักษะ (skilled คล่องแคล่ว แม่นย�ำ ช�ำนาญ (complex (precision) movements) การปฏิบัติในขั้นตอนนี้ overt 4. การต่อประสาน จะเป็นอัตโนมัติและราบรื่น response) (articulation) 5. การปฏิบัติอย่าง เป็นธรรมชาติ (naturalization) 5. การปรับเปลี่ยนหรือสร้าง 6. การปรับเปลี่ยน 6. การสื่อสารอย่างตรงไป ปฏิบัติการ หมายถึง การ ปฏิบัติการ ตรงมา (non-discursive เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติการ (adaptation) communication) ตามสถานการณ์ หรือสร้าง 7. การสร้าง ปฏิบัติการขึ้นใหม่ ปฏิบัติการใหม่ (origination) หนังสือเล่มนี้มีสาระที่ครอบคลุมทักษะการปฏิบัติทั้งที่เป็น “psychomotor skill” “practical skill” และ “performance” โดยน�ำเสนอความเป็นมาและธรรมชาติของการวัดและประเมินทักษะ การปฏิบัติ การออกแบบการวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ การสร้างเครื่องมือวัดและประเมิน ทักษะการปฏิบัติ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ การประเมิน โดยใช้แฟ้มสะสมงานการเรียนรู้ การวิเคราะห์งาน การอบรมผู้ประเมินทักษะการปฏิบัติ และ การก�ำกับติดตามคุณภาพการประเมินทักษะการปฏิบัติ และเนื่องจากการวัดและประเมินทักษะ การปฏิบัติสามารถน�ำไปใช้ได้ทั้งในบริบทของการศึกษา การด�ำเนินโครงการหรือโปรแกรม ตลอดจน การปฏิบัติงานในองค์กรต่าง ๆ ดังนั้น หนังสือเล่มนี้จะครอบคลุมบริบทที่หลากหลายตามที่ได้กล่าว ไปแล้วด้วย สรุป ทักษะการปฏิบัติ หมายถึง การเคลื่อนไหวทางกายภาพ การควบคุมการเคลื่อนไหวของ ร่างกาย และการใช้ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว ซึ่งประกอบด้วยการเคลื่อนไหวของร่างกาย
  • 7. 7 และการประสานสัมพันธ์ของทักษะต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายแบบพื้นฐาน หรือ เป็นการแสดงการปฏิบัติงานตามกระบวนการต่าง ๆ ก็ได้ จากแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับการจ�ำแนก ล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย สามารถสรุปสังเคราะห์ล�ำดับขั้นของพฤติกรรมด้านทักษะ พิสัยได้ 5 ล�ำดับขั้นหลัก ได้แก่ การรับรู้และการปฏิบัติพื้นฐาน การเตรียมความพร้อมและการ เลียนแบบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ และการปรับเปลี่ยนหรือสร้างปฏิบัติการ