SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  60
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1
ลําดับและอนุกรมของจํานวน
ในการศึกษาเกี่ยวกับลําดับและอนุกรมของจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซอน การหาผล
บวกของอนุกรมเราจําเปนตองทําการพิสูจนขอความหรือสูตรในพจนของจํานวนนับ ดังนั้น
ในหัวขอแรกของบทที่ 1 นี้ เราจะกลาวถึงอุปนัยเชิงคณิตศาสตร ซึ่งเปนวิธีการพิสูจนขอความที่
เกี่ยวของกับจํานวนนับวาเปนจริง เพื่อนําไปใชในการศึกษาเรื่องลําดับและอนุกรมตอไป
หมายเหตุ ในหนังสือเลมนี้เราจะใชสัญลักษณตอไปนี้
N แทน เซตของจํานวนนับทั้งหมด
R แทน เซตของจํานวนจริงทั้งหมด
C แทน เซตของจํานวนเชิงซอนทั้งหมด
1.1 อุปนัยเชิงคณิตศาสตร
การพิสูจนขอความที่เกี่ยวของกับจํานวนนับ n วาเปนจริง เราใชวิธีการตอไปนี้
สําหรับจํานวนนับ n ให P(n) แทนขอความที่เกี่ยวของกับ n ซึ่งมีสมบัติตอไปนี้
(1) P(1) เปนจริง
(2) สําหรับจํานวนนับ k ใด ๆ ถา P(k) เปนจริง แลว P(k + 1) เปนจริง
ดังนั้น P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n
เราเรียกวิธีการนี้วา อุปนัยเชิงคณิตศาสตร
แคลคูลัส 22
ตัวอยาง 1.1.1
จงพิสูจนวา 21
1
⋅
+ 32
1
⋅
+ 43
1
⋅
+ ... + )1n(n
1
+
= 1n
n
+
ทุกจํานวนนับ n
วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ
ให P(n) แทนขอความ 21
1
⋅
+ 32
1
⋅
+ 43
1
⋅
+ ... + )1n(n
1
+
= 1n
n
+
เนื่องจาก )11(1
1
+
= 2
1 = 11
1
+
ดังนั้น P(1) เปนจริง
ให k เปนจํานวนนับใด ๆ
สมมติวา P(k) เปนจริง
นั่นคือ สมมติวา 21
1
⋅
+ 32
1
⋅
+ 43
1
⋅
+ ... + )1k(k
1
+
= 1k
k
+
ดังนั้น 21
1
⋅
+ 32
1
⋅
+ 43
1
⋅
+ ... + )1k(k
1
+
+ )2k)(1k(
1
++
= 1k
k
+
+ )2k)(1k(
1
++
= )2k)(1k(
1)2k(k
++
++
= )2k)(1k(
)1k( 2
++
+
= 2k
1k
+
+
แสดงวา P(k + 1) เปนจริง
โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n
นั่นคือ 21
1
⋅
+ 32
1
⋅
+ 43
1
⋅
+ ... + )1n(n
1
+
= 1n
n
+
ทุกจํานวนนับ n
ตัวอยาง 1.1.2 จงพิสูจนวา n
5 – n
2 หารดวย 3 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n
วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ
ให P(n) แทนขอความ n
5 – n
2 หารดวย 3 ลงตัว
เนื่องจาก 1
5 – 1
2 = 3 ซึ่งหารดวย 3 ลงตัว
ดังนั้น P(1) เปนจริง
ให k เปนจํานวนนับใด ๆ
สมมติวา P(k) เปนจริง
นั่นคือ สมมติวา k
5 – k
2 หารดวย 3 ลงตัว
จะไดวา มีจํานวนเต็ม m ซึ่ง k
5 – k
2 = 3m ... (1)
พิจารณา 1k
5 +
– 1k
2 +
= 5( k
5 ) – 2( k
2 )
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 3
= (3 + 2)( k
5 ) – 2( k
2 )
= 3( k
5 ) + 2( k
5 ) – 2( k
2 )
= 3( k
5 ) + 2( k
5 – k
2 )
= 3( k
5 ) + 2(3m) (จาก (1))
= 3( k
5 + 2m)
เนื่องจาก k
5 + 2m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น 1k
5 +
– 1k
2 +
หารดวย 3 ลงตัว
แสดงวา P(k + 1) เปนจริง
โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n
นั่นคือ n
5 – n
2 หารดวย 3 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n
ตัวอยาง 1.1.3
จงพิสูจนวา 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + n(n + 1) = 3
)2n)(1n(n ++
ทุกจํานวนนับ n
วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ
ให P(n) แทนขอความ 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + n(n + 1) = 3
)2n)(1n(n ++
เนื่องจาก 1(1 + 1) = 2 = 3
)21)(11)(1( ++
ดังนั้น P(1) เปนจริง
ให k เปนจํานวนนับใดๆ
สมมติวา P(k) เปนจริง
นั่นคือ สมมติวา 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + k(k + 1) = 3
)2k)(1k(k ++
ดังนั้น 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + k(k + 1) + (k + 1)(k + 2)
= 3
)2k)(1k(k ++
+ (k + 1)(k + 2)
= (k + 1)(k + 2)( 3
k + 1)
= 3
)3k)(2k)(1k( +++
แสดงวา P(k + 1) เปนจริง
โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n
นั่นคือ 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + n(n + 1) = 3
)2n)(1n(n ++
ทุกจํานวนนับ n
แคลคูลัส 24
นอกจากอุปนัยเชิงคณิตศาสตรจะใชพิสูจนขอความ P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n
แลว เราอาจประยุกตใชอุปนัยเชิงคณิตศาสตรเพื่อพิสูจนขอความ P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ
n ≥ m เมื่อ m เปนจํานวนนับใด ๆ โดยมีวิธีการตอไปนี้
สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ ซึ่ง n ≥ m ให P(n) แทนขอความที่เกี่ยวของกับ n
ซึ่งมีสมบัติตอไปนี้
(1) P(m) เปนจริง
(2) สําหรับจํานวนนับ k ใด ๆ ซึ่ง k ≥ m ถา P(k) เปนจริง แลว P(k + 1) เปนจริง
ดังนั้น P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ m
ตัวอยาง 1.1.4 จงพิสูจนวา n
2 > 2
n ทุกจํานวนนับ n ≥ 5
วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ ซึ่ง n ≥ 5
ให P(n) แทนขอความ n
2 > 2
n
เนื่องจาก 5
2 = 32 > 25 = 2
5
ดังนั้น P(5) เปนจริง
ให k เปนจํานวนนับใด ๆ ซึ่ง k ≥ 5
สมมติวา P(k) เปนจริง
นั่นคือ สมมติวา k
2 > 2
k
ดังนั้น 2( k
2 ) > 2 2
k
1k
2 +
> 2
k + 2
k
≥ 2
k + 5k (เพราะวา k ≥ 5 เพราะฉะนั้น 2
k ≥ 5k)
= 2
k + 2k + 3k
> 2
k + 2k + 1 (เพราะวา k ≥ 5 เพราะฉะนั้น 3k > 1)
= (k + 1)2
เพราะฉะนั้น 1k
2 +
> (k + 1)2
แสดงวา P(k + 1) เปนจริง
โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ 5
นั่นคือ n
2 > 2
n ทุกจํานวนนับ n ≥ 5
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 5
ตัวอยาง 1.1.5 จงพิสูจนวา 3
n ≤ n
2 ทุกจํานวนนับ n ≥ 10
วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ ซึ่ง n ≥ 10
ให P(n) แทนขอความ 3
n ≤ n
2
เนื่องจาก 3
10 = 1000 ≤ 1024 = 10
2
ดังนั้น P(10) เปนจริง
ให k เปนจํานวนนับใดๆ ซึ่ง k ≥ 10
สมมติวา P(k) เปนจริง
นั่นคือ สมมติวา 3
k ≤ k
2 ... (1)
ดังนั้น (k + 1)3
= 3
k + 3 2
k + 3k + 1
≤ k
2 + 3 2
k + 3k + 1 (จาก (1))
≤ k
2 + 3 2
k + 3 2
k + 3 2
k (เพราะวา k ≥ 10 เพราะฉะนั้น 3k ≤ 3 2
k , 1 ≤ 3 2
k )
= k
2 + 9 2
k
≤ k
2 + 3
k (เพราะวา k ≥ 10 เพราะฉะนั้น 9 2
k ≤ 3
k )
≤ k
2 + k
2 (จาก (1))
= k
2 (1 + 1)
= k
2 2
= 1k
2 +
เพราะฉะนั้น (k + 1)3
≤ 1k
2 +
แสดงวา P(k + 1) เปนจริง
โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ 10
นั่นคือ 3
n ≤ n
2 ทุกจํานวนนับ n ≥ 10
แคลคูลัส 26
แบบฝกหัด 1.1
จงพิสูจนขอความตอไปนี้โดยใชอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
1. 1 + 2 + 3 + ... + n = 2
)1n(n +
ทุกจํานวนนับ n
2. 3
1 + 3
3 + 3
5 + ... + (2n – 1)3
= 2
n (2 2
n – 1) ทุกจํานวนนับ n
3. 31
1
⋅
+ 42
1
⋅
+ 53
1
⋅
+ ... + )2n(n
1
+
= 2
1 ( 2
3 – 1n
1
+
– 2n
1
+
) ทุกจํานวนนับ n
4. (1 – 2
1 )(1 – 3
1 )(1 – 4
1 ) ... (1 – 1n
1
+
) = 1n
1
+
ทุกจํานวนนับ n
5. 1⋅3⋅5⋅...⋅(2n – 1) =
!n2
)!n2(
n
ทุกจํานวนนับ n
6. )x(f )n(
= 1n
nn
)1x2(
!n2)1(
+
+
−
ทุกจํานวนนับ n เมื่อ f(x) = 1x2
1
+
7. 3
n – n หารดวย 3 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n
8. n
5 + 3 หารดวย 4 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n
9. n
2 > 2n ทุกจํานวนนับ n ≥ 3
10. n
4 > 4
n ทุกจํานวนนับ n ≥ 5
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 7
1.2 ลําดับของจํานวนจริง
บทนิยาม 1.2.1 ลําดับของจํานวนจริง คือฟงกชันที่มีโดเมนเปน N และมีคาเปนจํานวนจริง
ตัวอยางเชน ถาให a เปนฟงกชันซึ่งมีคา a(n) = 2n
n
+
, n ∈ N
เราจะไดวา a เปนลําดับของจํานวนจริงลําดับหนึ่ง
ในกรณีของฟงกชัน a ใดๆ ที่เปนลําดับ เรานิยมเขียนบอกคา a(n) ดวยสัญลักษณ na
ดังนั้นลําดับ a ใดๆ จะเขียนไดเปน
a = {(1, 1a ), (2, 2a ), (3, 3a ), ... , (n, na ), ...}
เนื่องจากเปนที่เขาใจอยูแลววา na ตองคูกับ n ในคูอันดับ (n, na )
ดังนั้น เราจะเขียนบอกถึงลําดับ a ดวยสัญลักษณ { 1a , 2a , 3a , ... , na , ...}
หรือ 1a , 2a , 3a , ... , na , ...
หรือ { na }
เชน ถาเราเขียน { 2n
n
+
} จะหมายถึง
ลําดับ {(1, 3
1 ), (2, 2
1 ), (3, 5
3 ), ... , (n, 2n
n
+
), ...}
สําหรับลําดับ { na } ใดๆ เราเรียก na วา พจนที่ n ของลําดับ ในเรื่องของลําดับนี้
ปญหาที่เราสนใจคือ เมื่อ n มีคามากๆ พจนที่ n ของลําดับมีคาเขาใกล หรือเทากับจํานวนจริง
คาใดคาหนึ่งหรือไม ถามีจํานวนจริงดังกลาว เราจะเรียกจํานวนจริงนี้วา ลิมิตของลําดับ ซึ่งเรา
จะใหบทนิยามของลิมิตของลําดับดังตอไปนี้
บทนิยาม 1.2.2 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง และ L ∈ R เราจะกลาววา L เปน ลิมิต
ของลําดับ { na } ก็ตอเมื่อ สําหรับจํานวนจริงบวก ε ใดๆ เราสามารถหา 0n ∈ R ที่ทําให
| na – L | < ε ทุกจํานวนนับ n > 0n
และจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ
∞→n
lim na = L
หมายเหตุ บทนิยามของ
∞→n
lim na = L มีลักษณะเชนเดียวกับบทนิยามของ
∞→x
lim f(x) = L
ทฤษฎีบท 1.2.1 ให t, r ∈ R เปนคาคงตัวใดๆ จะไดวา
1.
∞→n
lim
t
n
1 = 0 เมื่อ t > 0
2.
∞→n
lim n
r = 0 เมื่อ | r | < 1
แคลคูลัส 28
บทพิสูจน 1. ให ε > 0
เลือก 0n = ( ε
1 ) t
1
ให n เปนจํานวนนับใดๆ สมมติวา n > 0n ดังนั้น n > ( ε
1 ) t
1
t
n >
ε
1
ε > t
n
1
แสดงวา | t
n
1 – 0 | = t
n
1 < ε
ดังนั้น
∞→n
lim
t
n
1 = 0
ตัวอยาง 1.2.1 1.
∞→n
lim
n
1 = 0 2.
∞→n
lim 1
n n
=
∞→n
lim
3
2
1
n
= 0
3.
∞→n
lim ( 3
2 )n
= 0 4.
∞→n
lim (– 4
3 )n
= 0
นอกจากจะกลาวถึง
∞→n
lim na = L เมื่อ L ∈ R เราอาจจะกลาวถึง
∞→n
lim na = ∞
และ
∞→n
lim na = –∞ ในลักษณะเชนเดียวกับ
∞→x
lim f(x) = ∞ และ
∞→x
lim f(x) = –∞
ตามลําดับ ดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยาง 1.2.2 จงแสดงวา
∞→n
lim 2
n = ∞
วิธีทํา ให na = 2
n จะเห็นวา
∞→n
lim
na
1 =
∞→n
lim
2
n
1 = 0
และ na = 2
n > 0 ทุก n ∈ N
ดังนั้น
∞→n
lim na = ∞
นั่นคือ
∞→n
lim 2
n = ∞
ขอสังเกต จากทฤษฎีบท 1.2.1 จะไดวา
1.
∞→n
lim t
n = ∞ เมื่อ t > 0
2.
∞→n
lim n
r = ∞ เมื่อ r > 1
หมายเหตุ ในกรณีที่
∞→n
lim na = ∞ หรือ –∞ เราถือวา { na } ไมมีลิมิต
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 9
ทฤษฎีบท 1.2.2 ให { na }, { nb }, { nc } เปนลําดับของจํานวนจริง และ L, M, k ∈ R
โดยที่
∞→n
lim na = L และ
∞→n
lim nb = M จะไดวา
1.
∞→n
lim k = k เมื่อ k เปนคาคงตัว
2.
∞→n
lim k na = k
∞→n
lim na = kL เมื่อ k เปนคาคงตัว
3.
∞→n
lim ( na + nb ) =
∞→n
lim na +
∞→n
lim nb = L + M
4.
∞→n
lim ( na – nb ) =
∞→n
lim na –
∞→n
lim nb = L – M
5.
∞→n
lim ( na nb ) = (
∞→n
lim na )(
∞→n
lim nb ) = LM
6.
∞→n
lim (
n
n
b
a
) =
n
n
n
n
blim
alim
∞→
∞→ = M
L เมื่อ M ≠ 0
7.
∞→n
lim m
na = m n
n
lim a
→∞
= m L เมื่อ m L ∈ R, m ∈ N – {1}
8. ถามี 0n ∈ N ซึ่ง na ≤ nc ≤ nb ทุก n ≥ 0n และ L = M
แลวจะไดวา
∞→n
lim nc = L
บทพิสูจน 3. ให ε > 0
เนื่องจาก
∞→n
lim na = L และ
∞→n
lim nb = M ดังนั้น จะมี 1n , 2n ∈ R ซึ่ง
| na – L | <
2
ε ทุกจํานวนนับ n > 1n และ | nb – M | <
2
ε ทุกจํานวนนับ n > 2n
เลือก 0n = | 1n | + | 2n |
ให n เปนจํานวนนับใดๆ ซึ่ง n > 0n
ดังนั้น n > 1n และ n > 2n ซึ่งจะไดวา | na – L | <
2
ε และ | nb – M | <
2
ε
แสดงวา | ( na + nb ) – (L + M) | = | ( na – L) + ( nb – M) |
≤ | na – L | + | nb – M |
<
2
ε + 2
ε = ε
ดังนั้น
∞→n
lim ( na + nb ) = L + M
ทฤษฎีบท 1.2.3 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง
จะไดวา
∞→n
lim na = 0 ก็ตอเมื่อ
∞→n
lim | na | = 0
แคลคูลัส 210
ตัวอยาง 1.2.3 จงหาคาลิมิตตอไปนี้
1.
∞→n
lim
3 3
2
1nn
1n9
++
+ 2.
∞→n
lim (n – n )
3.
∞→n
lim
nn
ncos 4.
∞→n
lim
n
( 1)
n
−
วิธีทํา 1.
∞→n
lim
3 3
2
1nn
1n9
++
+ =
∞→n
lim
2
3
3
1n( 9 )
n
1n(1 1 )
n
+
+ +
=
∞→n
lim
2
3
3
19
n
11 1
n
+
+ +
= 3 011
09
++
+
= 2
3
2. เพราะวา
∞→n
lim
nn
1
−
=
∞→n
lim
n
11
n
1
−
= 01
0
−
= 0
และ n – n = n ( n – 1) > 0 ทุกจํานวนนับ n > 1
เพราะฉะนั้น
∞→n
lim (n – n ) = ∞
3. เนื่องจาก –1 ≤ cosn ≤ 1 ทุก n ∈ N
ดังนั้น
nn
1− ≤
nn
ncos ≤
nn
1 ทุก n ∈ N
และ
∞→n
lim (
nn
1− ) = 0 =
∞→n
lim
nn
1
เราจึงสรุปไดวา
∞→n
lim
nn
ncos = 0
4. เพราะวา
∞→n
lim |
n
( 1)
n
−
| =
∞→n
lim 1
n
= 0 เพราะฉะนั้น
∞→n
lim
n
( 1)
n
−
= 0
บทนิยาม 1.2.3 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง เราจะกลาววา { na } เปน ลําดับลูเขา
ก็ตอเมื่อ มีจํานวนจริง L ซึ่ง
∞→n
lim na = L
และจะกลาววา { na } เปน ลําดับลูออก ก็ตอเมื่อ { na } ไมเปนลําดับลูเขา
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 11
ตัวอยาง 1.2.4 จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
1. { 1nn2
−+ – n} 2. { nn
nn
3
2
π−
π+ }
3. {
1n
)1n(
8
5
+
+
}
วิธีทํา 1.
∞→n
lim ( 1nn2
−+ – n) =
∞→n
lim
n1nn
)n1nn)(n1nn(
2
22
+−+
+−+−−+
=
∞→n
lim
n1nn
n1nn
2
22
+−+
−−+
=
∞→n
lim
1
n
1
n
11
n
11
2
+−+
−
= 1 0
1 0 0 1
−
+ + +
= 2
1
ดังนั้น { 1nn2
−+ – n} เปนลําดับลูเขา
2.
∞→n
lim
nn
nn
3
2
π−
π+ =
∞→n
lim
1)3(
1)2(
n
n
−
π
+
π = 10
10
−
+ = –1
ดังนั้น { nn
nn
3
2
π−
π+ } เปนลําดับลูเขา
3. ให na =
1n
)1n(
8
5
+
+
จะเห็นวา
∞→n
lim
na
1 =
∞→n
lim
5
8
)1n(
1n
+
+
=
∞→n
lim
55
8
4
)
n
11(n
n
11n
+
+
=
∞→n
lim ( n
1 )( 5
8
)
n
11(
n
11
+
+
)
= (0)( 5
1 0
(1 0)
+
+
)
= (0)(1) = 0
แคลคูลัส 212
และ na =
1n
)1n(
8
5
+
+
> 0 ทุก n ∈ N
แสดงวา
∞→n
lim na = ∞
นั่นคือ
∞→n
lim
1n
)1n(
8
5
+
+
= ∞
ดังนั้น {
1n
)1n(
8
5
+
+
} เปนลําดับลูออก
เนื่องจาก
∞→n
lim na = L, ∞ หรือ –∞ และ
∞→x
lim f(x) = L, ∞ หรือ –∞ มีลักษณะ
คลายกันตามลําดับ ดังนั้น ในบางกรณีเราอาจจะหา
∞→n
lim na ไดจากการหา
∞→x
lim f(x) เมื่อ
f เปนฟงกชันคาจริงที่กําหนดบนชวง [1, ∞) และ f(n) = na ทุก n ∈ N
กลาวคือ ถา
∞→x
lim f(x) = L, ∞ หรือ –∞ แลว
∞→n
lim na =
∞→x
lim f(x)
ตัวอยาง 1.2.5 จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
1. {
n
2
2
n
} 2. { n
1
n }
วิธีทํา 1. ให f(x) =
x
2
2
x
เมื่อ x ≥ 1
จะไดวา
∞→x
lim f(x) =
∞→x
lim
x
2
2
x
(I.F. ∞
∞
)
=
∞→x
lim
x
2 n 2
2x
(I.F. ∞
∞ )
=
∞→x
lim
x 2
2 ( n 2)
2
= ∞
ดังนั้น
∞→n
lim
n
2
2
n
= ∞
แสดงวา {
n
2
2
n
} เปนลําดับลูออก
2. ให f(x) = x
1
x เมื่อ x ≥ 1
nf(x) = x
xn
จะไดวา
∞→x
lim nf(x) =
∞→x
lim
x
xn (I.F. ∞
∞ )
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 13
=
∞→x
lim
1
x
1
= 0
ดังนั้น
∞→x
lim f(x) = 0
e = 1
เราจะไดวา
∞→n
lim n
1
n = 1
แสดงวา { n
1
n } เปนลําดับลูเขา
ขอสังเกต ในตัวอยาง 1.2.5 เราไมสามารถใชกฎของโลปตาลโดยตรงกับลําดับได เพราะลําดับ
เปนฟงกชันที่ไมตอเนื่องและไมมีอนุพันธ
บทนิยาม 1.2.4 ให { kn } เปนลําดับของจํานวนนับ ซึ่ง 1n < 2n < 3n < ...
สําหรับลําดับ { na } ใดๆ ถาเราให kb = kna
จะไดวา { kb } เปนลําดับที่มีพจนที่ k เปนพจนที่ kn ของลําดับ { na }
เราจะเรียกลําดับ { kb } ที่ไดเชนนี้วา ลําดับยอย ของ { na }
ทฤษฎีบท 1.2.4 ถาลําดับ { na } มีลิมิตเปนจํานวนจริง L แลวจะไดวา ทุกลําดับยอยของ
{ na } ยอมมีลิมิตเปน L ดวย
หมายเหตุ
1. ถาลําดับ { na } มีลําดับยอยที่ลูออก แลวจะไดวา { na } เปนลําดับลูออกดวย
2. ถาลําดับ { na } มีลําดับยอยสองลําดับซึ่งมีลิมิตตางกัน แลวจะไดวา { na } ไมมีลิมิต
จึงไดวา { na } เปนลําดับลูออก
ตัวอยาง 1.2.6 จงแสดงวา { 1n
n)1( n
+
−
} เปนลําดับลูออก
วิธีทํา ให na = 1n
n)1( n
+
−
เมื่อ n ∈ N
ให kb = k2a
= 1k2
k2)1( k2
+
−
= 1k2
k2
+
เมื่อ k ∈ N
และ
∞→k
lim kb =
∞→k
lim
1k2
k2
+
=
∞→k
lim
k2
11
1
+
= 1
แคลคูลัส 214
ให kc = 1k2a − = 1)1k2(
)1k2()1( 1k2
+−
−− −
= k2
)1k2( −−
= –1 + k2
1 เมื่อ k ∈ N
และ
∞→k
lim kc =
∞→k
lim (–1 + k2
1 ) = –1
จะเห็นวา { kb } และ { kc } เปนลําดับยอยของ { na } ซึ่งมีลิมิตเปน 1 และ –1 ตามลําดับ
ดังนั้น { na } = { 1n
n)1( n
+
−
} เปนลําดับลูออก
บทนิยาม 1.2.5 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง
เราจะกลาววา { na } มีขอบเขต ก็ตอเมื่อ มีจํานวนจริงบวก M ซึ่ง | na | ≤ M ทุก n ∈ N
บทนิยาม 1.2.6 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง เราจะกลาววา { na } เปน
1. ลําดับเพิ่ม ก็ตอเมื่อ na < 1na + ทุก n ∈ N
2. ลําดับลด ก็ตอเมื่อ na > 1na + ทุก n ∈ N
3. ลําดับไมเพิ่ม ก็ตอเมื่อ na ≥ 1na + ทุก n ∈ N
4. ลําดับไมลด ก็ตอเมื่อ na ≤ 1na + ทุก n ∈ N
หมายเหตุ จะเห็นวา ลําดับเพิ่มยอมเปนลําดับไมลดดวย และลําดับลดยอมเปนลําดับไมเพิ่ม
ดวย
บทนิยาม 1.2.7 { na } เปน ลําดับทางเดียว ก็ตอเมื่อ { na } เปนลําดับไมเพิ่มหรือเปน
ลําดับไมลด
ทฤษฎีบท 1.2.5 ถา { na } เปนลําดับลูเขาแลว { na } มีขอบเขต
จากทฤษฎีบท 1.2.5 จะไดวา ถา { na } เปนลําดับที่ไมมีขอบเขตแลว { na } จะเปน
ลําดับลูออก เชน {n} เปนลําดับที่ไมมีขอบเขต ดังนั้น {n} เปนลําดับลูออก
หมายเหตุ บทกลับของทฤษฎีบท 1.2.5 ไมเปนจริง กลาวคือ ลําดับที่มีขอบเขตอาจจะเปน
ลําดับลูออกก็ได เชน ลําดับ { 1n
n)1( n
+
−
}
เพราะวา | 1n
n)1( n
+
−
| = 1n
n
+
≤ 1 ทุก n ∈ N เพราะฉะนั้น { 1n
n)1( n
+
−
} เปนลําดับมีขอบเขต
แต { 1n
n)1( n
+
−
} เปนลําดับลูออก (ตัวอยาง 1.2.6)
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 15
ทฤษฎีบท 1.2.6
ถา { na } มีขอบเขตและเปนลําดับทางเดียว แลวจะไดวา { na } เปนลําดับลูเขา
ตัวอยาง 1.2.7 จงแสดงวา { !n
2n
} เปนลําดับลูเขา
วิธีทํา ให na = !n
2n
เมื่อ n ∈ N
ดังนั้น 1na + = )!1n(
2 1n
+
+
พิจารณา 1na + – na = )!1n(
2 1n
+
+
– !n
2n
= !n
2n
( 1n
2
+
– 1)
= !n
2n
( 1n
1n2
+
−− )
= )!1n(
)n1(2n
+
−
≤ 0 ทุก n ∈ N
ดังนั้น 1na + ≤ na ทุก n ∈ N
นั่นคือ { na } = { !n
2n
} เปนลําดับไมเพิ่ม ... (1)
เนื่องจาก na > 0 ทุก n ∈ N
และ 1a ≥ 2a ≥ 3a ≥ ...
ดังนั้น | na | = na ≤ 1a = 2 ทุก n ∈ N
แสดงวา | !n
2n
| ≤ 2 ทุก n ∈ N
นั่นคือ { !n
2n
} มีขอบเขต ... (2)
จาก (1) และ (2) สรุปไดวา { !n
2n
} เปนลําดับลูเขา
ขอสังเกต จากตัวอยาง 1.2.7 เราอาจจะแสดงวา 1na + ≤ na ทุก n ∈ N ไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้
เพราะวา
n
1n
a
a + = )!1n(
2 1n
+
+
n
2
!n = 1n
2
+
≤ 1 ทุก n ∈ N
และ na > 0 ทุก n ∈ N
เพราะฉะนั้น 1na + ≤ na ทุก n ∈ N
แคลคูลัส 216
แบบฝกหัด 1.2
1. จงหาคาลิมิตตอไปนี้
1.1
∞→n
lim
3 3
2
2n
n1n4
+
++ 1.2
∞→n
lim ( 1n2
+ – n)
1.3
∞→n
lim
63
27
)1n2()2n3(
)1n3()1n2(
−+
−+
1.4
∞→n
lim
n
)1( n
−
1.5
∞→n
lim (1 – n
1 )
n
1.6
∞→n
lim
1n
n32
+
−
1.7
∞→n
lim nsin( n
2 ) 1.8
∞→n
lim
ne
ne
n
2n
+
+
1.9
∞→n
lim
1n
n2)nsin(
2
2
+
−
1.10
∞→n
lim
3 3
42
4nn3
1nn
++
++
1.11
∞→n
lim
)1n(n
)1n3(n
2
+
+
1.12
∞→n
lim
ncos
n
2
2. จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
2.1 { n
nn } 2.2 {
1n
)1n2(
4
2
+
+
}
2.3 {cos(nπ)} 2.4 { 2
n – 1n3n 24
++ }
2.5 { 2n
)
2
nsin(n
+
π
} 2.6 { nn
n
32
19
+
+ }
2.7 {
)1e(n
n
n
+
} 2.8 {
12
23
n
n
+
+ }
2.9 {
)2e(n
)1nn2(e
nn4
34n
+
++
} 2.10 {
2)1(n
n
n
+−
}
2.11 { 1n2
)1(n n
+
−+
} 2.12 { )!n2(
2!n n
}
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 17
1.3 ลําดับของจํานวนเชิงซอน
บทนิยาม 1.3.1 ลําดับของจํานวนเชิงซอน คือ ฟงกชันที่มีโดเมนเปน N และมีคาเปน
จํานวนเชิงซอน
บทนิยาม 1.3.2 ให { nz } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน และ z ∈ C
เราจะกลาววา z เปน ลิมิต ของลําดับ { nz } ก็ตอเมื่อ สําหรับจํานวนจริงบวก ε ใด ๆ
เราสามารถหา 0n ∈ R ที่ทําให | nz – z | < ε ทุกจํานวนนับ n > 0n
และจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ
∞→n
lim nz = z
บทนิยาม 1.3.3 ให { nz } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน
เราจะกลาววา { nz } เปน ลําดับลูเขา ก็ตอเมื่อ { nz } มีลิมิตเปนจํานวนเชิงซอน
และจะกลาววา { nz } เปน ลําดับลูออก ก็ตอเมื่อ { nz } ไมเปนลําดับลูเขา
ทฤษฎีบท 1.3.1 ให nz = nx + i ny และ z = x + iy โดยที่ nz , z ∈ C
และ nx , ny , x, y ∈ R
จะไดวา
∞→n
lim nz = z ก็ตอเมื่อ
∞→n
lim nx = x และ
∞→n
lim ny = y
หมายเหตุ จากทฤษฎีบท 1.3.1 เราอาจกลาวไดวา
1. { nz } เปนลําดับลูเขา ก็ตอเมื่อ { nx } และ { ny } เปนลําดับลูเขา
2. ในกรณีที่ { nz } เปนลําดับลูเขา จะไดวา
∞→n
lim nz =
∞→n
lim nx + i
∞→n
lim ny
ตัวอยาง 1.3.1 จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
1. { 2n
n2
+
+ i n
1
n } 2. {n + n
i }
3. { in1
n
−
} 4. { n
i }
วิธีทํา
1. เนื่องจาก
∞→n
lim
2n
n2
+
=
∞→n
lim
n
21
2
+
= 2 และ
∞→n
lim n
1
n = 1 (ตัวอยาง 1.2.5 ขอ 2.)
ดังนั้น
∞→n
lim ( 2n
n2
+
+ i n
1
n ) = 2 + i
แสดงวา { 2n
n2
+
+ i n
1
n } เปนลําดับลูเขา
แคลคูลัส 218
2. เนื่องจาก
∞→n
lim n = ∞
ดังนั้น
∞→n
lim n ไมมีคา
เราจึงสรุปไดวา {n + n
i } ไมมีลิมิต
แสดงวา {n + n
i } เปนลําดับลูออก
3. เพราะวา in1
n
−
= ( in1
n
−
)( in1
in1
+
+ )
= 2
2
n1
inn
+
+
= 2
n1
n
+
+ 2
2
n1
in
+
และ
∞→n
lim
2
n1
n
+
=
∞→n
lim
1
n
1
n
1
2
+
= 0
และ
∞→n
lim
2
2
n1
n
+
=
∞→n
lim
1
n
1
1
2
+
= 1
เพราะฉะนั้น
∞→n
lim
in1
n
−
= 0 + i = i
แสดงวา { in1
n
−
} เปนลําดับลูเขา
4. ให n
i = nx + i ny โดยที่ nx , ny ∈ R
พิจารณาลําดับ { nx }
ให kb = k4x
เพราะวา k4
i = ( 4
i )k
= (1)k
= 1 เพราะฉะนั้น kb = 1
ดังนั้น
∞→k
lim kb = 1
ให kc = 2k4x +
เพราะวา 2k4
i +
= k4
i 2
i = (1)(–1) = –1 เพราะฉะนั้น kc = –1
ดังนั้น
∞→k
lim kc = –1
แสดงวา { kb } และ { kc } เปนลําดับยอยของ { nx } ที่มีลิมิตตางกัน
นั่นคือ { nx } เปนลําดับลูออก
แสดงวา { n
i } เปนลําดับลูออก
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 19
ทฤษฎีบท 1.3.2 ให { nz } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน และ z ∈ C จะไดวา
1. ถา
∞→n
lim nz = z แลว
∞→n
lim | nz | = | z |
2.
∞→n
lim nz = 0 ก็ตอเมื่อ
∞→n
lim | nz | = 0
บทพิสูจน 1. สมมติวา
∞→n
lim nz = z
ให nz = nx + i ny และ z = x + iy โดยที่ nx , ny , x, y ∈ R
จากทฤษฎีบท 1.3.1 จะได
∞→n
lim nx = x และ
∞→n
lim ny = y
ดังนั้น
∞→n
lim | nz | =
∞→n
lim 2
n
2
n yx +
= 22
yx +
= | z |
หมายเหตุ
1. บทกลับของทฤษฎีบท 1.3.2 ขอ 1. ไมเปนจริง เชน ให nz = n
i จะเห็นวา
∞→n
lim | nz | = 1 แต { nz } ไมมีลิมิต (ตัวอยาง 1.3.1 ขอ 4.)
2. จากทฤษฎีบท 1.3.2 ขอ 1. จะไดวา ถา
∞→n
lim | nz | ไมมีคา แลว
∞→n
lim nz ไมมีคา
ตัวอยาง 1.3.2 จงหาลิมิตตอไปนี้
1.
∞→n
lim (3 + 4i)n
2.
∞→n
lim
n
in
วิธีทํา 1. พิจารณา
∞→n
lim | (3 + 4i)n
| =
∞→n
lim | 3 + 4i |n
=
∞→n
lim n
5
= ∞
ดังนั้น
∞→n
lim | (3 + 4i)n
| ไมมีคา แสดงวา
∞→n
lim (3 + 4i)n
ไมมีคา
2. พิจารณา
∞→n
lim | n
in
| =
∞→n
lim
n
i || n
=
∞→n
lim
n
| i |
n
=
∞→n
lim
n
1
= 0
เพราะฉะนั้น
∞→n
lim
n
in
= 0
แคลคูลัส 220
ขอสังเกต ในกรณีที่
∞→n
lim | nz | = L เมื่อ L ∈ R – {0}
เราไมสามารถสรุปไดวา
∞→n
lim nz มีคาหรือไม
ทฤษฎีบท 1.3.3 ให { nz }, { nw } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน
และ z, w, k ∈ C ซึ่ง
∞→n
lim nz = z และ
∞→n
lim nw = w จะไดวา
1.
∞→n
lim k = k เมื่อ k เปนคาคงตัว
2.
∞→n
lim k nz = kz เมื่อ k เปนคาคงตัว
3.
∞→n
lim ( nz + nw ) = z + w
4.
∞→n
lim ( nz – nw ) = z – w
5.
∞→n
lim ( nz nw ) = zw
6.
∞→n
lim (
n
n
w
z
) = w
z เมื่อ w ≠ 0
ตัวอยาง 1.3.3 จงหาลิมิตตอไปนี้
1.
∞→n
lim
i24
i23
nn
n2n
−
+ 2.
∞→n
lim
3
4
)in)(ni21(
)ni21(
++
−
วิธีทํา 1.
∞→n
lim
i24
i23
nn
n2n
−
− =
∞→n
lim
n
n
3( ) i
4
21 ( ) i
4
−
−
= 0 i
1 0i
−
−
= –i
2.
∞→n
lim
3
4
)in)(ni21(
)ni21(
++
−
=
∞→n
lim
3
4
4
4
)in)(ni21(
n
1
)ni21(
n
1
++
−
=
∞→n
lim
3
3
4
4
)in(
n
1)ni21(
n
1
)ni21(
n
1
++
−
=
∞→n
lim
4
3
1( 2i)
n
1 1( 2i)(1 i)
n n
−
+ +
=
4
3
(0 2i)
(0 2i)(1 0i)
−
+ +
= 16
2i
= –8i
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 21
แบบฝกหัด 1.3
1. จงหาลิมิตตอไปนี้
1.1
∞→n
lim
in2
)ni1(n
2
+
−
1.2
∞→n
lim
1)n(ni1
inn
+−
+
1.3
∞→n
lim (2 – i) n−
1.4
∞→n
lim
i2
ie
n
n
−
1.5
∞→n
lim
n
)ncosin(sin 5
−
1.6
∞→n
lim
n
i
n
1.7
∞→n
lim
in3
nni2
n
n
−
+ 1.8
∞→n
lim
32
42
)in2(
)in3()in2(
+
−−
1.9
∞→n
lim
3
5
)in(
)i2(
−
+
1.10
∞→n
lim
n
nn
eincos
ie
+
+
2. จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
2.1 { in
ni
+
} 2.2 {n n
i }
2.3 { n
n
2
)ncosi(
} 2.4 {
in1
)in(
3
6
+
+
}
2.5 { n
)i1(
in
+
+ } 2.6 { n
)i3(
i
−
}
2.7 {
)1n(ni)1n(n
nni1
2
+++
+ } 2.8 { 5
4
)ni3(
)ni2(n
+
−
}
แคลคูลัส 222
1.4 อนุกรมของจํานวนจริง
บทนิยาม 1.4.1 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง และ
1S = 1a
2S = 1a + 2a
3S = 1a + 2a + 3a
:
nS = 1a + 2a + 3a + ... + na = ∑
=
n
1k
ka
เราจะเรียก nS วา ผลบวกยอย ของ n พจนแรกของ { na } และเรียก { nS } วา อนุกรมอนันต
ของจํานวนจริง (ตอไปเราจะเรียกสั้น ๆ วาอนุกรม)
ซึ่งจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∑
∞
=1n
na หรือ 1a + 2a + 3a + ... + na + ...
บทนิยาม 1.4.2 ถา { nS } เปนลําดับลูเขา ซึ่ง
∞→n
lim nS = S เมื่อ S ∈ R เราจะกลาววา
อนุกรม ∑
∞
=1n
na เปน อนุกรมลูเขา
และเรียก S วา ผลบวกของอนุกรม ซึ่งจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∑
∞
=1n
na = S
ถา { nS } เปนลําดับลูออก เราจะกลาววาอนุกรม ∑
∞
=1n
na เปน อนุกรมลูออก
หมายเหตุ
1. การเขียนสัญลักษณแทนอนุกรมนั้น เราอาจจะเริ่มดวยคา n ที่ไมใช 1 ก็ได
เชน ∑
∞
= 3n
na ซึ่งหมายถึง 3a + 4a + 5a + ...
2. ในกรณีที่ ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา
เราจะใชสัญลักษณ ∑
∞
=1n
na แทนคาผลบวกของอนุกรม
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 23
ทฤษฎีบท 1.4.1 ให ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมของจํานวนจริง และ m ∈ N จะไดวา
1. ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา ก็ตอเมื่อ ∑
∞
= mn
na เปนอนุกรมลูเขา
2. ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออก ก็ตอเมื่อ ∑
∞
= mn
na เปนอนุกรมลูออก
และในกรณีที่ ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา จะไดวา ∑
∞
= mn
na = ∑
∞
=1n
na – ∑
−
=
1m
1n
na
ตัวอยาง 1.4.1 จงพิจารณาวา อนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
)2n(n
1
+
2. ∑
∞
=1n
n( 1n
n
+
)
3. ∑
∞
=1n
)2n)(1n(n
1
++
วิธีทํา 1. ให na = )2n(n
1
+
= 2
1 ( n
1 – 2n
1
+
)
เพราะวา 1a = 2
1 (1 – 3
1 ) ได 1S = 2
1 (1 + 2
1 – 2
1 – 3
1 )
2a = 2
1 ( 2
1 – 4
1 ) ได 2S = 2
1 (1 + 2
1 – 3
1 – 4
1 )
3a = 2
1 ( 3
1 – 5
1 ) ได 3S = 2
1 (1 + 2
1 – 4
1 – 5
1 )
4a = 2
1 ( 4
1 – 6
1 ) ได 4S = 2
1 (1 + 2
1 – 5
1 – 6
1 )
5a = 2
1 ( 5
1 – 7
1 ) ได 5S = 2
1 (1 + 2
1 – 6
1 – 7
1 )
โดยการพิสูจนดวยอุปนัยเชิงคณิตศาสตรจะไดวา nS = 2
1 (1 + 2
1 – 1n
1
+
– 2n
1
+
)
จะเห็นวา
∞→n
lim nS = 2
1 ( 2
3 ) = 4
3
แสดงวา ∑
∞
=1n
)2n(n
1
+
เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
)2n(n
1
+
= 4
3
2. ให na = n( 1n
n
+
)
จะไดวา nS = 1a + 2a + 3a + ... + na
= n( 2
1 ) + n( 3
2 ) + n( 4
3 ) + ... + n( 1n
n
+
)
= n[( 2
1 )( 3
2 )( 4
3 ) ... ( 1n
n
+
)]
แคลคูลัส 224
= n( 1n
1
+
) (สามารถพิสูจนดวยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร)
= – n(n + 1)
เพราะวา
∞→n
lim nS =
∞→n
lim – n(n + 1) = –∞
เพราะฉะนั้น ∑
∞
=1n
n( 1n
n
+
) เปนอนุกรมลูออก
3. ให na = )2n)(1n(n
1
++
= 2
1 ( )1n(n
1
+
– )2n)(1n(
1
++
)
เพราะวา 1a = 2
1 ( 21
1
⋅
– 32
1
⋅
) ได 1S = 2
1 ( 21
1
⋅
– 32
1
⋅
)
2a = 2
1 ( 32
1
⋅
– 43
1
⋅
) ได 2S = 2
1 ( 21
1
⋅
– 43
1
⋅
)
3a = 2
1 ( 43
1
⋅
– 54
1
⋅
) ได 3S = 2
1 ( 21
1
⋅
– 54
1
⋅
)
4a = 2
1 ( 54
1
⋅
– 65
1
⋅
) ได 4S = 2
1 ( 21
1
⋅
– 65
1
⋅
)
โดยการพิสูจนดวยอุปนัยเชิงคณิตศาสตรจะไดวา nS = 2
1 ( 21
1
⋅
– )2n)(1n(
1
++
)
เพราะวา
∞→n
lim nS = 2
1 ( 2
1 ) = 4
1
แสดงวา ∑
∞
=1n
)2n)(1n(n
1
++
เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
)2n)(1n(n
1
++
= 4
1
ทฤษฎีบท 1.4.2 ถา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา
∞→n
lim na = 0
บทพิสูจน เนื่องจาก ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา
ดังนั้น จะมี S ∈ R ซึ่ง
∞→n
lim nS = S
ให ε > 0
เพราะฉะนั้นจะมี 1n ∈ R ซึ่ง | nS – S | <
2
ε ทุกจํานวนนับ n > 1n
เลือก 0n = | 1n | + 1
ให n เปนจํานวนนับใด ๆ ซึ่ง n > 0n
เพราะฉะนั้น n > 1n และ n – 1 > 1n จึงไดวา | nS – S | <
2
ε และ | 1nS − – S | <
2
ε
แสดงวา | na – 0 | = | na |
= | ( 1a + 2a + ... + 1na − + na ) – ( 1a + 2a + ... + 1na − ) |
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 25
= | nS – 1nS − |
= | ( nS – S) + (S – 1nS − ) |
≤ | nS – S | + | 1nS − – S |
<
2
ε + 2
ε
= ε
ดังนั้น สรุปไดวา
∞→n
lim na = 0
หมายเหตุ บทกลับของทฤษฎีบท 1.4.2 ไมเปนจริง กลาวคือ ถา
∞→n
lim na = 0 แลว ∑
∞
=1n
na
อาจจะเปนอนุกรมลูออกก็ได เชน
∞→n
lim n( 1n
n
+
) = 0 แต ∑
∞
=1n
n( 1n
n
+
) เปนอนุกรม
ลูออก (ตัวอยาง 1.4.1 ขอ 2.) ดังนั้น ในกรณีที่
∞→n
lim na = 0 เราจึงไมสามารถสรุปไดวา
∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
ทฤษฎีบท 1.4.3 (การทดสอบอนุกรมลูออก โดยพจนที่ n)
ถา
∞→n
lim na ≠ 0 แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออก
ตัวอยาง 1.4.2 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูออก
1. ∑
∞
=1n
1n
n
+
2. ∑
∞
=1n
n
วิธีทํา 1. เนื่องจาก
∞→n
lim
1n
n
+
=
∞→n
lim
n
11
1
+
= 1 ≠ 0
ดังนั้น ∑
∞
=1n
1n
n
+
เปนอนุกรมลูออก
2. เนื่องจาก
∞→n
lim n = ∞ แสดงวา
∞→n
lim n ≠ 0
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 226
บทนิยาม 1.4.3 อนุกรมเรขาคณิต คือ อนุกรมที่เขียนไดในรูป
∑
∞
=1n
a 1n
r −
= a + ar + a 2
r + ... + a 1n
r −
+ ...
ทฤษฎีบท 1.4.4 อนุกรมเรขาคณิต ∑
∞
=1n
a 1n
r −
เมื่อ a ≠ 0 จะเปนอนุกรมลูเขา เมื่อ | r | < 1
โดยมีผลบวกของอนุกรมเปน r1
a
−
และเปนอนุกรมลูออก เมื่อ | r | ≥ 1
ทฤษฎีบท 1.4.5 ให ∑
∞
=1n
na และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูเขา และ α, β ∈ R เปนคาคงตัว
ใด ๆ จะไดวา ∑
∞
=1n
(α na + β nb ) เปนอนุกรมลูเขา
และ ∑
∞
=1n
(α na + β nb ) = α ∑
∞
=1n
na + β ∑
∞
=1n
nb
บทพิสูจน ให nS = ∑
=
n
1k
ka
nT = ∑
=
n
1k
kb
nQ = ∑
=
n
1k
(α ka + β kb ) = α ∑
=
n
1k
ka + β ∑
=
n
1k
kb = α nS + β nT
เนื่องจาก ∑
∞
=1n
na และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูเขา
ดังนั้น จะมี S, T ∈ R ซึ่ง
∞→n
lim nS = S และ
∞→n
lim nT = T
เพราะฉะนั้น
∞→n
lim nQ =
∞→n
lim (α nS + β nT )
= α
∞→n
lim nS + β
∞→n
lim nT
= αS + βT
แสดงวา ∑
∞
=1n
(α na + β nb ) เปนอนุกรมลูเขา
และ ∑
∞
=1n
(α na + β nb ) = α ∑
∞
=1n
na + β ∑
∞
=1n
nb
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 27
ขอสังเกต
1. ถา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา และ c เปนคาคงตัวใด ๆ
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
c na เปนอนุกรมลูเขาดวย และ ∑
∞
=1n
c na = c ∑
∞
=1n
na
2. ถา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออก และ c ≠ 0 เปนคาคงตัวใด ๆ
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
c na เปนอนุกรมลูออก
ทฤษฎีบท 1.4.6 ถา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูออก
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
( na + nb ) เปนอนุกรมลูออก
บทพิสูจน สมมติวา ∑
∞
=1n
( na + nb ) เปนอนุกรมลูเขา
เนื่องจาก ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา (กําหนดให)
ดังนั้น ∑
∞
=1n
[( na + nb ) + (–1) na ] = ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูเขา
ซึ่งขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดใหวา ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูออก
แสดงวา ที่สมมติวา ∑
∞
=1n
( na + nb ) เปนอนุกรมลูเขา จึงเปนไปไมได
นั่นคือ ∑
∞
=1n
( na + nb ) เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 228
ขอสังเกต ถา ∑
∞
=1n
na และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูออก
แลว ∑
∞
=1n
( na + nb ) อาจจะเปนอนุกรมลูเขาหรือลูออกก็ได เชน
1. na = n, nb = –n, na + nb = 0 จะไดวา ∑
∞
=1n
na และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูออก
แต ∑
∞
=1n
( na + nb ) = ∑
∞
=1n
0 เปนอนุกรมลูเขา
2. na = n, nb = n, na + nb = 2n จะไดวา ∑
∞
=1n
na และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูออก
และ ∑
∞
=1n
( na + nb ) = ∑
∞
=1n
2n เปนอนุกรมลูออก
ตัวอยาง 1.4.3 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้ลูเขาหรือลูออก
ถาลูเขาจงหาผลบวกของอนุกรมนั้นดวย
1. ∑
∞
=1n
( n
2
3 + )2n(n
4
+
) 2. ∑
∞
=1n
((– 5
4 )n
+ n )
3. ∑
∞
=1n
( n
1
3
+ n( n
n 1+
))
วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
n
2
1 เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี a = 2
1 , r = 2
1 ซึ่ง | r | < 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
2
1 เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
n
2
1 =
2
11
2
1
−
= 1
จากตัวอยาง 1.4.1 ขอ 1. จะไดวา ∑
∞
=1n
)2n(n
1
+
เปนอนุกรมลูเขา
และ ∑
∞
=1n
)2n(n
1
+
= 4
3
เราจึงสรุปไดวา ∑
∞
=1n
( n
2
3 + )2n(n
4
+
) เปนอนุกรมลูเขา
และ ∑
∞
=1n
( n
2
3 + )2n(n
4
+
) = 3(1) + 4( 4
3 ) = 6
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 29
2. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
(– 5
4 )
n
เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี a = – 5
4 และ r = – 5
4 ซึ่ง | r | < 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
(– 5
4 )
n
เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
(– 5
4 )
n
=
)
5
4(1
5
4
−−
−
= – 9
4
เนื่องจาก
∞→n
lim n = ∞ แสดงวา
∞→n
lim n ≠ 0 ดังนั้น ∑
∞
=1n
n เปนอนุกรมลูออก
เราจึงสรุปไดวา ∑
∞
=1n
((– 5
4 )
n
+ n ) เปนอนุกรมลูออก
3. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
n
1
3
เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี a = 1
3
และ r = 1
3
ซึ่ง | r | < 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
1
3
เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
n
1
3
=
1
3
11
3
−
= 1
2
จากตัวอยาง 1.4.1 ขอ 2. จะไดวา ∑
∞
=1n
n( n
n 1+
) เปนอนุกรมลูออก
เราจึงสรุปไดวา ∑
∞
=1n
( n
1
3
+ n( n
n 1+
)) เปนอนุกรมลูออก
หมายเหตุ จากตัวอยาง 1.4.3 ขอ 2. เราอาจแสดงวา ∑
∞
=1n
((– 5
4 )
n
+ n ) เปนอนุกรม
ลูออก โดยใชเหตุผลวา
∞→n
lim ((– 5
4 )
n
+ n ) = ∞ แสดงวา
∞→n
lim ((– 5
4 )
n
+ n ) ≠ 0
เพราะฉะนั้น ∑
∞
=1n
((– 5
4 )
n
+ n ) เปนอนุกรมลูออก แตสําหรับตัวอยาง 1.4.3 ขอ 3.
เราไมสามารถใชเหตุผลดังกลาวได เพราะ
∞→n
lim ( n
1
3
+ n( n
n 1+
)) = 0
แคลคูลัส 230
แบบฝกหัด 1.4.1
จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถาลูเขา จงหาผลบวกของ
อนุกรมนั้นดวย
1. ∑
∞
=1n
)2n)(1n(
1
++
2. ∑
∞
=1n 1n3
1n
2
4
+
+
3. ∑
∞
=1n
( n
5
4 + (– 3
2 )
n
) 4. ∑
∞
=1n n3n
1
2
+
5. ∑
∞
=1n
nn
n2
32
2
+
6. ∑
∞
=1n
n(1 + n
1 )
7. ∑
∞
=1n
(
3n4n
1
2
++
+ n
4−
) 8. ∑
∞
=1n 1n4
1
2
−
9. ∑
∞
=1n
( 1n
n
+
)
n
10. ∑
∞
=1n n1n
1
++
11. ∑
∞
=1n
(n – 1n
n2
+
) 12. ∑
∞
=1n
)3n)(2n)(1n(
n
+++
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 31
ทฤษฎีบท 1.4.7 (การทดสอบแบบอินทิกรัล)
ให ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมของจํานวนจริง ซึ่ง na ≥ 0 และ f เปนฟงกชันคาจริง ซึ่งมีสมบัติดังนี้
1. f(n) = na ทุก n ∈ N
2. มี 0n ∈ N ซึ่ง f เปนฟงกชันไมเพิ่ม และมีความตอเนื่องบนชวง [ 0n , ∞)
3. nt = ∫
n
0n
f(x)dx , n ≥ 0n
จะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา ถา { nt } เปนลําดับลูเขา
และ ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออก ถา { nt } เปนลําดับลูออก
ตัวอยาง 1.4.4 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n 5n
n
2
+
2. ∑
∞
=1n
(
n
en
1 + n2( )
π
)
วิธีทํา 1. ให f(x) =
5x
x
2
+
เมื่อ x ≥ 1
จะได f′(x) = 22
2
)5x(
)x2(x)5x(
+
−+
= 22
2
)5x(
x5
+
− < 0 ทุก x ≥ 3
ดังนั้น f เปนฟงกชันลด และมีความตอเนื่องบนชวง [3, ∞)
ให nt = ∫
n
3
f(x)dx , n ≥ 3
= ∫
n
3
5x
x
2
+
dx
= [ 2
1 n( 2
x + 5) ] 3x
nx
=
=
= 2
1 n( 2
n + 5) – 2
1 n14
จะเห็นวา
∞→n
lim nt = ∞
เพราะฉะนั้น { nt } เปนลําดับลูออก
ดังนั้น ∑
∞
=1n 5n
n
2
+
เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 232
2. ให f(x) =
x
ex
1 เมื่อ x ≥ 1
จะได f′(x) =
2x
)ex(
1− [ x x
e
x2
1 + x
e
x2
1 ] < 0 ทุก x ≥ 1
ดังนั้น f เปนฟงกชันลด และมีความตอเนื่องบนชวง [1, ∞)
ให nt = ∫
n
1
f(x)dx, n > 1
= ∫
n
1
x
ex
1 dx
= [
x
e
2− ] 1x
nx
=
=
=
n
e
2− + e
2
จะเห็นวา
∞→n
lim nt = e
2
เพราะฉะนั้น { nt } เปนลําดับลูเขา
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
en
1 เปนอนุกรมลูเขา
เนื่องจาก ∑
∞
=1n
n2( )
π
เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี r = 2
π
ซึ่ง | r | < 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n2( )
π
เปนอนุกรมลูเขา
เราจึงสรุปไดวา ∑
∞
=1n
(
n
en
1 + n2( )
π
) เปนอนุกรมลูเขา
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 33
แบบฝกหัด 1.4.2
จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก โดยใชการทดสอบแบบอินทิกรัล
1. ∑
∞
=1n 1n
1
2
+
2. ∑
∞
=1n 1n2
1
−
3. ∑
∞
=1n
2n
)2n(n
+
+
4. ∑
∞
=1n nn
1
2
+
5. ∑
∞
=1n 1n
)narctan(
2
+
6. ∑
∞
=1n 6n
n
4
3
+
7. ∑
∞
=1n
2
n
)
n
1sin(
8. ∑
∞
=1n
)1n(n
1n2
+
+
9. ∑
∞
=1n
2
n
3n
e−
10. ∑
∞
=1n )12(n
2
nn
nn
+
−
−
แคลคูลัส 234
บทนิยาม 1.4.4 อนุกรมพี คือ อนุกรมที่เขียนไดในรูป ∑
∞
=1n
p
n
1 เมื่อ p ∈ R เปนคาคงตัว
ทฤษฎีบท 1.4.8 อนุกรมพีจะเปนอนุกรมลูเขา เมื่อ p > 1
และจะเปนอนุกรมลูออก เมื่อ p ≤ 1
บทพิสูจน ถา p < 0 แลวจะไดวา
∞→n
lim
p
n
1 = ∞
ถา p = 0 แลวจะไดวา
∞→n
lim
p
n
1 = 1
ดังนั้น ในกรณีที่ p ≤ 0 จะไดวา ∑
∞
=1n
p
n
1 เปนอนุกรมลูออก
พิจารณากรณีที่ p > 0
ให f(x) = p
x
1 ทุก x ≥ 1
จะได f′(x) = 1p
x
p
+
−
< 0 ทุก x ≥ 1
ดังนั้น f เปนฟงกชันลด และมีความตอเนื่องบนชวง [1, ∞)
ให nt = ∫
n
1
f(x)dx = ∫
n
1
p
x
1 dx, n ≥ 1
=
p 1 x nx
[ ] p 1x 1p 1
x n[ n x] p 1
x 1
− +⎧ =
≠⎪ =⎪ − +⎨
=⎪ =
=⎪⎩
เมื่อ
เมื่อ
= p 1
1 1
( 1) p 1
1 p n
n n p 1
−
⎧ − ≠⎪
−⎨
⎪ =⎩
เมื่อ
เมื่อ
จะไดวา
∞→n
lim nt =
⎪
⎩
⎪
⎨
⎧
>
−
−
≤∞
1p
p1
1
1p
เมื่อ
เมื่อ
ดังนั้น ในกรณีที่ 0 < p ≤ 1 จะไดวา ∑
∞
=1n
p
n
1 เปนอนุกรมลูออก
และ ในกรณีที่ p > 1 จะไดวา ∑
∞
=1n
p
n
1 เปนอนุกรมลูเขา
เราจึงสรุปไดวา ∑
∞
=1n
p
n
1 เปนอนุกรมลูเขา เมื่อ p > 1
และ ∑
∞
=1n
p
n
1 เปนอนุกรมลูออก เมื่อ p ≤ 1
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 35
ตัวอยาง 1.4.5 1. ∑
∞
=1n
3 n
1 เปนอนุกรมลูออก เพราะเปนอนุกรมพี ซึ่ง p = 3
1 < 1
2. ∑
∞
=1n
2
n
1 เปนอนุกรมลูเขา เพราะเปนอนุกรมพี ซึ่ง p = 2 > 1
ทฤษฎีบท 1.4.9 (การทดสอบโดยใชการเปรียบเทียบ)
ให ∑
∞
=1n
na , ∑
∞
=1n
nb และ ∑
∞
=1n
nc เปนอนุกรมของจํานวนจริง
1. ถามี 0n ∈ N ซึ่ง 0 ≤ na ≤ nb ทุก n ≥ 0n และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูเขา
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na จะเปนอนุกรมลูเขาดวย
2. ถามี 0n ∈ N ซึ่ง 0 ≤ nc ≤ na ทุก n ≥ 0n และ ∑
∞
=1n
nc เปนอนุกรมลูออก
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na จะเปนอนุกรมลูออกดวย
ตัวอยาง 1.4.6 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
n
2n
1 2. ∑
∞
=1n n
nn
วิธีทํา 1. เนื่องจาก 0 ≤ n
2n
1 ≤ n
2
1 ทุก n ∈ N
และ ∑
∞
=1n
n
2
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 2
1 )
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
2n
1 เปนอนุกรมลูเขา
2. เนื่องจาก 1 ≤ nn ทุก n ≥ 3
ดังนั้น 0 ≤
n
1 ≤
n
nn ทุก n ≥ 3
เพราะวา ∑
∞
=1n n
1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2
1 )
เพราะฉะนั้น ∑
∞
=1n n
nn เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 236
ทฤษฎีบท 1.4.10 (การทดสอบโดยใชการเปรียบเทียบดวยลิมิต)
ให ∑
∞
=1n
na และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมของจํานวนจริง ซึ่ง na ≥ 0 และ nb > 0 ทุก n ∈ N
1. ถา
∞→n
lim
n
n
b
a
= c > 0
แลวจะไดวา อนุกรมทั้งสองจะลูเขาดวยกันหรือไมก็ลูออกดวยกัน
2. ถา
∞→n
lim
n
n
b
a
= 0 และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูเขา
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขาดวย
3. ถา
∞→n
lim
n
n
b
a
= ∞ และ ∑
∞
=1n
nb เปนอนุกรมลูออก
แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออกดวย
ตัวอยาง 1.4.7 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n 1nn3
1n
2
2
++
+ 2. ∑
∞
=1n
nn
n
35
2
−
3. ∑
∞
=1n
n
2
n 4. ∑
∞
=1n
)1n(n
1
+
วิธีทํา 1. ให na =
1nn3
1n
2
2
++
+ และ nb = n
1
จะเห็นวา ∑
∞
=1n
nb = ∑
∞
=1n
n
1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 1)
และ
∞→n
lim
n
n
b
a
=
∞→n
lim
1nn3
1nn
2
2
++
+
=
∞→n
lim
2
2
n
1
n
13
n
11
++
+
= 3
1 > 0
ดังนั้น ∑
∞
=1n
na = ∑
∞
=1n 1nn3
1n
2
2
++
+ เปนอนุกรมลูออก
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 37
2. ให na = nn
n
35
2
−
และ nb = ( 5
2 )
n
จะเห็นวา ∑
∞
=1n
nb = ∑
∞
=1n
( 5
2 )
n
เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 5
2 )
และ
∞→n
lim
n
n
b
a
=
∞→n
lim ( nn
n
35
2
−
)( 2
5 )
n
=
∞→n
lim
nn
n
35
5
−
=
∞→n
lim
n
)
5
3(1
1
−
= 1 > 0
ดังนั้น ∑
∞
=1n
na = ∑
∞
=1n
nn
n
35
2
−
เปนอนุกรมลูเขา
3. ให na = n
2
n และ nb =
2
3
n
1
จะเห็นวา ∑
∞
=1n
nb = ∑
∞
=1n 2
3
n
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2
3 )
และ
∞→n
lim
n
n
b
a
=
∞→n
lim
n
2
2
n
= 0 (ตัวอยาง 1.2.5 ขอ 1.)
ดังนั้น ∑
∞
=1n
na = ∑
∞
=1n
n
2
n เปนอนุกรมลูเขา
4. ให na = )1n(n
1
+
และ nb = n
1
จะเห็นวา ∑
∞
=1n
nb = ∑
∞
=1n
n
1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 1)
และ
∞→n
lim
n
n
b
a
=
∞→n
lim
)1n(n
n
+
ให f(x) = )1x(n
x
+
, x ≥ 1
จะไดวา
∞→x
lim f(x) =
∞→x
lim
)1x(n
x
+
(I.F. ∞
∞ )
=
∞→x
lim
1x
1
1
+
=
∞→x
lim (x + 1) = ∞
เพราะฉะนั้น
∞→n
lim
n
n
b
a
= ∞
ดังนั้น ∑
∞
=1n
na = ∑
∞
=1n
)1n(n
1
+
เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 238
แบบฝกหัด 1.4.3
จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
4
2
)1n2(
1n
−
+ 2. ∑
∞
=1n
( n
ncos )2
3. ∑
∞
=1n )1n(nn
1
+
4. ∑
∞
=1n 43n
3
n
n
+
5. ∑
∞
=1n 1n
1n
3
3 2
+
+ 6. ∑
∞
=1n nn
nn
7. ∑
∞
=1n
n
)1(n
n
−+
8. ∑
∞
=1n )2n(ne
nn
n
+
9. ∑
∞
=1n 23n
n
n
−
10. ∑
∞
=1n
(n + 2)
nn2−
11. ∑
∞
=1n
n
2
nn 12. ∑
∞
=1n
2
n
4
−
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 39
บทนิยาม 1.4.5 ถา na > 0 ทุก n ∈ N เราเรียกอนุกรมที่เขียนไดในรูป
∑
∞
=1n
(–1) 1n+
na = 1a – 2a + 3a – 4a + ... + (–1) 1n+
na + ...
หรือ ∑
∞
=1n
(–1)n
na = – 1a + 2a – 3a + ... + (–1)n
na + ...
วา อนุกรมสลับ
ทฤษฎีบท 1.4.11 อนุกรมสลับ ∑
∞
=1n
(–1)n
na เปนอนุกรมลูเขา ถา
1.
∞→n
lim na = 0
และ 2. มี 0n ∈ N ซึ่ง 1na + < na ทุก n ≥ 0n
ขอสังเกต ในกรณีที่
∞→n
lim na ≠ 0
เราจะไดวา
∞→n
lim | (–1)n
na | =
∞→n
lim na ≠ 0
ดังนั้น
∞→n
lim (–1)n
na ≠ 0
เพราะฉะนั้น ถา
∞→n
lim na ≠ 0 แลว ∑
∞
=1n
(–1)n
na เปนอนุกรมลูออก
ตัวอยาง 1.4.8 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
n
)1( n
−
2. ∑
∞
=1n nn3
)1(
n
n
+
−
3. ∑
∞
=1n
1n
n)1( n
+
−
วิธีทํา 1. ในที่นี้ na = n
1
จะไดวา
∞→n
lim na =
∞→n
lim
n
1 = 0
เพราะวา 1na + = 1n
1
+
และ 1n
1
+
<
n
1 ทุก n ∈ N
เพราะฉะนั้น 1na + < na ทุก n ∈ N
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
)1( n
−
เปนอนุกรมลูเขา
แคลคูลัส 240
2. ในที่นี้ na =
nn3
1
n
+
จะไดวา
∞→n
lim na =
∞→n
lim
nn3
1
n
+
= 0
ให f(x) =
xn3
1
x
+
เมื่อ x ≥ 1
ดังนั้น f′(x) = 2x
)xn3(
1
+
− ( x
3 n3 + x
1 ) < 0 ทุก x ≥ 1
แสดงวา f เปนฟงกชันลด
เพราะฉะนั้น f(n + 1) < f(n) ทุก n ∈ N
นั่นคือ 1na + < na ทุก n ∈ N
ดังนั้น ∑
∞
=1n nn3
)1(
n
n
+
−
เปนอนุกรมลูเขา
3. ในที่นี้ na = 1n
n
+
จะไดวา
∞→n
lim na =
∞→n
lim
1n
n
+
=
∞→n
lim
n
11
1
+
= 1 ≠ 0
ดังนั้น ∑
∞
=1n
1n
n)1( n
+
−
เปนอนุกรมลูออก
ทฤษฎีบท 1.4.12 ถา ∑
∞
=1n
| na | เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา
บทพิสูจน ให nb = 2
a|a| nn +
และ nc = 2
a|a| nn −
เนื่องจาก –| na | ≤ na ≤ | na |
ดังนั้น 0 ≤ nb ≤ | na | และ 0 ≤ nc ≤ | na | ทุก n ∈ N
เพราะวา ∑
∞
=1n
| na | เปนอนุกรมลูเขา
เพราะฉะนั้น ∑
∞
=1n
nb และ ∑
∞
=1n
nc เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1.)
ดังนั้น ∑
∞
=1n
( nb – nc ) = ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.5)
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 41
หมายเหตุ
1. บทกลับของทฤษฎีบท 1.4.12 ไมจริง
กลาวคือ ถา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา แลว ∑
∞
=1n
| na | อาจจะเปนอนุกรมลูออกก็ได
ตัวอยางเชน ∑
∞
=1n
n
)1(
n
−
เปนอนุกรมลูเขา แต ∑
∞
=1n
n
1 เปนอนุกรมลูออก
∑
∞
=1n
n
n
2
)1(−
เปนอนุกรมลูเขา และ ∑
∞
=1n
n
2
1 เปนอนุกรมลูเขา
2. ในกรณีที่ ∑
∞
=1n
| na | เปนอนุกรมลูออก
เราไมสามารถสรุปไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ตัวอยางเชน
∑
∞
=1n
| n
)1(
n
−
| = ∑
∞
=1n
n
1 เปนอนุกรมลูออก แต ∑
∞
=1n
n
)1(
n
−
เปนอนุกรมลูเขา
∑
∞
=1n
| n
( 1)− 2
n | = ∑
∞
=1n
2
n เปนอนุกรมลูออก และ ∑
∞
=1n
n
( 1)− 2
n เปนอนุกรมลูออก
ตัวอยาง 1.4.9 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขา
1. ∑
∞
=1n
n4
)3ncos(
2. ∑
∞
=1n
2
n
n
)1(−
วิธีทํา 1. พิจารณา ∑
∞
=1n
|
3
cos(n )
n4
| = ∑
∞
=1n
n4
)3ncos( || ... (1)
เพราะวา 0 ≤ | cos 3
(n ) | ≤ 1 ทุก n ∈ N
0 ≤
3
cos(n )
n4
| | ≤
n4
1 ทุก n ∈ N
และ ∑
∞
=1n
n4
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 4
1 )
โดยทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1. จะไดวา
∑
∞
=1n
|
3cos(n )
n4
| = ∑
∞
=1n
n4
)3ncos( || เปนอนุกรมลูเขา
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n4
)3ncos(
เปนอนุกรมลูเขา
แคลคูลัส 242
2. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
| 2
n
n
)1(−
| = ∑
∞
=1n
2
n
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2)
ดังนั้น ∑
∞
=1n
2
n
n
)1(−
เปนอนุกรมลูเขา
บทนิยาม 1.4.6 ∑
∞
=1n
na เปน อนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ ถา ∑
∞
=1n
| na | เปนอนุกรมลูเขา
∑
∞
=1n
na เปน อนุกรมลูเขาแบบมีเงื่อนไข ถา ∑
∞
=1n
| na | เปนอนุกรมลูออก
แต ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขา
ตัวอยาง 1.4.10 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณหรือลูเขาแบบมี
เงื่อนไข
1. ∑
∞
=1n
n
3
( 1) n
n 4
−
+
2. ∑
∞
=1n
)1n(n
)1(
n
+
−
3. ∑
∞
=1n
( 1n
1
+
− )
n
วิธีทํา 1. พิจารณา ∑
∞
=1n
|
n
3
( 1) n
n 4
−
+
| ≤ ∑
∞
=1n
3
n
n 4+
เนื่องจาก 3
n ≤ 3
n + 4 ทุก n ∈ N
ดังนั้น 3
1
n 4+
≤ 3
1
n
ทุก n ∈ N
0 ≤ 3
n
n 4+
≤ 3
n
n
≤ 2
1
n
ทุก n ∈ N
เพราะวา ∑
∞
=1n
2
1
n
เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2)
เพราะฉะนั้น ∑
∞
=1n
3
n
n 4+
เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1.)
นั่นคือ ∑
∞
=1n
|
n
3
( 1) n
n 4
−
+
| เปนอนุกรมลูเขา
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
3
( 1) n
n 4
−
+
เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 43
2. พิจารณา ∑
∞
=1n
| )1n(n
)1(
n
+
−
| = ∑
∞
=1n
)1n(n
1
+
จากตัวอยาง 1.4.7 ขอ 4. จะไดวา ∑
∞
=1n
)1n(n
1
+
เปนอนุกรมลูออก
ดังนั้น ∑
∞
=1n
| )1n(n
)1(
n
+
−
| เปนอนุกรมลูออก
ให na = )1n(n
1
+
จะไดวา
∞→n
lim na =
∞→n
lim
)1n(n
1
+
= 0
และ 1na + = )2n(n
1
+
เนื่องจาก n เปนฟงกชันเพิ่ม ดังนั้น 0 < n(n + 1) < n(n + 2) ทุก n ∈ N
)2n(n
1
+
<
)1n(n
1
+
ทุก n ∈ N
นั่นคือ 1na + < na ทุก n ∈ N
ดังนั้น ∑
∞
=1n
)1n(n
)1(
n
+
−
เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.11)
แสดงวา ∑
∞
=1n
)1n(n
)1(
n
+
−
เปนอนุกรมลูเขาแบบมีเงื่อนไข
3. พิจารณา ∑
∞
=1n
| ( 1n
1
+
− )
n
| = ∑
∞
=1n
n
)1n(
1
+
เนื่องจาก 0 ≤
1n
1
+
≤
2
1 ทุก n ∈ N
ดังนั้น 0 ≤ n
)1n(
1
+
≤ n
2
1 ทุก n ∈ N
เพราะวา ∑
∞
=1n
n
2
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 2
1 )
เพราะฉะนั้น ∑
∞
=1n
n
)1n(
1
+
เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1.)
นั่นคือ ∑
∞
=1n
| ( 1n
1
+
− )
n
| เปนอนุกรมลูเขา
ดังนั้น ∑
∞
=1n
( 1n
1
+
− )
n
เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
แคลคูลัส 244
แบบฝกหัด 1.4.4
จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาเปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
หรือลูเขาแบบมีเงื่อนไข
1. ∑
∞
=1n n
)1( n
−
2. ∑
∞
=1n
)2n(n
n
+
3. ∑
∞
=1n
nn
n
2
)1(−
4. ∑
∞
=1n 1nn
n)1(
4
2n
+−
−
5. ∑
∞
=1n 1n
)1(
2
n
+
−
6. ∑
∞
=1n
nn
n2n
34
2)1(
+
−
7. ∑
∞
=1n 1n4
narctan
3
−
8. ∑
∞
=1n )1e(n
)1(
n
n
+
−
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 45
ทฤษฎีบท 1.4.13 (การทดสอบโดยใชอัตราสวน)
ให ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมของจํานวนจริง ซึ่ง na ≠ 0 และ
∞→n
lim |
n
1n
a
a + | = ∞
หรือ
∞→n
lim |
n
1n
a
a + | = L เมื่อ L ∈ R
จะไดวา
1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
2. ถา L > 1 หรือ
∞→n
lim |
n
1n
a
a + | = ∞ แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออก
3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได
ตัวอยาง 1.4.11 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
!n
2n
2. ∑
∞
=1n
n
3n
2
n)1(−
3. ∑
∞
=1n
nn
n
3
e
วิธีทํา 1. ให na = !n
2n
เพราะฉะนั้น 1na + = )!1n(
2 1n
+
+
จะเห็นวา
∞→n
lim |
n
1n
a
a + | =
∞→n
lim | )!1n(
2 1n
+
+
n
2
!n |
=
∞→n
lim
1n
2
+
= 0
< 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
!n
2n
เปนอนุกรมลูเขา
2. ให na = n
3n
2
n)1(−
เพราะฉะนั้น 1na + = 1n
31n
2
)1n()1(
+
+
+−
จะเห็นวา
∞→n
lim |
n
1n
a
a + | =
∞→n
lim | 1n
31n
2
)1n()1(
+
+
+−
3n
n
n)1(
2
−
|
แคลคูลัส 246
=
∞→n
lim | 3
3
n2
)1n( +−
|
=
∞→n
lim
3
3
n2
)1n( +
=
∞→n
lim
2
)
n
11( 3
+
= 2
1
< 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
3n
2
n)1(−
เปนอนุกรมลูเขา
3. ให na = nn
n
3
e
เพราะฉะนั้น 1na + = )1n(n
1n
3
e
+
+
จะเห็นวา
∞→n
lim |
n
1n
a
a + | =
∞→n
lim | )1n(n
1n
3
e
+
+
n
nn
e
3 |
=
∞→n
lim | nn)1n(n
3
e
−+
|
=
∞→n
lim
)
n
11(n
3
e
+
= e
> 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
nn
n
3
e เปนอนุกรมลูออก
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 47
ทฤษฎีบท 1.4.14 (การทดสอบโดยใชการถอดกรณฑ)
ให ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมของจํานวนจริง และ
∞→n
lim n
n| a | = ∞
หรือ
∞→n
lim n
n| a | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา
1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
2. ถา L > 1 หรือ
∞→n
lim n
n| a | = ∞ แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
na เปนอนุกรมลูออก
3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได
ตัวอยาง 1.4.12 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
( 3
2 )
2n
2. ∑
∞
=1n
(
)12(n
n
n
+
)
n
3. ∑
∞
=1n
(
n 1 n
n
e 2
3e 5
+
+
+
)
n
วิธีทํา 1. ให na = ( 3
2 )
2n
จะเห็นวา
∞→n
lim n
n| a | =
∞→n
lim
n 2
n
)
3
2(
=
∞→n
lim ( 3
2 )n
= 0
< 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
( 3
2 )
2n
เปนอนุกรมลูเขา
2. ให na = (
)12(n
n
n
+
)
n
จะเห็นวา
∞→n
lim n
n| a | =
∞→n
lim n n
n
)
)12(n
n(
+
=
∞→n
lim
)12(n
n
n
+
ให f(x) =
)12(n
x
x
+
เมื่อ x ≥ 1
แคลคูลัส 248
จะไดวา
∞→x
lim f(x) =
∞→x
lim
)12(n
x
x
+
(I.F. ∞
∞ )
=
∞→x
lim
)2n2(
12
1
1
x
x
+
=
∞→x
lim
2n2
12
x
x
+
=
∞→x
lim
2n
2
11
x
+
= 2n
1
แสดงวา
∞→n
lim n
n| a | = 2n
1
เพราะวา 1 = ne > n2 > 0 เพราะฉะนั้น 2n
1 > 1
เพราะฉะนั้น
∞→n
lim n
n| a | > 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
(
)12(n
n
n
+
)
n
เปนอนุกรมลูออก
3. ให na = (
n 1 n
n
e 2
3e 5
+
+
+
)
n
จะเห็นวา
∞→n
lim n
n| a | =
∞→n
lim
n 1 n nn
n
e 2( )
3e 5
+
+
+
=
∞→n
lim
n 1 n
n
e 2
3e 5
+
+
+
=
∞→n
lim
n
n
2e ( )
e
53
e
+
+
= e 0
3 0
+
+
= e
3
< 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
(
n 1 n
n
e 2
3e 5
+
+
+
)
n
เปนอนุกรมลูเขา
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 49
แบบฝกหัด 1.4.5
จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
n
e
)1n(n +
2. ∑
∞
=1n
(1 – n
1 )
2
n
3. ∑
∞
=1n
!n
)1( n
−
4. ∑
∞
=1n 1nn
2
4
n
++
5. ∑
∞
=1n
n
n
ncos 6. ∑
∞
=1n
n
5n
1
7. ∑
∞
=1n
2
)!n(
)!n2(
8. ∑
∞
=1n
( )1n(n
n
+
)
n
9. ∑
∞
=1n
n
3
)1n(nn +
10. ∑
∞
=1n
)1n(n
n
2
+
11. ∑
∞
=1n
( 1n
n
+
)
3
n
12. ∑
∞
=1n
n
n
!n
แคลคูลัส 250
แบบฝกหัดระคน
จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
2
2
)1n2(
1n
−
+ 2. ∑
∞
=1n
(
1n
n
2
+
+ n
n−
)
3. ∑
∞
=1n
3
4
n
nsec 4. ∑
∞
=1n
3
n n
3−
5. ∑
∞
=1n
( 1n
n
+
)
n
6. ∑
∞
=1n 1n
1n
7
2
+
+
7. ∑
∞
=1n
( 1nn2
++ – n) 8. ∑
∞
=1n
1n3
)1( n
−
−
9. ∑
∞
=1n !n3
n
n
n
10. ∑
∞
=1n
)3n(n)3n(
1
++
11. ∑
∞
=1n
2n
n 4−
⋅ 12. ∑
∞
=1n n5
2
n
n
−
13. ∑
∞
=1n
( n
1 – 1n2
2
+
) 14. ∑
∞
=1n
(n + 3)
nn(e n)− +
15. ∑
∞
=1n
)3n(nn
1
+
16. ∑
∞
=1n
(π – 2arctann)
17. ∑
∞
=1n
)1n(n
n
+
18. ∑
∞
=1n
n
2n
n2
−
19. ∑
∞
=1n
4
n n
n n
20. ∑
∞
=1n )13(n
1
n
+
21. ∑
∞
=1n
(3 + cosn)
n−
22. ∑
∞
=1n
)!n3(
)!n( 3
23. ∑
∞
=1n
n( 3n
20n
+
+ ) 24. ∑
∞
=1n
( 1n4
+ – 2
n )
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 51
25. ∑
∞
=1n 1n
)1(
2
n
+
−
26. ∑
∞
=1n
!n
)1n(n +
27. ∑
∞
=1n
2
n)n2(n
1
+
28. ∑
∞
=1n
nn
9−
29. ∑
∞
=1n n3
nn
n
−
30. ∑
∞
=1n 12n
2
n
n
+
31. ∑
∞
=1n
( n
1 +
14
3
n
n
−
) 32. ∑
∞
=1n
n( 5
4 )n
33. ∑
∞
=1n
(n n 1+ + 1)
n2−
34. ∑
∞
=1n
nn1
)1( n
+
−
35. ∑
∞
=1n
( n
3
!n + n
2
4
ncos ) 36. ∑
∞
=1n
103
9
)2n(n
)1n(
+
+
37. ∑
∞
=1n
sin( n
1 ) 38. ∑
∞
=1n
)3n2(...)9)(7)(5(
!n
+
39. ∑
∞
=1n n
1...
3
1
2
11
1
++++
40. ∑
∞
=1n
(
n
1 –
1n
1
+
)
41. ∑
∞
=1n
nnn
1
+
42. ∑
∞
=1n
n
3
nsin
43. ∑
∞
=1n
nsin( 3
n
1 ) 44. ∑
∞
=1n
)1
n
e(n
3
+−
45. ∑
∞
=1n
cos(n!)
n!
46. ∑
∞
=1n
2
6
1 n 3n
n 2
+ −
+
47. ∑
∞
=1n
n
( 1) n(n 2)
n
− +
48. ∑
∞
=1n
(
2
sin n
n
+ 1
n
)
49. ∑
∞
=1n
[( 2
n 1+ - n)cosn]n
50. ∑
∞
=1n
n
sin n
แคลคูลัส 252
1.5 อนุกรมของจํานวนเชิงซอน
เราจะใหความหมายของอนุกรมของจํานวนเชิงซอน ในทํานองเดียวกันกับความหมาย
ของอนุกรมของจํานวนจริง ในบางครั้งเราอาจจะศึกษาอนุกรมของจํานวนเชิงซอนได โดย
อาศัยความรูจากอนุกรมของจํานวนจริง
ทฤษฎีบท 1.5.1 ให nz = nx + i ny โดยที่ nz ∈ C และ nx , ny ∈ R จะไดวา
∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขา ก็ตอเมื่อ ∑
∞
=1n
nx และ ∑
∞
=1n
ny เปนอนุกรมลูเขา
และในกรณีที่ ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขา จะไดวา ∑
∞
=1n
nz = ∑
∞
=1n
nx + i ∑
∞
=1n
ny
ตัวอยาง 1.5.1 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
( 2
n
1 + i( 3
2 )
n
) 2. ∑
∞
=1n
in
i
+
วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
2
n
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2)
และ ∑
∞
=1n
( 3
2 )
n
เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 3
2 )
ดังนั้น ∑
∞
=1n
( 2
n
1 + i( 3
2 )
n
) เปนอนุกรมลูเขา
2. เนื่องจาก in
i
+
= ( in
i
+
)( in
in
−
− )
=
1n
in1
2
+
+
=
1n
1
2
+
+ i
1n
n
2
+
ดังนั้น ∑
∞
=1n
1n
i
+
= ∑
∞
=1n
(
1n
1
2
+
+ i
1n
n
2
+
)
พิจารณาอนุกรม ∑
∞
=1n 1n
n
2
+
ให na =
1n
n
2
+
และ nb = n
1
จะเห็นวา ∑
∞
=1n
nb = ∑
∞
=1n
n
1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 1)
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 53
และ
∞→n
lim
n
n
b
a
=
∞→n
lim
1n
n
2
2
+
=
∞→n
lim
2
n
11
1
+
= 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n 1n
n
2
+
เปนอนุกรมลูออก (ทฤษฎีบท 1.4.10 ขอ 1.)
แสดงวา ∑
∞
=1n
in
i
+
เปนอนุกรมลูออก
ทฤษฎีบท 1.5.2 ถา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา
∞→n
lim nz = 0
หมายเหตุ บทกลับของทฤษฎีบท 1.5.2 ไมเปนจริง
ดังนั้น ในกรณีที่
∞→n
lim nz = 0
เราจึงไมสามารถสรุปไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
ทฤษฎีบท 1.5.3 ถา
∞→n
lim nz ≠ 0 แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูออก
ตัวอยาง 1.5.2 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูออก
1. ∑
∞
=1n
in
ni2
+
2. ∑
∞
=1n
(sinn + icosn)n
วิธีทํา 1. เนื่องจาก
∞→n
lim
in
ni2
+
=
∞→n
lim 2i
11 i
n
+
= 2i ≠ 0
ดังนั้น ∑
∞
=1n
in
ni2
+
เปนอนุกรมลูออก
2. เนื่องจาก
∞→n
lim | (sinn + icosn)n
| =
∞→n
lim | sinn + icosn |
n
=
∞→n
lim ( ncosnsin 22
+ )
n
=
∞→n
lim n
1
= 1 ≠ 0
ดังนั้น
∞→n
lim (sinn + icosn)n
≠ 0 (ทฤษฎีบท 1.3.2 ขอ 2.)
แสดงวา ∑
∞
=1n
(sinn + icosn)n
เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 254
ทฤษฎีบท 1.5.4 ถา ∑
∞
=1n
| nz | เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขา
หมายเหตุ
1. บทกลับของทฤษฎีบท 1.5.4 ไมเปนจริง
2. ในกรณีที่ ∑
∞
=1n
| nz | เปนอนุกรมลูออก เราไมสามารถสรุปไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรม
ลูเขาหรือลูออก
ตัวอยาง 1.5.3 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขา
1. ∑
∞
=1n
2
n
n
i 2. ∑
∞
=1n
(4 – 3i)
n−
วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
| 2
n
n
i | = ∑
∞
=1n
2
n
1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2)
ดังนั้น ∑
∞
=1n
2
n
n
i เปนอนุกรมลูเขา
2. เนื่องจาก ∑
∞
=1n
| (4 – 3i)
n−
| = ∑
∞
=1n
| 4 – 3i |
n−
= ∑
∞
=1n
n
5
−
เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 5
1 )
ดังนั้น ∑
∞
=1n
(4 – 3i)
n−
เปนอนุกรมลูเขา
ทฤษฎีบท 1.5.5 ให ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมของจํานวนเชิงซอน ซึ่ง nz ≠ 0
และ
∞→n
lim |
n
1n
z
z + | = ∞ หรือ
∞→n
lim |
n
1n
z
z + | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา
1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขา
2. ถา L > 1 หรือ
∞→n
lim |
n
1n
z
z + | = ∞ แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูออก
3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 55
ตัวอยาง 1.5.4 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
n
)i3(
ni
+
2. ∑
∞
=1n
n
)i43(
i!n
−
วิธีทํา
1. ให nz = n
)i3(
ni
+
เพราะฉะนั้น 1nz + = 1n
)i3(
i)1n(
+
+
+
จะเห็นวา
∞→n
lim |
n
1n
z
z + | =
∞→n
lim | 1n
)i3(
i)1n(
+
+
+
ni
)i3( n
+
|
=
∞→n
lim |
n)i3(
1n
+
+ |
=
∞→n
lim
n2
1n +
=
∞→n
lim
2
n
11+
= 2
1 < 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
)i3(
ni
+
เปนอนุกรมลูเขา
2. ให nz = n
)i43(
i!n
−
เพราะฉะนั้น 1nz + = 1n
)i43(
i)!1n(
+
−
+
จะเห็นวา
∞→n
lim |
n
1n
z
z + | =
∞→n
lim | 1n
)i43(
i)!1n(
+
−
+
i!n
)i43( n
−
|
=
∞→n
lim | i43
1n
−
+ |
=
∞→n
lim
5
1n +
= ∞
ดังนั้น ∑
∞
=1n
n
)i43(
i!n
−
เปนอนุกรมลูออก
แคลคูลัส 256
ทฤษฎีบท 1.5.6 ให ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมของจํานวนเชิงซอน และ
∞→n
lim n
n| z | = ∞ หรือ
∞→n
lim n
n| z | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา
1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูเขา
2. ถา L > 1 หรือ
∞→n
lim n
n| z | = ∞ แลวจะไดวา ∑
∞
=1n
nz เปนอนุกรมลูออก
3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได
ตัวอยาง 1.5.5 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n
( in
ni2
+
)
n
2. ∑
∞
=1n
( n
i )
n
วิธีทํา 1. ให nz = ( 1n
ni2
+
)
n
จะเห็นวา
∞→n
lim n
n| z | =
∞→n
lim nn 2ni( )
n i
| |+
=
∞→n
lim
||
||
in
ni2
+
=
∞→n
lim
1n
n2
2
+
=
∞→n
lim
2
2
11
n
+
= 2 > 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
( 1n
ni2
+
)
n
เปนอนุกรมลูออก
2. ให nz = ( n
i )
n
จะเห็นวา
∞→n
lim n
n| z | =
∞→n
lim nn i( )
n
| |
=
∞→n
lim | n
i |
=
∞→n
lim
n
1
= 0 < 1
ดังนั้น ∑
∞
=1n
( n
i )
n
เปนอนุกรมลูเขา
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 57
แบบฝกหัด 1.5
จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
1. ∑
∞
=1n in2
in
−
+ 2. ∑
∞
=1n
!n
in
3. ∑
∞
=1n in
ni
3
n
+
4. ∑
∞
=1n nn
)ncosin(sin
n
−
5. ∑
∞
=1n i5
)i34(
n
n
+
+
6. ∑
∞
=1n
2
ni1
in
+
+
7. ∑
∞
=1n
( 1n
ni
+
)
2n
8. ∑
∞
=1n i3
)i2(
n
n
+
9. ∑
∞
=1n
nni1
1
+
10. ∑
∞
=1n
4
)ni2(
in
−
+
11. ∑
∞
=1n
(2 + i)
2n−
12. ∑
∞
=1n
( 4
n
nsin + !n
)1(i n
−
)
13. ∑
∞
=1n
n
2n
4i1
)i2(
+
+
14. ∑
∞
=1n
!n
)i3( n
−
15. ∑
∞
=1n
6
)ni1(
ncosi
+
16. ∑
∞
=1n
in
ni
−
แคลคูลัส 258
คําตอบแบบฝกหัดบทที่ 1
คําตอบแบบฝกหัด 1.2
1. 1.1 3 1.2 0
1.3 3
2 1.4 0
1.5 e
1 1.6 -∞
1.7 2 1.8 1
1.9 -2 1.10 4
2
1.11 2 1.12 ∞
2. 2.1 ลูเขา (0) 2.2 ลูเขา (4)
2.3 ลูออก 2.4 ลูเขา (- 2
3 )
2.5 ลูออก 2.6 ลูเขา (1)
2.7 ลูเขา (1) 2.8 ลูออก
2.9 ลูเขา (2) 2.10 ลูออก
2.11 ลูเขา ( 2
1 ) 2.12 ลูเขา
คําตอบแบบฝกหัด 1.3
1. 1.1 - 2
i 1.2 i
1.3 0 1.4 ไมมีคา
1.5 0 1.6 ไมมีคา
1.7 0 1.8 2
1
1.9 0 1.10 -i
2. 2.1 ลูเขา (i) 2.2 ลูออก
2.3 ลูเขา (0) 2.4 ลูเขา (-i)
2.5 ลูเขา (0) 2.6 ลูเขา (0)
2.7 ลูเขา ( 5
2 + 5
i ) 2.8 ลูเขา (-i)
บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 59
คําตอบแบบฝกหัด 1.4.1
1. ลูเขา ( 2
1 ) 2. ลูออก
3. ลูเขา ( 5
3 ) 4. ลูเขา (18
11 )
5. ลูออก 6. ลูออก
7. ลูเขา ( 4
3 ) 8. ลูเขา ( 2
1 )
9. ลูออก 10. ลูออก
11. ลูออก 12. ลูเขา ( 4
1 )
คําตอบแบบฝกหัด 1.4.2
1. ลูเขา 2. ลูออก
3. ลูออก 4. ลูเขา
5. ลูเขา 6. ลูออก
7. ลูเขา 8. ลูออก
9. ลูเขา 10. ลูเขา
คําตอบแบบฝกหัด 1.4.3
1. ลูเขา 2. ลูเขา
3. ลูออก 4. ลูออก
5. ลูออก 6. ลูเขา
7. ลูออก 8. ลูเขา
9. ลูเขา 10. ลูเขา
11. ลูเขา 12. ลูเขา
คําตอบแบบฝกหัด 1.4.4
1. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข 2. ลูออก
3. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข 4. ลูเขาแบบสัมบูรณ
5. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข 6. ลูออก
7. ลูเขาแบบสัมบูรณ 8. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข
แคลคูลัส 260
คําตอบแบบฝกหัด 1.4.5
1. ลูเขา 2. ลูเขา 3. ลูเขา 4. ลูออก
5. ลูเขา 6. ลูเขา 7. ลูออก 8. ลูออก
9. ลูเขา 10. ลูออก 11. ลูเขา 12. ลูเขา
คําตอบแบบฝกหัดระคน
1. ลูออก 2. ลูเขา 3. ลูออก 4. ลูเขา
5. ลูออก 6. ลูเขา 7. ลูออก 8. ลูเขา
9. ลูเขา 10. ลูออก 11. ลูเขา 12. ลูเขา
13. ลูเขา 14. ลูเขา 15. ลูออก 16. ลูออก
17. ลูออก 18. ลูเขา 19. ลูเขา 20. ลูออก
21. ลูเขา 22. ลูเขา 23. ลูออก 24. ลูเขา
25. ลูเขา 26. ลูเขา 27. ลูเขา 28. ลูเขา
29. ลูเขา 30. ลูออก 31. ลูออก 32. ลูเขา
33. ลูเขา 34. ลูเขา 35. ลูออก 36. ลูเขา
37. ลูออก 38. ลูเขา 39. ลูออก 40. ลูเขา
41. ลูออก 42. ลูเขา 43. ลูเขา 44. ลูเขา
45. ลูเขา 46. ลูออก 47. ลูเขา 48. ลูออก
49. ลูเขา 50. ลูออก
คําตอบแบบฝกหัด 1.5
1. ลูออก 2. ลูเขา 3. ลูเขา 4. ลูเขา
5. ลูออก 6. ลูออก 7. ลูเขา 8. ลูเขา
9. ลูออก 10. ลูเขา 11. ลูเขา 12. ลูเขา
13. ลูออก 14. ลูเขา 15. ลูเขา 16. ลูออก

Contenu connexe

Tendances

สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายCoo Ca Nit Sad
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกRuangrat Watthanasaowalak
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กNichaya100376
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายkrurutsamee
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงY'Yuyee Raksaya
 
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียนเอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียนนางรุ่งนภา ผลเกิด
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 

Tendances (20)

17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25599 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรง
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียนเอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 

Similaire à 9789740333005

สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นkrulerdboon
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131CUPress
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงBombam Waranya
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01manrak
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลยsm_anukul
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & SeriesChomsurangUpathamSchool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม Patteera Praew
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theoryssuser237b52
 

Similaire à 9789740333005 (20)

Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็น
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริง
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 

Plus de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740333005

  • 1. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน ในการศึกษาเกี่ยวกับลําดับและอนุกรมของจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซอน การหาผล บวกของอนุกรมเราจําเปนตองทําการพิสูจนขอความหรือสูตรในพจนของจํานวนนับ ดังนั้น ในหัวขอแรกของบทที่ 1 นี้ เราจะกลาวถึงอุปนัยเชิงคณิตศาสตร ซึ่งเปนวิธีการพิสูจนขอความที่ เกี่ยวของกับจํานวนนับวาเปนจริง เพื่อนําไปใชในการศึกษาเรื่องลําดับและอนุกรมตอไป หมายเหตุ ในหนังสือเลมนี้เราจะใชสัญลักษณตอไปนี้ N แทน เซตของจํานวนนับทั้งหมด R แทน เซตของจํานวนจริงทั้งหมด C แทน เซตของจํานวนเชิงซอนทั้งหมด 1.1 อุปนัยเชิงคณิตศาสตร การพิสูจนขอความที่เกี่ยวของกับจํานวนนับ n วาเปนจริง เราใชวิธีการตอไปนี้ สําหรับจํานวนนับ n ให P(n) แทนขอความที่เกี่ยวของกับ n ซึ่งมีสมบัติตอไปนี้ (1) P(1) เปนจริง (2) สําหรับจํานวนนับ k ใด ๆ ถา P(k) เปนจริง แลว P(k + 1) เปนจริง ดังนั้น P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n เราเรียกวิธีการนี้วา อุปนัยเชิงคณิตศาสตร
  • 2. แคลคูลัส 22 ตัวอยาง 1.1.1 จงพิสูจนวา 21 1 ⋅ + 32 1 ⋅ + 43 1 ⋅ + ... + )1n(n 1 + = 1n n + ทุกจํานวนนับ n วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ ให P(n) แทนขอความ 21 1 ⋅ + 32 1 ⋅ + 43 1 ⋅ + ... + )1n(n 1 + = 1n n + เนื่องจาก )11(1 1 + = 2 1 = 11 1 + ดังนั้น P(1) เปนจริง ให k เปนจํานวนนับใด ๆ สมมติวา P(k) เปนจริง นั่นคือ สมมติวา 21 1 ⋅ + 32 1 ⋅ + 43 1 ⋅ + ... + )1k(k 1 + = 1k k + ดังนั้น 21 1 ⋅ + 32 1 ⋅ + 43 1 ⋅ + ... + )1k(k 1 + + )2k)(1k( 1 ++ = 1k k + + )2k)(1k( 1 ++ = )2k)(1k( 1)2k(k ++ ++ = )2k)(1k( )1k( 2 ++ + = 2k 1k + + แสดงวา P(k + 1) เปนจริง โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n นั่นคือ 21 1 ⋅ + 32 1 ⋅ + 43 1 ⋅ + ... + )1n(n 1 + = 1n n + ทุกจํานวนนับ n ตัวอยาง 1.1.2 จงพิสูจนวา n 5 – n 2 หารดวย 3 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ ให P(n) แทนขอความ n 5 – n 2 หารดวย 3 ลงตัว เนื่องจาก 1 5 – 1 2 = 3 ซึ่งหารดวย 3 ลงตัว ดังนั้น P(1) เปนจริง ให k เปนจํานวนนับใด ๆ สมมติวา P(k) เปนจริง นั่นคือ สมมติวา k 5 – k 2 หารดวย 3 ลงตัว จะไดวา มีจํานวนเต็ม m ซึ่ง k 5 – k 2 = 3m ... (1) พิจารณา 1k 5 + – 1k 2 + = 5( k 5 ) – 2( k 2 )
  • 3. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 3 = (3 + 2)( k 5 ) – 2( k 2 ) = 3( k 5 ) + 2( k 5 ) – 2( k 2 ) = 3( k 5 ) + 2( k 5 – k 2 ) = 3( k 5 ) + 2(3m) (จาก (1)) = 3( k 5 + 2m) เนื่องจาก k 5 + 2m เปนจํานวนเต็ม ดังนั้น 1k 5 + – 1k 2 + หารดวย 3 ลงตัว แสดงวา P(k + 1) เปนจริง โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n นั่นคือ n 5 – n 2 หารดวย 3 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n ตัวอยาง 1.1.3 จงพิสูจนวา 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + n(n + 1) = 3 )2n)(1n(n ++ ทุกจํานวนนับ n วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ ให P(n) แทนขอความ 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + n(n + 1) = 3 )2n)(1n(n ++ เนื่องจาก 1(1 + 1) = 2 = 3 )21)(11)(1( ++ ดังนั้น P(1) เปนจริง ให k เปนจํานวนนับใดๆ สมมติวา P(k) เปนจริง นั่นคือ สมมติวา 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + k(k + 1) = 3 )2k)(1k(k ++ ดังนั้น 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + k(k + 1) + (k + 1)(k + 2) = 3 )2k)(1k(k ++ + (k + 1)(k + 2) = (k + 1)(k + 2)( 3 k + 1) = 3 )3k)(2k)(1k( +++ แสดงวา P(k + 1) เปนจริง โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n นั่นคือ 1⋅2 + 2⋅3 + 3⋅4 + ... + n(n + 1) = 3 )2n)(1n(n ++ ทุกจํานวนนับ n
  • 4. แคลคูลัส 24 นอกจากอุปนัยเชิงคณิตศาสตรจะใชพิสูจนขอความ P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n แลว เราอาจประยุกตใชอุปนัยเชิงคณิตศาสตรเพื่อพิสูจนขอความ P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ m เมื่อ m เปนจํานวนนับใด ๆ โดยมีวิธีการตอไปนี้ สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ ซึ่ง n ≥ m ให P(n) แทนขอความที่เกี่ยวของกับ n ซึ่งมีสมบัติตอไปนี้ (1) P(m) เปนจริง (2) สําหรับจํานวนนับ k ใด ๆ ซึ่ง k ≥ m ถา P(k) เปนจริง แลว P(k + 1) เปนจริง ดังนั้น P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ m ตัวอยาง 1.1.4 จงพิสูจนวา n 2 > 2 n ทุกจํานวนนับ n ≥ 5 วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ ซึ่ง n ≥ 5 ให P(n) แทนขอความ n 2 > 2 n เนื่องจาก 5 2 = 32 > 25 = 2 5 ดังนั้น P(5) เปนจริง ให k เปนจํานวนนับใด ๆ ซึ่ง k ≥ 5 สมมติวา P(k) เปนจริง นั่นคือ สมมติวา k 2 > 2 k ดังนั้น 2( k 2 ) > 2 2 k 1k 2 + > 2 k + 2 k ≥ 2 k + 5k (เพราะวา k ≥ 5 เพราะฉะนั้น 2 k ≥ 5k) = 2 k + 2k + 3k > 2 k + 2k + 1 (เพราะวา k ≥ 5 เพราะฉะนั้น 3k > 1) = (k + 1)2 เพราะฉะนั้น 1k 2 + > (k + 1)2 แสดงวา P(k + 1) เปนจริง โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ 5 นั่นคือ n 2 > 2 n ทุกจํานวนนับ n ≥ 5
  • 5. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 5 ตัวอยาง 1.1.5 จงพิสูจนวา 3 n ≤ n 2 ทุกจํานวนนับ n ≥ 10 วิธีทํา สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ ซึ่ง n ≥ 10 ให P(n) แทนขอความ 3 n ≤ n 2 เนื่องจาก 3 10 = 1000 ≤ 1024 = 10 2 ดังนั้น P(10) เปนจริง ให k เปนจํานวนนับใดๆ ซึ่ง k ≥ 10 สมมติวา P(k) เปนจริง นั่นคือ สมมติวา 3 k ≤ k 2 ... (1) ดังนั้น (k + 1)3 = 3 k + 3 2 k + 3k + 1 ≤ k 2 + 3 2 k + 3k + 1 (จาก (1)) ≤ k 2 + 3 2 k + 3 2 k + 3 2 k (เพราะวา k ≥ 10 เพราะฉะนั้น 3k ≤ 3 2 k , 1 ≤ 3 2 k ) = k 2 + 9 2 k ≤ k 2 + 3 k (เพราะวา k ≥ 10 เพราะฉะนั้น 9 2 k ≤ 3 k ) ≤ k 2 + k 2 (จาก (1)) = k 2 (1 + 1) = k 2 2 = 1k 2 + เพราะฉะนั้น (k + 1)3 ≤ 1k 2 + แสดงวา P(k + 1) เปนจริง โดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร สรุปไดวา P(n) เปนจริง ทุกจํานวนนับ n ≥ 10 นั่นคือ 3 n ≤ n 2 ทุกจํานวนนับ n ≥ 10
  • 6. แคลคูลัส 26 แบบฝกหัด 1.1 จงพิสูจนขอความตอไปนี้โดยใชอุปนัยเชิงคณิตศาสตร 1. 1 + 2 + 3 + ... + n = 2 )1n(n + ทุกจํานวนนับ n 2. 3 1 + 3 3 + 3 5 + ... + (2n – 1)3 = 2 n (2 2 n – 1) ทุกจํานวนนับ n 3. 31 1 ⋅ + 42 1 ⋅ + 53 1 ⋅ + ... + )2n(n 1 + = 2 1 ( 2 3 – 1n 1 + – 2n 1 + ) ทุกจํานวนนับ n 4. (1 – 2 1 )(1 – 3 1 )(1 – 4 1 ) ... (1 – 1n 1 + ) = 1n 1 + ทุกจํานวนนับ n 5. 1⋅3⋅5⋅...⋅(2n – 1) = !n2 )!n2( n ทุกจํานวนนับ n 6. )x(f )n( = 1n nn )1x2( !n2)1( + + − ทุกจํานวนนับ n เมื่อ f(x) = 1x2 1 + 7. 3 n – n หารดวย 3 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n 8. n 5 + 3 หารดวย 4 ลงตัว ทุกจํานวนนับ n 9. n 2 > 2n ทุกจํานวนนับ n ≥ 3 10. n 4 > 4 n ทุกจํานวนนับ n ≥ 5
  • 7. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 7 1.2 ลําดับของจํานวนจริง บทนิยาม 1.2.1 ลําดับของจํานวนจริง คือฟงกชันที่มีโดเมนเปน N และมีคาเปนจํานวนจริง ตัวอยางเชน ถาให a เปนฟงกชันซึ่งมีคา a(n) = 2n n + , n ∈ N เราจะไดวา a เปนลําดับของจํานวนจริงลําดับหนึ่ง ในกรณีของฟงกชัน a ใดๆ ที่เปนลําดับ เรานิยมเขียนบอกคา a(n) ดวยสัญลักษณ na ดังนั้นลําดับ a ใดๆ จะเขียนไดเปน a = {(1, 1a ), (2, 2a ), (3, 3a ), ... , (n, na ), ...} เนื่องจากเปนที่เขาใจอยูแลววา na ตองคูกับ n ในคูอันดับ (n, na ) ดังนั้น เราจะเขียนบอกถึงลําดับ a ดวยสัญลักษณ { 1a , 2a , 3a , ... , na , ...} หรือ 1a , 2a , 3a , ... , na , ... หรือ { na } เชน ถาเราเขียน { 2n n + } จะหมายถึง ลําดับ {(1, 3 1 ), (2, 2 1 ), (3, 5 3 ), ... , (n, 2n n + ), ...} สําหรับลําดับ { na } ใดๆ เราเรียก na วา พจนที่ n ของลําดับ ในเรื่องของลําดับนี้ ปญหาที่เราสนใจคือ เมื่อ n มีคามากๆ พจนที่ n ของลําดับมีคาเขาใกล หรือเทากับจํานวนจริง คาใดคาหนึ่งหรือไม ถามีจํานวนจริงดังกลาว เราจะเรียกจํานวนจริงนี้วา ลิมิตของลําดับ ซึ่งเรา จะใหบทนิยามของลิมิตของลําดับดังตอไปนี้ บทนิยาม 1.2.2 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง และ L ∈ R เราจะกลาววา L เปน ลิมิต ของลําดับ { na } ก็ตอเมื่อ สําหรับจํานวนจริงบวก ε ใดๆ เราสามารถหา 0n ∈ R ที่ทําให | na – L | < ε ทุกจํานวนนับ n > 0n และจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∞→n lim na = L หมายเหตุ บทนิยามของ ∞→n lim na = L มีลักษณะเชนเดียวกับบทนิยามของ ∞→x lim f(x) = L ทฤษฎีบท 1.2.1 ให t, r ∈ R เปนคาคงตัวใดๆ จะไดวา 1. ∞→n lim t n 1 = 0 เมื่อ t > 0 2. ∞→n lim n r = 0 เมื่อ | r | < 1
  • 8. แคลคูลัส 28 บทพิสูจน 1. ให ε > 0 เลือก 0n = ( ε 1 ) t 1 ให n เปนจํานวนนับใดๆ สมมติวา n > 0n ดังนั้น n > ( ε 1 ) t 1 t n > ε 1 ε > t n 1 แสดงวา | t n 1 – 0 | = t n 1 < ε ดังนั้น ∞→n lim t n 1 = 0 ตัวอยาง 1.2.1 1. ∞→n lim n 1 = 0 2. ∞→n lim 1 n n = ∞→n lim 3 2 1 n = 0 3. ∞→n lim ( 3 2 )n = 0 4. ∞→n lim (– 4 3 )n = 0 นอกจากจะกลาวถึง ∞→n lim na = L เมื่อ L ∈ R เราอาจจะกลาวถึง ∞→n lim na = ∞ และ ∞→n lim na = –∞ ในลักษณะเชนเดียวกับ ∞→x lim f(x) = ∞ และ ∞→x lim f(x) = –∞ ตามลําดับ ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยาง 1.2.2 จงแสดงวา ∞→n lim 2 n = ∞ วิธีทํา ให na = 2 n จะเห็นวา ∞→n lim na 1 = ∞→n lim 2 n 1 = 0 และ na = 2 n > 0 ทุก n ∈ N ดังนั้น ∞→n lim na = ∞ นั่นคือ ∞→n lim 2 n = ∞ ขอสังเกต จากทฤษฎีบท 1.2.1 จะไดวา 1. ∞→n lim t n = ∞ เมื่อ t > 0 2. ∞→n lim n r = ∞ เมื่อ r > 1 หมายเหตุ ในกรณีที่ ∞→n lim na = ∞ หรือ –∞ เราถือวา { na } ไมมีลิมิต
  • 9. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 9 ทฤษฎีบท 1.2.2 ให { na }, { nb }, { nc } เปนลําดับของจํานวนจริง และ L, M, k ∈ R โดยที่ ∞→n lim na = L และ ∞→n lim nb = M จะไดวา 1. ∞→n lim k = k เมื่อ k เปนคาคงตัว 2. ∞→n lim k na = k ∞→n lim na = kL เมื่อ k เปนคาคงตัว 3. ∞→n lim ( na + nb ) = ∞→n lim na + ∞→n lim nb = L + M 4. ∞→n lim ( na – nb ) = ∞→n lim na – ∞→n lim nb = L – M 5. ∞→n lim ( na nb ) = ( ∞→n lim na )( ∞→n lim nb ) = LM 6. ∞→n lim ( n n b a ) = n n n n blim alim ∞→ ∞→ = M L เมื่อ M ≠ 0 7. ∞→n lim m na = m n n lim a →∞ = m L เมื่อ m L ∈ R, m ∈ N – {1} 8. ถามี 0n ∈ N ซึ่ง na ≤ nc ≤ nb ทุก n ≥ 0n และ L = M แลวจะไดวา ∞→n lim nc = L บทพิสูจน 3. ให ε > 0 เนื่องจาก ∞→n lim na = L และ ∞→n lim nb = M ดังนั้น จะมี 1n , 2n ∈ R ซึ่ง | na – L | < 2 ε ทุกจํานวนนับ n > 1n และ | nb – M | < 2 ε ทุกจํานวนนับ n > 2n เลือก 0n = | 1n | + | 2n | ให n เปนจํานวนนับใดๆ ซึ่ง n > 0n ดังนั้น n > 1n และ n > 2n ซึ่งจะไดวา | na – L | < 2 ε และ | nb – M | < 2 ε แสดงวา | ( na + nb ) – (L + M) | = | ( na – L) + ( nb – M) | ≤ | na – L | + | nb – M | < 2 ε + 2 ε = ε ดังนั้น ∞→n lim ( na + nb ) = L + M ทฤษฎีบท 1.2.3 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง จะไดวา ∞→n lim na = 0 ก็ตอเมื่อ ∞→n lim | na | = 0
  • 10. แคลคูลัส 210 ตัวอยาง 1.2.3 จงหาคาลิมิตตอไปนี้ 1. ∞→n lim 3 3 2 1nn 1n9 ++ + 2. ∞→n lim (n – n ) 3. ∞→n lim nn ncos 4. ∞→n lim n ( 1) n − วิธีทํา 1. ∞→n lim 3 3 2 1nn 1n9 ++ + = ∞→n lim 2 3 3 1n( 9 ) n 1n(1 1 ) n + + + = ∞→n lim 2 3 3 19 n 11 1 n + + + = 3 011 09 ++ + = 2 3 2. เพราะวา ∞→n lim nn 1 − = ∞→n lim n 11 n 1 − = 01 0 − = 0 และ n – n = n ( n – 1) > 0 ทุกจํานวนนับ n > 1 เพราะฉะนั้น ∞→n lim (n – n ) = ∞ 3. เนื่องจาก –1 ≤ cosn ≤ 1 ทุก n ∈ N ดังนั้น nn 1− ≤ nn ncos ≤ nn 1 ทุก n ∈ N และ ∞→n lim ( nn 1− ) = 0 = ∞→n lim nn 1 เราจึงสรุปไดวา ∞→n lim nn ncos = 0 4. เพราะวา ∞→n lim | n ( 1) n − | = ∞→n lim 1 n = 0 เพราะฉะนั้น ∞→n lim n ( 1) n − = 0 บทนิยาม 1.2.3 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง เราจะกลาววา { na } เปน ลําดับลูเขา ก็ตอเมื่อ มีจํานวนจริง L ซึ่ง ∞→n lim na = L และจะกลาววา { na } เปน ลําดับลูออก ก็ตอเมื่อ { na } ไมเปนลําดับลูเขา
  • 11. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 11 ตัวอยาง 1.2.4 จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก 1. { 1nn2 −+ – n} 2. { nn nn 3 2 π− π+ } 3. { 1n )1n( 8 5 + + } วิธีทํา 1. ∞→n lim ( 1nn2 −+ – n) = ∞→n lim n1nn )n1nn)(n1nn( 2 22 +−+ +−+−−+ = ∞→n lim n1nn n1nn 2 22 +−+ −−+ = ∞→n lim 1 n 1 n 11 n 11 2 +−+ − = 1 0 1 0 0 1 − + + + = 2 1 ดังนั้น { 1nn2 −+ – n} เปนลําดับลูเขา 2. ∞→n lim nn nn 3 2 π− π+ = ∞→n lim 1)3( 1)2( n n − π + π = 10 10 − + = –1 ดังนั้น { nn nn 3 2 π− π+ } เปนลําดับลูเขา 3. ให na = 1n )1n( 8 5 + + จะเห็นวา ∞→n lim na 1 = ∞→n lim 5 8 )1n( 1n + + = ∞→n lim 55 8 4 ) n 11(n n 11n + + = ∞→n lim ( n 1 )( 5 8 ) n 11( n 11 + + ) = (0)( 5 1 0 (1 0) + + ) = (0)(1) = 0
  • 12. แคลคูลัส 212 และ na = 1n )1n( 8 5 + + > 0 ทุก n ∈ N แสดงวา ∞→n lim na = ∞ นั่นคือ ∞→n lim 1n )1n( 8 5 + + = ∞ ดังนั้น { 1n )1n( 8 5 + + } เปนลําดับลูออก เนื่องจาก ∞→n lim na = L, ∞ หรือ –∞ และ ∞→x lim f(x) = L, ∞ หรือ –∞ มีลักษณะ คลายกันตามลําดับ ดังนั้น ในบางกรณีเราอาจจะหา ∞→n lim na ไดจากการหา ∞→x lim f(x) เมื่อ f เปนฟงกชันคาจริงที่กําหนดบนชวง [1, ∞) และ f(n) = na ทุก n ∈ N กลาวคือ ถา ∞→x lim f(x) = L, ∞ หรือ –∞ แลว ∞→n lim na = ∞→x lim f(x) ตัวอยาง 1.2.5 จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก 1. { n 2 2 n } 2. { n 1 n } วิธีทํา 1. ให f(x) = x 2 2 x เมื่อ x ≥ 1 จะไดวา ∞→x lim f(x) = ∞→x lim x 2 2 x (I.F. ∞ ∞ ) = ∞→x lim x 2 n 2 2x (I.F. ∞ ∞ ) = ∞→x lim x 2 2 ( n 2) 2 = ∞ ดังนั้น ∞→n lim n 2 2 n = ∞ แสดงวา { n 2 2 n } เปนลําดับลูออก 2. ให f(x) = x 1 x เมื่อ x ≥ 1 nf(x) = x xn จะไดวา ∞→x lim nf(x) = ∞→x lim x xn (I.F. ∞ ∞ )
  • 13. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 13 = ∞→x lim 1 x 1 = 0 ดังนั้น ∞→x lim f(x) = 0 e = 1 เราจะไดวา ∞→n lim n 1 n = 1 แสดงวา { n 1 n } เปนลําดับลูเขา ขอสังเกต ในตัวอยาง 1.2.5 เราไมสามารถใชกฎของโลปตาลโดยตรงกับลําดับได เพราะลําดับ เปนฟงกชันที่ไมตอเนื่องและไมมีอนุพันธ บทนิยาม 1.2.4 ให { kn } เปนลําดับของจํานวนนับ ซึ่ง 1n < 2n < 3n < ... สําหรับลําดับ { na } ใดๆ ถาเราให kb = kna จะไดวา { kb } เปนลําดับที่มีพจนที่ k เปนพจนที่ kn ของลําดับ { na } เราจะเรียกลําดับ { kb } ที่ไดเชนนี้วา ลําดับยอย ของ { na } ทฤษฎีบท 1.2.4 ถาลําดับ { na } มีลิมิตเปนจํานวนจริง L แลวจะไดวา ทุกลําดับยอยของ { na } ยอมมีลิมิตเปน L ดวย หมายเหตุ 1. ถาลําดับ { na } มีลําดับยอยที่ลูออก แลวจะไดวา { na } เปนลําดับลูออกดวย 2. ถาลําดับ { na } มีลําดับยอยสองลําดับซึ่งมีลิมิตตางกัน แลวจะไดวา { na } ไมมีลิมิต จึงไดวา { na } เปนลําดับลูออก ตัวอยาง 1.2.6 จงแสดงวา { 1n n)1( n + − } เปนลําดับลูออก วิธีทํา ให na = 1n n)1( n + − เมื่อ n ∈ N ให kb = k2a = 1k2 k2)1( k2 + − = 1k2 k2 + เมื่อ k ∈ N และ ∞→k lim kb = ∞→k lim 1k2 k2 + = ∞→k lim k2 11 1 + = 1
  • 14. แคลคูลัส 214 ให kc = 1k2a − = 1)1k2( )1k2()1( 1k2 +− −− − = k2 )1k2( −− = –1 + k2 1 เมื่อ k ∈ N และ ∞→k lim kc = ∞→k lim (–1 + k2 1 ) = –1 จะเห็นวา { kb } และ { kc } เปนลําดับยอยของ { na } ซึ่งมีลิมิตเปน 1 และ –1 ตามลําดับ ดังนั้น { na } = { 1n n)1( n + − } เปนลําดับลูออก บทนิยาม 1.2.5 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง เราจะกลาววา { na } มีขอบเขต ก็ตอเมื่อ มีจํานวนจริงบวก M ซึ่ง | na | ≤ M ทุก n ∈ N บทนิยาม 1.2.6 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง เราจะกลาววา { na } เปน 1. ลําดับเพิ่ม ก็ตอเมื่อ na < 1na + ทุก n ∈ N 2. ลําดับลด ก็ตอเมื่อ na > 1na + ทุก n ∈ N 3. ลําดับไมเพิ่ม ก็ตอเมื่อ na ≥ 1na + ทุก n ∈ N 4. ลําดับไมลด ก็ตอเมื่อ na ≤ 1na + ทุก n ∈ N หมายเหตุ จะเห็นวา ลําดับเพิ่มยอมเปนลําดับไมลดดวย และลําดับลดยอมเปนลําดับไมเพิ่ม ดวย บทนิยาม 1.2.7 { na } เปน ลําดับทางเดียว ก็ตอเมื่อ { na } เปนลําดับไมเพิ่มหรือเปน ลําดับไมลด ทฤษฎีบท 1.2.5 ถา { na } เปนลําดับลูเขาแลว { na } มีขอบเขต จากทฤษฎีบท 1.2.5 จะไดวา ถา { na } เปนลําดับที่ไมมีขอบเขตแลว { na } จะเปน ลําดับลูออก เชน {n} เปนลําดับที่ไมมีขอบเขต ดังนั้น {n} เปนลําดับลูออก หมายเหตุ บทกลับของทฤษฎีบท 1.2.5 ไมเปนจริง กลาวคือ ลําดับที่มีขอบเขตอาจจะเปน ลําดับลูออกก็ได เชน ลําดับ { 1n n)1( n + − } เพราะวา | 1n n)1( n + − | = 1n n + ≤ 1 ทุก n ∈ N เพราะฉะนั้น { 1n n)1( n + − } เปนลําดับมีขอบเขต แต { 1n n)1( n + − } เปนลําดับลูออก (ตัวอยาง 1.2.6)
  • 15. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 15 ทฤษฎีบท 1.2.6 ถา { na } มีขอบเขตและเปนลําดับทางเดียว แลวจะไดวา { na } เปนลําดับลูเขา ตัวอยาง 1.2.7 จงแสดงวา { !n 2n } เปนลําดับลูเขา วิธีทํา ให na = !n 2n เมื่อ n ∈ N ดังนั้น 1na + = )!1n( 2 1n + + พิจารณา 1na + – na = )!1n( 2 1n + + – !n 2n = !n 2n ( 1n 2 + – 1) = !n 2n ( 1n 1n2 + −− ) = )!1n( )n1(2n + − ≤ 0 ทุก n ∈ N ดังนั้น 1na + ≤ na ทุก n ∈ N นั่นคือ { na } = { !n 2n } เปนลําดับไมเพิ่ม ... (1) เนื่องจาก na > 0 ทุก n ∈ N และ 1a ≥ 2a ≥ 3a ≥ ... ดังนั้น | na | = na ≤ 1a = 2 ทุก n ∈ N แสดงวา | !n 2n | ≤ 2 ทุก n ∈ N นั่นคือ { !n 2n } มีขอบเขต ... (2) จาก (1) และ (2) สรุปไดวา { !n 2n } เปนลําดับลูเขา ขอสังเกต จากตัวอยาง 1.2.7 เราอาจจะแสดงวา 1na + ≤ na ทุก n ∈ N ไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้ เพราะวา n 1n a a + = )!1n( 2 1n + + n 2 !n = 1n 2 + ≤ 1 ทุก n ∈ N และ na > 0 ทุก n ∈ N เพราะฉะนั้น 1na + ≤ na ทุก n ∈ N
  • 16. แคลคูลัส 216 แบบฝกหัด 1.2 1. จงหาคาลิมิตตอไปนี้ 1.1 ∞→n lim 3 3 2 2n n1n4 + ++ 1.2 ∞→n lim ( 1n2 + – n) 1.3 ∞→n lim 63 27 )1n2()2n3( )1n3()1n2( −+ −+ 1.4 ∞→n lim n )1( n − 1.5 ∞→n lim (1 – n 1 ) n 1.6 ∞→n lim 1n n32 + − 1.7 ∞→n lim nsin( n 2 ) 1.8 ∞→n lim ne ne n 2n + + 1.9 ∞→n lim 1n n2)nsin( 2 2 + − 1.10 ∞→n lim 3 3 42 4nn3 1nn ++ ++ 1.11 ∞→n lim )1n(n )1n3(n 2 + + 1.12 ∞→n lim ncos n 2 2. จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก 2.1 { n nn } 2.2 { 1n )1n2( 4 2 + + } 2.3 {cos(nπ)} 2.4 { 2 n – 1n3n 24 ++ } 2.5 { 2n ) 2 nsin(n + π } 2.6 { nn n 32 19 + + } 2.7 { )1e(n n n + } 2.8 { 12 23 n n + + } 2.9 { )2e(n )1nn2(e nn4 34n + ++ } 2.10 { 2)1(n n n +− } 2.11 { 1n2 )1(n n + −+ } 2.12 { )!n2( 2!n n }
  • 17. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 17 1.3 ลําดับของจํานวนเชิงซอน บทนิยาม 1.3.1 ลําดับของจํานวนเชิงซอน คือ ฟงกชันที่มีโดเมนเปน N และมีคาเปน จํานวนเชิงซอน บทนิยาม 1.3.2 ให { nz } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน และ z ∈ C เราจะกลาววา z เปน ลิมิต ของลําดับ { nz } ก็ตอเมื่อ สําหรับจํานวนจริงบวก ε ใด ๆ เราสามารถหา 0n ∈ R ที่ทําให | nz – z | < ε ทุกจํานวนนับ n > 0n และจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∞→n lim nz = z บทนิยาม 1.3.3 ให { nz } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน เราจะกลาววา { nz } เปน ลําดับลูเขา ก็ตอเมื่อ { nz } มีลิมิตเปนจํานวนเชิงซอน และจะกลาววา { nz } เปน ลําดับลูออก ก็ตอเมื่อ { nz } ไมเปนลําดับลูเขา ทฤษฎีบท 1.3.1 ให nz = nx + i ny และ z = x + iy โดยที่ nz , z ∈ C และ nx , ny , x, y ∈ R จะไดวา ∞→n lim nz = z ก็ตอเมื่อ ∞→n lim nx = x และ ∞→n lim ny = y หมายเหตุ จากทฤษฎีบท 1.3.1 เราอาจกลาวไดวา 1. { nz } เปนลําดับลูเขา ก็ตอเมื่อ { nx } และ { ny } เปนลําดับลูเขา 2. ในกรณีที่ { nz } เปนลําดับลูเขา จะไดวา ∞→n lim nz = ∞→n lim nx + i ∞→n lim ny ตัวอยาง 1.3.1 จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก 1. { 2n n2 + + i n 1 n } 2. {n + n i } 3. { in1 n − } 4. { n i } วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∞→n lim 2n n2 + = ∞→n lim n 21 2 + = 2 และ ∞→n lim n 1 n = 1 (ตัวอยาง 1.2.5 ขอ 2.) ดังนั้น ∞→n lim ( 2n n2 + + i n 1 n ) = 2 + i แสดงวา { 2n n2 + + i n 1 n } เปนลําดับลูเขา
  • 18. แคลคูลัส 218 2. เนื่องจาก ∞→n lim n = ∞ ดังนั้น ∞→n lim n ไมมีคา เราจึงสรุปไดวา {n + n i } ไมมีลิมิต แสดงวา {n + n i } เปนลําดับลูออก 3. เพราะวา in1 n − = ( in1 n − )( in1 in1 + + ) = 2 2 n1 inn + + = 2 n1 n + + 2 2 n1 in + และ ∞→n lim 2 n1 n + = ∞→n lim 1 n 1 n 1 2 + = 0 และ ∞→n lim 2 2 n1 n + = ∞→n lim 1 n 1 1 2 + = 1 เพราะฉะนั้น ∞→n lim in1 n − = 0 + i = i แสดงวา { in1 n − } เปนลําดับลูเขา 4. ให n i = nx + i ny โดยที่ nx , ny ∈ R พิจารณาลําดับ { nx } ให kb = k4x เพราะวา k4 i = ( 4 i )k = (1)k = 1 เพราะฉะนั้น kb = 1 ดังนั้น ∞→k lim kb = 1 ให kc = 2k4x + เพราะวา 2k4 i + = k4 i 2 i = (1)(–1) = –1 เพราะฉะนั้น kc = –1 ดังนั้น ∞→k lim kc = –1 แสดงวา { kb } และ { kc } เปนลําดับยอยของ { nx } ที่มีลิมิตตางกัน นั่นคือ { nx } เปนลําดับลูออก แสดงวา { n i } เปนลําดับลูออก
  • 19. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 19 ทฤษฎีบท 1.3.2 ให { nz } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน และ z ∈ C จะไดวา 1. ถา ∞→n lim nz = z แลว ∞→n lim | nz | = | z | 2. ∞→n lim nz = 0 ก็ตอเมื่อ ∞→n lim | nz | = 0 บทพิสูจน 1. สมมติวา ∞→n lim nz = z ให nz = nx + i ny และ z = x + iy โดยที่ nx , ny , x, y ∈ R จากทฤษฎีบท 1.3.1 จะได ∞→n lim nx = x และ ∞→n lim ny = y ดังนั้น ∞→n lim | nz | = ∞→n lim 2 n 2 n yx + = 22 yx + = | z | หมายเหตุ 1. บทกลับของทฤษฎีบท 1.3.2 ขอ 1. ไมเปนจริง เชน ให nz = n i จะเห็นวา ∞→n lim | nz | = 1 แต { nz } ไมมีลิมิต (ตัวอยาง 1.3.1 ขอ 4.) 2. จากทฤษฎีบท 1.3.2 ขอ 1. จะไดวา ถา ∞→n lim | nz | ไมมีคา แลว ∞→n lim nz ไมมีคา ตัวอยาง 1.3.2 จงหาลิมิตตอไปนี้ 1. ∞→n lim (3 + 4i)n 2. ∞→n lim n in วิธีทํา 1. พิจารณา ∞→n lim | (3 + 4i)n | = ∞→n lim | 3 + 4i |n = ∞→n lim n 5 = ∞ ดังนั้น ∞→n lim | (3 + 4i)n | ไมมีคา แสดงวา ∞→n lim (3 + 4i)n ไมมีคา 2. พิจารณา ∞→n lim | n in | = ∞→n lim n i || n = ∞→n lim n | i | n = ∞→n lim n 1 = 0 เพราะฉะนั้น ∞→n lim n in = 0
  • 20. แคลคูลัส 220 ขอสังเกต ในกรณีที่ ∞→n lim | nz | = L เมื่อ L ∈ R – {0} เราไมสามารถสรุปไดวา ∞→n lim nz มีคาหรือไม ทฤษฎีบท 1.3.3 ให { nz }, { nw } เปนลําดับของจํานวนเชิงซอน และ z, w, k ∈ C ซึ่ง ∞→n lim nz = z และ ∞→n lim nw = w จะไดวา 1. ∞→n lim k = k เมื่อ k เปนคาคงตัว 2. ∞→n lim k nz = kz เมื่อ k เปนคาคงตัว 3. ∞→n lim ( nz + nw ) = z + w 4. ∞→n lim ( nz – nw ) = z – w 5. ∞→n lim ( nz nw ) = zw 6. ∞→n lim ( n n w z ) = w z เมื่อ w ≠ 0 ตัวอยาง 1.3.3 จงหาลิมิตตอไปนี้ 1. ∞→n lim i24 i23 nn n2n − + 2. ∞→n lim 3 4 )in)(ni21( )ni21( ++ − วิธีทํา 1. ∞→n lim i24 i23 nn n2n − − = ∞→n lim n n 3( ) i 4 21 ( ) i 4 − − = 0 i 1 0i − − = –i 2. ∞→n lim 3 4 )in)(ni21( )ni21( ++ − = ∞→n lim 3 4 4 4 )in)(ni21( n 1 )ni21( n 1 ++ − = ∞→n lim 3 3 4 4 )in( n 1)ni21( n 1 )ni21( n 1 ++ − = ∞→n lim 4 3 1( 2i) n 1 1( 2i)(1 i) n n − + + = 4 3 (0 2i) (0 2i)(1 0i) − + + = 16 2i = –8i
  • 21. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 21 แบบฝกหัด 1.3 1. จงหาลิมิตตอไปนี้ 1.1 ∞→n lim in2 )ni1(n 2 + − 1.2 ∞→n lim 1)n(ni1 inn +− + 1.3 ∞→n lim (2 – i) n− 1.4 ∞→n lim i2 ie n n − 1.5 ∞→n lim n )ncosin(sin 5 − 1.6 ∞→n lim n i n 1.7 ∞→n lim in3 nni2 n n − + 1.8 ∞→n lim 32 42 )in2( )in3()in2( + −− 1.9 ∞→n lim 3 5 )in( )i2( − + 1.10 ∞→n lim n nn eincos ie + + 2. จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก 2.1 { in ni + } 2.2 {n n i } 2.3 { n n 2 )ncosi( } 2.4 { in1 )in( 3 6 + + } 2.5 { n )i1( in + + } 2.6 { n )i3( i − } 2.7 { )1n(ni)1n(n nni1 2 +++ + } 2.8 { 5 4 )ni3( )ni2(n + − }
  • 22. แคลคูลัส 222 1.4 อนุกรมของจํานวนจริง บทนิยาม 1.4.1 ให { na } เปนลําดับของจํานวนจริง และ 1S = 1a 2S = 1a + 2a 3S = 1a + 2a + 3a : nS = 1a + 2a + 3a + ... + na = ∑ = n 1k ka เราจะเรียก nS วา ผลบวกยอย ของ n พจนแรกของ { na } และเรียก { nS } วา อนุกรมอนันต ของจํานวนจริง (ตอไปเราจะเรียกสั้น ๆ วาอนุกรม) ซึ่งจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∑ ∞ =1n na หรือ 1a + 2a + 3a + ... + na + ... บทนิยาม 1.4.2 ถา { nS } เปนลําดับลูเขา ซึ่ง ∞→n lim nS = S เมื่อ S ∈ R เราจะกลาววา อนุกรม ∑ ∞ =1n na เปน อนุกรมลูเขา และเรียก S วา ผลบวกของอนุกรม ซึ่งจะเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∑ ∞ =1n na = S ถา { nS } เปนลําดับลูออก เราจะกลาววาอนุกรม ∑ ∞ =1n na เปน อนุกรมลูออก หมายเหตุ 1. การเขียนสัญลักษณแทนอนุกรมนั้น เราอาจจะเริ่มดวยคา n ที่ไมใช 1 ก็ได เชน ∑ ∞ = 3n na ซึ่งหมายถึง 3a + 4a + 5a + ... 2. ในกรณีที่ ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา เราจะใชสัญลักษณ ∑ ∞ =1n na แทนคาผลบวกของอนุกรม
  • 23. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 23 ทฤษฎีบท 1.4.1 ให ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมของจํานวนจริง และ m ∈ N จะไดวา 1. ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา ก็ตอเมื่อ ∑ ∞ = mn na เปนอนุกรมลูเขา 2. ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออก ก็ตอเมื่อ ∑ ∞ = mn na เปนอนุกรมลูออก และในกรณีที่ ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา จะไดวา ∑ ∞ = mn na = ∑ ∞ =1n na – ∑ − = 1m 1n na ตัวอยาง 1.4.1 จงพิจารณาวา อนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n )2n(n 1 + 2. ∑ ∞ =1n n( 1n n + ) 3. ∑ ∞ =1n )2n)(1n(n 1 ++ วิธีทํา 1. ให na = )2n(n 1 + = 2 1 ( n 1 – 2n 1 + ) เพราะวา 1a = 2 1 (1 – 3 1 ) ได 1S = 2 1 (1 + 2 1 – 2 1 – 3 1 ) 2a = 2 1 ( 2 1 – 4 1 ) ได 2S = 2 1 (1 + 2 1 – 3 1 – 4 1 ) 3a = 2 1 ( 3 1 – 5 1 ) ได 3S = 2 1 (1 + 2 1 – 4 1 – 5 1 ) 4a = 2 1 ( 4 1 – 6 1 ) ได 4S = 2 1 (1 + 2 1 – 5 1 – 6 1 ) 5a = 2 1 ( 5 1 – 7 1 ) ได 5S = 2 1 (1 + 2 1 – 6 1 – 7 1 ) โดยการพิสูจนดวยอุปนัยเชิงคณิตศาสตรจะไดวา nS = 2 1 (1 + 2 1 – 1n 1 + – 2n 1 + ) จะเห็นวา ∞→n lim nS = 2 1 ( 2 3 ) = 4 3 แสดงวา ∑ ∞ =1n )2n(n 1 + เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n )2n(n 1 + = 4 3 2. ให na = n( 1n n + ) จะไดวา nS = 1a + 2a + 3a + ... + na = n( 2 1 ) + n( 3 2 ) + n( 4 3 ) + ... + n( 1n n + ) = n[( 2 1 )( 3 2 )( 4 3 ) ... ( 1n n + )]
  • 24. แคลคูลัส 224 = n( 1n 1 + ) (สามารถพิสูจนดวยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร) = – n(n + 1) เพราะวา ∞→n lim nS = ∞→n lim – n(n + 1) = –∞ เพราะฉะนั้น ∑ ∞ =1n n( 1n n + ) เปนอนุกรมลูออก 3. ให na = )2n)(1n(n 1 ++ = 2 1 ( )1n(n 1 + – )2n)(1n( 1 ++ ) เพราะวา 1a = 2 1 ( 21 1 ⋅ – 32 1 ⋅ ) ได 1S = 2 1 ( 21 1 ⋅ – 32 1 ⋅ ) 2a = 2 1 ( 32 1 ⋅ – 43 1 ⋅ ) ได 2S = 2 1 ( 21 1 ⋅ – 43 1 ⋅ ) 3a = 2 1 ( 43 1 ⋅ – 54 1 ⋅ ) ได 3S = 2 1 ( 21 1 ⋅ – 54 1 ⋅ ) 4a = 2 1 ( 54 1 ⋅ – 65 1 ⋅ ) ได 4S = 2 1 ( 21 1 ⋅ – 65 1 ⋅ ) โดยการพิสูจนดวยอุปนัยเชิงคณิตศาสตรจะไดวา nS = 2 1 ( 21 1 ⋅ – )2n)(1n( 1 ++ ) เพราะวา ∞→n lim nS = 2 1 ( 2 1 ) = 4 1 แสดงวา ∑ ∞ =1n )2n)(1n(n 1 ++ เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n )2n)(1n(n 1 ++ = 4 1 ทฤษฎีบท 1.4.2 ถา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∞→n lim na = 0 บทพิสูจน เนื่องจาก ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา ดังนั้น จะมี S ∈ R ซึ่ง ∞→n lim nS = S ให ε > 0 เพราะฉะนั้นจะมี 1n ∈ R ซึ่ง | nS – S | < 2 ε ทุกจํานวนนับ n > 1n เลือก 0n = | 1n | + 1 ให n เปนจํานวนนับใด ๆ ซึ่ง n > 0n เพราะฉะนั้น n > 1n และ n – 1 > 1n จึงไดวา | nS – S | < 2 ε และ | 1nS − – S | < 2 ε แสดงวา | na – 0 | = | na | = | ( 1a + 2a + ... + 1na − + na ) – ( 1a + 2a + ... + 1na − ) |
  • 25. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 25 = | nS – 1nS − | = | ( nS – S) + (S – 1nS − ) | ≤ | nS – S | + | 1nS − – S | < 2 ε + 2 ε = ε ดังนั้น สรุปไดวา ∞→n lim na = 0 หมายเหตุ บทกลับของทฤษฎีบท 1.4.2 ไมเปนจริง กลาวคือ ถา ∞→n lim na = 0 แลว ∑ ∞ =1n na อาจจะเปนอนุกรมลูออกก็ได เชน ∞→n lim n( 1n n + ) = 0 แต ∑ ∞ =1n n( 1n n + ) เปนอนุกรม ลูออก (ตัวอยาง 1.4.1 ขอ 2.) ดังนั้น ในกรณีที่ ∞→n lim na = 0 เราจึงไมสามารถสรุปไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ทฤษฎีบท 1.4.3 (การทดสอบอนุกรมลูออก โดยพจนที่ n) ถา ∞→n lim na ≠ 0 แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออก ตัวอยาง 1.4.2 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูออก 1. ∑ ∞ =1n 1n n + 2. ∑ ∞ =1n n วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∞→n lim 1n n + = ∞→n lim n 11 1 + = 1 ≠ 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n 1n n + เปนอนุกรมลูออก 2. เนื่องจาก ∞→n lim n = ∞ แสดงวา ∞→n lim n ≠ 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n เปนอนุกรมลูออก
  • 26. แคลคูลัส 226 บทนิยาม 1.4.3 อนุกรมเรขาคณิต คือ อนุกรมที่เขียนไดในรูป ∑ ∞ =1n a 1n r − = a + ar + a 2 r + ... + a 1n r − + ... ทฤษฎีบท 1.4.4 อนุกรมเรขาคณิต ∑ ∞ =1n a 1n r − เมื่อ a ≠ 0 จะเปนอนุกรมลูเขา เมื่อ | r | < 1 โดยมีผลบวกของอนุกรมเปน r1 a − และเปนอนุกรมลูออก เมื่อ | r | ≥ 1 ทฤษฎีบท 1.4.5 ให ∑ ∞ =1n na และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูเขา และ α, β ∈ R เปนคาคงตัว ใด ๆ จะไดวา ∑ ∞ =1n (α na + β nb ) เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n (α na + β nb ) = α ∑ ∞ =1n na + β ∑ ∞ =1n nb บทพิสูจน ให nS = ∑ = n 1k ka nT = ∑ = n 1k kb nQ = ∑ = n 1k (α ka + β kb ) = α ∑ = n 1k ka + β ∑ = n 1k kb = α nS + β nT เนื่องจาก ∑ ∞ =1n na และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูเขา ดังนั้น จะมี S, T ∈ R ซึ่ง ∞→n lim nS = S และ ∞→n lim nT = T เพราะฉะนั้น ∞→n lim nQ = ∞→n lim (α nS + β nT ) = α ∞→n lim nS + β ∞→n lim nT = αS + βT แสดงวา ∑ ∞ =1n (α na + β nb ) เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n (α na + β nb ) = α ∑ ∞ =1n na + β ∑ ∞ =1n nb
  • 27. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 27 ขอสังเกต 1. ถา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา และ c เปนคาคงตัวใด ๆ แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n c na เปนอนุกรมลูเขาดวย และ ∑ ∞ =1n c na = c ∑ ∞ =1n na 2. ถา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออก และ c ≠ 0 เปนคาคงตัวใด ๆ แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n c na เปนอนุกรมลูออก ทฤษฎีบท 1.4.6 ถา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูออก แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n ( na + nb ) เปนอนุกรมลูออก บทพิสูจน สมมติวา ∑ ∞ =1n ( na + nb ) เปนอนุกรมลูเขา เนื่องจาก ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา (กําหนดให) ดังนั้น ∑ ∞ =1n [( na + nb ) + (–1) na ] = ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูเขา ซึ่งขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดใหวา ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูออก แสดงวา ที่สมมติวา ∑ ∞ =1n ( na + nb ) เปนอนุกรมลูเขา จึงเปนไปไมได นั่นคือ ∑ ∞ =1n ( na + nb ) เปนอนุกรมลูออก
  • 28. แคลคูลัส 228 ขอสังเกต ถา ∑ ∞ =1n na และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูออก แลว ∑ ∞ =1n ( na + nb ) อาจจะเปนอนุกรมลูเขาหรือลูออกก็ได เชน 1. na = n, nb = –n, na + nb = 0 จะไดวา ∑ ∞ =1n na และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูออก แต ∑ ∞ =1n ( na + nb ) = ∑ ∞ =1n 0 เปนอนุกรมลูเขา 2. na = n, nb = n, na + nb = 2n จะไดวา ∑ ∞ =1n na และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูออก และ ∑ ∞ =1n ( na + nb ) = ∑ ∞ =1n 2n เปนอนุกรมลูออก ตัวอยาง 1.4.3 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวกของอนุกรมนั้นดวย 1. ∑ ∞ =1n ( n 2 3 + )2n(n 4 + ) 2. ∑ ∞ =1n ((– 5 4 )n + n ) 3. ∑ ∞ =1n ( n 1 3 + n( n n 1+ )) วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n n 2 1 เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี a = 2 1 , r = 2 1 ซึ่ง | r | < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n 2 1 เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n n 2 1 = 2 11 2 1 − = 1 จากตัวอยาง 1.4.1 ขอ 1. จะไดวา ∑ ∞ =1n )2n(n 1 + เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n )2n(n 1 + = 4 3 เราจึงสรุปไดวา ∑ ∞ =1n ( n 2 3 + )2n(n 4 + ) เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n ( n 2 3 + )2n(n 4 + ) = 3(1) + 4( 4 3 ) = 6
  • 29. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 29 2. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n (– 5 4 ) n เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี a = – 5 4 และ r = – 5 4 ซึ่ง | r | < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n (– 5 4 ) n เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n (– 5 4 ) n = ) 5 4(1 5 4 −− − = – 9 4 เนื่องจาก ∞→n lim n = ∞ แสดงวา ∞→n lim n ≠ 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n เปนอนุกรมลูออก เราจึงสรุปไดวา ∑ ∞ =1n ((– 5 4 ) n + n ) เปนอนุกรมลูออก 3. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n n 1 3 เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี a = 1 3 และ r = 1 3 ซึ่ง | r | < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n 1 3 เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n n 1 3 = 1 3 11 3 − = 1 2 จากตัวอยาง 1.4.1 ขอ 2. จะไดวา ∑ ∞ =1n n( n n 1+ ) เปนอนุกรมลูออก เราจึงสรุปไดวา ∑ ∞ =1n ( n 1 3 + n( n n 1+ )) เปนอนุกรมลูออก หมายเหตุ จากตัวอยาง 1.4.3 ขอ 2. เราอาจแสดงวา ∑ ∞ =1n ((– 5 4 ) n + n ) เปนอนุกรม ลูออก โดยใชเหตุผลวา ∞→n lim ((– 5 4 ) n + n ) = ∞ แสดงวา ∞→n lim ((– 5 4 ) n + n ) ≠ 0 เพราะฉะนั้น ∑ ∞ =1n ((– 5 4 ) n + n ) เปนอนุกรมลูออก แตสําหรับตัวอยาง 1.4.3 ขอ 3. เราไมสามารถใชเหตุผลดังกลาวได เพราะ ∞→n lim ( n 1 3 + n( n n 1+ )) = 0
  • 30. แคลคูลัส 230 แบบฝกหัด 1.4.1 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถาลูเขา จงหาผลบวกของ อนุกรมนั้นดวย 1. ∑ ∞ =1n )2n)(1n( 1 ++ 2. ∑ ∞ =1n 1n3 1n 2 4 + + 3. ∑ ∞ =1n ( n 5 4 + (– 3 2 ) n ) 4. ∑ ∞ =1n n3n 1 2 + 5. ∑ ∞ =1n nn n2 32 2 + 6. ∑ ∞ =1n n(1 + n 1 ) 7. ∑ ∞ =1n ( 3n4n 1 2 ++ + n 4− ) 8. ∑ ∞ =1n 1n4 1 2 − 9. ∑ ∞ =1n ( 1n n + ) n 10. ∑ ∞ =1n n1n 1 ++ 11. ∑ ∞ =1n (n – 1n n2 + ) 12. ∑ ∞ =1n )3n)(2n)(1n( n +++
  • 31. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 31 ทฤษฎีบท 1.4.7 (การทดสอบแบบอินทิกรัล) ให ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมของจํานวนจริง ซึ่ง na ≥ 0 และ f เปนฟงกชันคาจริง ซึ่งมีสมบัติดังนี้ 1. f(n) = na ทุก n ∈ N 2. มี 0n ∈ N ซึ่ง f เปนฟงกชันไมเพิ่ม และมีความตอเนื่องบนชวง [ 0n , ∞) 3. nt = ∫ n 0n f(x)dx , n ≥ 0n จะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา ถา { nt } เปนลําดับลูเขา และ ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออก ถา { nt } เปนลําดับลูออก ตัวอยาง 1.4.4 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n 5n n 2 + 2. ∑ ∞ =1n ( n en 1 + n2( ) π ) วิธีทํา 1. ให f(x) = 5x x 2 + เมื่อ x ≥ 1 จะได f′(x) = 22 2 )5x( )x2(x)5x( + −+ = 22 2 )5x( x5 + − < 0 ทุก x ≥ 3 ดังนั้น f เปนฟงกชันลด และมีความตอเนื่องบนชวง [3, ∞) ให nt = ∫ n 3 f(x)dx , n ≥ 3 = ∫ n 3 5x x 2 + dx = [ 2 1 n( 2 x + 5) ] 3x nx = = = 2 1 n( 2 n + 5) – 2 1 n14 จะเห็นวา ∞→n lim nt = ∞ เพราะฉะนั้น { nt } เปนลําดับลูออก ดังนั้น ∑ ∞ =1n 5n n 2 + เปนอนุกรมลูออก
  • 32. แคลคูลัส 232 2. ให f(x) = x ex 1 เมื่อ x ≥ 1 จะได f′(x) = 2x )ex( 1− [ x x e x2 1 + x e x2 1 ] < 0 ทุก x ≥ 1 ดังนั้น f เปนฟงกชันลด และมีความตอเนื่องบนชวง [1, ∞) ให nt = ∫ n 1 f(x)dx, n > 1 = ∫ n 1 x ex 1 dx = [ x e 2− ] 1x nx = = = n e 2− + e 2 จะเห็นวา ∞→n lim nt = e 2 เพราะฉะนั้น { nt } เปนลําดับลูเขา ดังนั้น ∑ ∞ =1n n en 1 เปนอนุกรมลูเขา เนื่องจาก ∑ ∞ =1n n2( ) π เปนอนุกรมเรขาคณิต โดยมี r = 2 π ซึ่ง | r | < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n2( ) π เปนอนุกรมลูเขา เราจึงสรุปไดวา ∑ ∞ =1n ( n en 1 + n2( ) π ) เปนอนุกรมลูเขา
  • 33. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 33 แบบฝกหัด 1.4.2 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก โดยใชการทดสอบแบบอินทิกรัล 1. ∑ ∞ =1n 1n 1 2 + 2. ∑ ∞ =1n 1n2 1 − 3. ∑ ∞ =1n 2n )2n(n + + 4. ∑ ∞ =1n nn 1 2 + 5. ∑ ∞ =1n 1n )narctan( 2 + 6. ∑ ∞ =1n 6n n 4 3 + 7. ∑ ∞ =1n 2 n ) n 1sin( 8. ∑ ∞ =1n )1n(n 1n2 + + 9. ∑ ∞ =1n 2 n 3n e− 10. ∑ ∞ =1n )12(n 2 nn nn + − −
  • 34. แคลคูลัส 234 บทนิยาม 1.4.4 อนุกรมพี คือ อนุกรมที่เขียนไดในรูป ∑ ∞ =1n p n 1 เมื่อ p ∈ R เปนคาคงตัว ทฤษฎีบท 1.4.8 อนุกรมพีจะเปนอนุกรมลูเขา เมื่อ p > 1 และจะเปนอนุกรมลูออก เมื่อ p ≤ 1 บทพิสูจน ถา p < 0 แลวจะไดวา ∞→n lim p n 1 = ∞ ถา p = 0 แลวจะไดวา ∞→n lim p n 1 = 1 ดังนั้น ในกรณีที่ p ≤ 0 จะไดวา ∑ ∞ =1n p n 1 เปนอนุกรมลูออก พิจารณากรณีที่ p > 0 ให f(x) = p x 1 ทุก x ≥ 1 จะได f′(x) = 1p x p + − < 0 ทุก x ≥ 1 ดังนั้น f เปนฟงกชันลด และมีความตอเนื่องบนชวง [1, ∞) ให nt = ∫ n 1 f(x)dx = ∫ n 1 p x 1 dx, n ≥ 1 = p 1 x nx [ ] p 1x 1p 1 x n[ n x] p 1 x 1 − +⎧ = ≠⎪ =⎪ − +⎨ =⎪ = =⎪⎩ เมื่อ เมื่อ = p 1 1 1 ( 1) p 1 1 p n n n p 1 − ⎧ − ≠⎪ −⎨ ⎪ =⎩ เมื่อ เมื่อ จะไดวา ∞→n lim nt = ⎪ ⎩ ⎪ ⎨ ⎧ > − − ≤∞ 1p p1 1 1p เมื่อ เมื่อ ดังนั้น ในกรณีที่ 0 < p ≤ 1 จะไดวา ∑ ∞ =1n p n 1 เปนอนุกรมลูออก และ ในกรณีที่ p > 1 จะไดวา ∑ ∞ =1n p n 1 เปนอนุกรมลูเขา เราจึงสรุปไดวา ∑ ∞ =1n p n 1 เปนอนุกรมลูเขา เมื่อ p > 1 และ ∑ ∞ =1n p n 1 เปนอนุกรมลูออก เมื่อ p ≤ 1
  • 35. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 35 ตัวอยาง 1.4.5 1. ∑ ∞ =1n 3 n 1 เปนอนุกรมลูออก เพราะเปนอนุกรมพี ซึ่ง p = 3 1 < 1 2. ∑ ∞ =1n 2 n 1 เปนอนุกรมลูเขา เพราะเปนอนุกรมพี ซึ่ง p = 2 > 1 ทฤษฎีบท 1.4.9 (การทดสอบโดยใชการเปรียบเทียบ) ให ∑ ∞ =1n na , ∑ ∞ =1n nb และ ∑ ∞ =1n nc เปนอนุกรมของจํานวนจริง 1. ถามี 0n ∈ N ซึ่ง 0 ≤ na ≤ nb ทุก n ≥ 0n และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na จะเปนอนุกรมลูเขาดวย 2. ถามี 0n ∈ N ซึ่ง 0 ≤ nc ≤ na ทุก n ≥ 0n และ ∑ ∞ =1n nc เปนอนุกรมลูออก แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na จะเปนอนุกรมลูออกดวย ตัวอยาง 1.4.6 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n n 2n 1 2. ∑ ∞ =1n n nn วิธีทํา 1. เนื่องจาก 0 ≤ n 2n 1 ≤ n 2 1 ทุก n ∈ N และ ∑ ∞ =1n n 2 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 2 1 ) ดังนั้น ∑ ∞ =1n n 2n 1 เปนอนุกรมลูเขา 2. เนื่องจาก 1 ≤ nn ทุก n ≥ 3 ดังนั้น 0 ≤ n 1 ≤ n nn ทุก n ≥ 3 เพราะวา ∑ ∞ =1n n 1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2 1 ) เพราะฉะนั้น ∑ ∞ =1n n nn เปนอนุกรมลูออก
  • 36. แคลคูลัส 236 ทฤษฎีบท 1.4.10 (การทดสอบโดยใชการเปรียบเทียบดวยลิมิต) ให ∑ ∞ =1n na และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมของจํานวนจริง ซึ่ง na ≥ 0 และ nb > 0 ทุก n ∈ N 1. ถา ∞→n lim n n b a = c > 0 แลวจะไดวา อนุกรมทั้งสองจะลูเขาดวยกันหรือไมก็ลูออกดวยกัน 2. ถา ∞→n lim n n b a = 0 และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขาดวย 3. ถา ∞→n lim n n b a = ∞ และ ∑ ∞ =1n nb เปนอนุกรมลูออก แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออกดวย ตัวอยาง 1.4.7 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n 1nn3 1n 2 2 ++ + 2. ∑ ∞ =1n nn n 35 2 − 3. ∑ ∞ =1n n 2 n 4. ∑ ∞ =1n )1n(n 1 + วิธีทํา 1. ให na = 1nn3 1n 2 2 ++ + และ nb = n 1 จะเห็นวา ∑ ∞ =1n nb = ∑ ∞ =1n n 1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 1) และ ∞→n lim n n b a = ∞→n lim 1nn3 1nn 2 2 ++ + = ∞→n lim 2 2 n 1 n 13 n 11 ++ + = 3 1 > 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n na = ∑ ∞ =1n 1nn3 1n 2 2 ++ + เปนอนุกรมลูออก
  • 37. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 37 2. ให na = nn n 35 2 − และ nb = ( 5 2 ) n จะเห็นวา ∑ ∞ =1n nb = ∑ ∞ =1n ( 5 2 ) n เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 5 2 ) และ ∞→n lim n n b a = ∞→n lim ( nn n 35 2 − )( 2 5 ) n = ∞→n lim nn n 35 5 − = ∞→n lim n ) 5 3(1 1 − = 1 > 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n na = ∑ ∞ =1n nn n 35 2 − เปนอนุกรมลูเขา 3. ให na = n 2 n และ nb = 2 3 n 1 จะเห็นวา ∑ ∞ =1n nb = ∑ ∞ =1n 2 3 n 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2 3 ) และ ∞→n lim n n b a = ∞→n lim n 2 2 n = 0 (ตัวอยาง 1.2.5 ขอ 1.) ดังนั้น ∑ ∞ =1n na = ∑ ∞ =1n n 2 n เปนอนุกรมลูเขา 4. ให na = )1n(n 1 + และ nb = n 1 จะเห็นวา ∑ ∞ =1n nb = ∑ ∞ =1n n 1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 1) และ ∞→n lim n n b a = ∞→n lim )1n(n n + ให f(x) = )1x(n x + , x ≥ 1 จะไดวา ∞→x lim f(x) = ∞→x lim )1x(n x + (I.F. ∞ ∞ ) = ∞→x lim 1x 1 1 + = ∞→x lim (x + 1) = ∞ เพราะฉะนั้น ∞→n lim n n b a = ∞ ดังนั้น ∑ ∞ =1n na = ∑ ∞ =1n )1n(n 1 + เปนอนุกรมลูออก
  • 38. แคลคูลัส 238 แบบฝกหัด 1.4.3 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n 4 2 )1n2( 1n − + 2. ∑ ∞ =1n ( n ncos )2 3. ∑ ∞ =1n )1n(nn 1 + 4. ∑ ∞ =1n 43n 3 n n + 5. ∑ ∞ =1n 1n 1n 3 3 2 + + 6. ∑ ∞ =1n nn nn 7. ∑ ∞ =1n n )1(n n −+ 8. ∑ ∞ =1n )2n(ne nn n + 9. ∑ ∞ =1n 23n n n − 10. ∑ ∞ =1n (n + 2) nn2− 11. ∑ ∞ =1n n 2 nn 12. ∑ ∞ =1n 2 n 4 −
  • 39. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 39 บทนิยาม 1.4.5 ถา na > 0 ทุก n ∈ N เราเรียกอนุกรมที่เขียนไดในรูป ∑ ∞ =1n (–1) 1n+ na = 1a – 2a + 3a – 4a + ... + (–1) 1n+ na + ... หรือ ∑ ∞ =1n (–1)n na = – 1a + 2a – 3a + ... + (–1)n na + ... วา อนุกรมสลับ ทฤษฎีบท 1.4.11 อนุกรมสลับ ∑ ∞ =1n (–1)n na เปนอนุกรมลูเขา ถา 1. ∞→n lim na = 0 และ 2. มี 0n ∈ N ซึ่ง 1na + < na ทุก n ≥ 0n ขอสังเกต ในกรณีที่ ∞→n lim na ≠ 0 เราจะไดวา ∞→n lim | (–1)n na | = ∞→n lim na ≠ 0 ดังนั้น ∞→n lim (–1)n na ≠ 0 เพราะฉะนั้น ถา ∞→n lim na ≠ 0 แลว ∑ ∞ =1n (–1)n na เปนอนุกรมลูออก ตัวอยาง 1.4.8 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n n )1( n − 2. ∑ ∞ =1n nn3 )1( n n + − 3. ∑ ∞ =1n 1n n)1( n + − วิธีทํา 1. ในที่นี้ na = n 1 จะไดวา ∞→n lim na = ∞→n lim n 1 = 0 เพราะวา 1na + = 1n 1 + และ 1n 1 + < n 1 ทุก n ∈ N เพราะฉะนั้น 1na + < na ทุก n ∈ N ดังนั้น ∑ ∞ =1n n )1( n − เปนอนุกรมลูเขา
  • 40. แคลคูลัส 240 2. ในที่นี้ na = nn3 1 n + จะไดวา ∞→n lim na = ∞→n lim nn3 1 n + = 0 ให f(x) = xn3 1 x + เมื่อ x ≥ 1 ดังนั้น f′(x) = 2x )xn3( 1 + − ( x 3 n3 + x 1 ) < 0 ทุก x ≥ 1 แสดงวา f เปนฟงกชันลด เพราะฉะนั้น f(n + 1) < f(n) ทุก n ∈ N นั่นคือ 1na + < na ทุก n ∈ N ดังนั้น ∑ ∞ =1n nn3 )1( n n + − เปนอนุกรมลูเขา 3. ในที่นี้ na = 1n n + จะไดวา ∞→n lim na = ∞→n lim 1n n + = ∞→n lim n 11 1 + = 1 ≠ 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n 1n n)1( n + − เปนอนุกรมลูออก ทฤษฎีบท 1.4.12 ถา ∑ ∞ =1n | na | เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา บทพิสูจน ให nb = 2 a|a| nn + และ nc = 2 a|a| nn − เนื่องจาก –| na | ≤ na ≤ | na | ดังนั้น 0 ≤ nb ≤ | na | และ 0 ≤ nc ≤ | na | ทุก n ∈ N เพราะวา ∑ ∞ =1n | na | เปนอนุกรมลูเขา เพราะฉะนั้น ∑ ∞ =1n nb และ ∑ ∞ =1n nc เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1.) ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( nb – nc ) = ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.5)
  • 41. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 41 หมายเหตุ 1. บทกลับของทฤษฎีบท 1.4.12 ไมจริง กลาวคือ ถา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา แลว ∑ ∞ =1n | na | อาจจะเปนอนุกรมลูออกก็ได ตัวอยางเชน ∑ ∞ =1n n )1( n − เปนอนุกรมลูเขา แต ∑ ∞ =1n n 1 เปนอนุกรมลูออก ∑ ∞ =1n n n 2 )1(− เปนอนุกรมลูเขา และ ∑ ∞ =1n n 2 1 เปนอนุกรมลูเขา 2. ในกรณีที่ ∑ ∞ =1n | na | เปนอนุกรมลูออก เราไมสามารถสรุปไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ตัวอยางเชน ∑ ∞ =1n | n )1( n − | = ∑ ∞ =1n n 1 เปนอนุกรมลูออก แต ∑ ∞ =1n n )1( n − เปนอนุกรมลูเขา ∑ ∞ =1n | n ( 1)− 2 n | = ∑ ∞ =1n 2 n เปนอนุกรมลูออก และ ∑ ∞ =1n n ( 1)− 2 n เปนอนุกรมลูออก ตัวอยาง 1.4.9 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขา 1. ∑ ∞ =1n n4 )3ncos( 2. ∑ ∞ =1n 2 n n )1(− วิธีทํา 1. พิจารณา ∑ ∞ =1n | 3 cos(n ) n4 | = ∑ ∞ =1n n4 )3ncos( || ... (1) เพราะวา 0 ≤ | cos 3 (n ) | ≤ 1 ทุก n ∈ N 0 ≤ 3 cos(n ) n4 | | ≤ n4 1 ทุก n ∈ N และ ∑ ∞ =1n n4 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 4 1 ) โดยทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1. จะไดวา ∑ ∞ =1n | 3cos(n ) n4 | = ∑ ∞ =1n n4 )3ncos( || เปนอนุกรมลูเขา ดังนั้น ∑ ∞ =1n n4 )3ncos( เปนอนุกรมลูเขา
  • 42. แคลคูลัส 242 2. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n | 2 n n )1(− | = ∑ ∞ =1n 2 n 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2) ดังนั้น ∑ ∞ =1n 2 n n )1(− เปนอนุกรมลูเขา บทนิยาม 1.4.6 ∑ ∞ =1n na เปน อนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ ถา ∑ ∞ =1n | na | เปนอนุกรมลูเขา ∑ ∞ =1n na เปน อนุกรมลูเขาแบบมีเงื่อนไข ถา ∑ ∞ =1n | na | เปนอนุกรมลูออก แต ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขา ตัวอยาง 1.4.10 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณหรือลูเขาแบบมี เงื่อนไข 1. ∑ ∞ =1n n 3 ( 1) n n 4 − + 2. ∑ ∞ =1n )1n(n )1( n + − 3. ∑ ∞ =1n ( 1n 1 + − ) n วิธีทํา 1. พิจารณา ∑ ∞ =1n | n 3 ( 1) n n 4 − + | ≤ ∑ ∞ =1n 3 n n 4+ เนื่องจาก 3 n ≤ 3 n + 4 ทุก n ∈ N ดังนั้น 3 1 n 4+ ≤ 3 1 n ทุก n ∈ N 0 ≤ 3 n n 4+ ≤ 3 n n ≤ 2 1 n ทุก n ∈ N เพราะวา ∑ ∞ =1n 2 1 n เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2) เพราะฉะนั้น ∑ ∞ =1n 3 n n 4+ เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1.) นั่นคือ ∑ ∞ =1n | n 3 ( 1) n n 4 − + | เปนอนุกรมลูเขา ดังนั้น ∑ ∞ =1n n 3 ( 1) n n 4 − + เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
  • 43. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 43 2. พิจารณา ∑ ∞ =1n | )1n(n )1( n + − | = ∑ ∞ =1n )1n(n 1 + จากตัวอยาง 1.4.7 ขอ 4. จะไดวา ∑ ∞ =1n )1n(n 1 + เปนอนุกรมลูออก ดังนั้น ∑ ∞ =1n | )1n(n )1( n + − | เปนอนุกรมลูออก ให na = )1n(n 1 + จะไดวา ∞→n lim na = ∞→n lim )1n(n 1 + = 0 และ 1na + = )2n(n 1 + เนื่องจาก n เปนฟงกชันเพิ่ม ดังนั้น 0 < n(n + 1) < n(n + 2) ทุก n ∈ N )2n(n 1 + < )1n(n 1 + ทุก n ∈ N นั่นคือ 1na + < na ทุก n ∈ N ดังนั้น ∑ ∞ =1n )1n(n )1( n + − เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.11) แสดงวา ∑ ∞ =1n )1n(n )1( n + − เปนอนุกรมลูเขาแบบมีเงื่อนไข 3. พิจารณา ∑ ∞ =1n | ( 1n 1 + − ) n | = ∑ ∞ =1n n )1n( 1 + เนื่องจาก 0 ≤ 1n 1 + ≤ 2 1 ทุก n ∈ N ดังนั้น 0 ≤ n )1n( 1 + ≤ n 2 1 ทุก n ∈ N เพราะวา ∑ ∞ =1n n 2 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 2 1 ) เพราะฉะนั้น ∑ ∞ =1n n )1n( 1 + เปนอนุกรมลูเขา (ทฤษฎีบท 1.4.9 ขอ 1.) นั่นคือ ∑ ∞ =1n | ( 1n 1 + − ) n | เปนอนุกรมลูเขา ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( 1n 1 + − ) n เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
  • 44. แคลคูลัส 244 แบบฝกหัด 1.4.4 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาเปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ หรือลูเขาแบบมีเงื่อนไข 1. ∑ ∞ =1n n )1( n − 2. ∑ ∞ =1n )2n(n n + 3. ∑ ∞ =1n nn n 2 )1(− 4. ∑ ∞ =1n 1nn n)1( 4 2n +− − 5. ∑ ∞ =1n 1n )1( 2 n + − 6. ∑ ∞ =1n nn n2n 34 2)1( + − 7. ∑ ∞ =1n 1n4 narctan 3 − 8. ∑ ∞ =1n )1e(n )1( n n + −
  • 45. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 45 ทฤษฎีบท 1.4.13 (การทดสอบโดยใชอัตราสวน) ให ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมของจํานวนจริง ซึ่ง na ≠ 0 และ ∞→n lim | n 1n a a + | = ∞ หรือ ∞→n lim | n 1n a a + | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา 1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ 2. ถา L > 1 หรือ ∞→n lim | n 1n a a + | = ∞ แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออก 3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได ตัวอยาง 1.4.11 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n !n 2n 2. ∑ ∞ =1n n 3n 2 n)1(− 3. ∑ ∞ =1n nn n 3 e วิธีทํา 1. ให na = !n 2n เพราะฉะนั้น 1na + = )!1n( 2 1n + + จะเห็นวา ∞→n lim | n 1n a a + | = ∞→n lim | )!1n( 2 1n + + n 2 !n | = ∞→n lim 1n 2 + = 0 < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n !n 2n เปนอนุกรมลูเขา 2. ให na = n 3n 2 n)1(− เพราะฉะนั้น 1na + = 1n 31n 2 )1n()1( + + +− จะเห็นวา ∞→n lim | n 1n a a + | = ∞→n lim | 1n 31n 2 )1n()1( + + +− 3n n n)1( 2 − |
  • 46. แคลคูลัส 246 = ∞→n lim | 3 3 n2 )1n( +− | = ∞→n lim 3 3 n2 )1n( + = ∞→n lim 2 ) n 11( 3 + = 2 1 < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n 3n 2 n)1(− เปนอนุกรมลูเขา 3. ให na = nn n 3 e เพราะฉะนั้น 1na + = )1n(n 1n 3 e + + จะเห็นวา ∞→n lim | n 1n a a + | = ∞→n lim | )1n(n 1n 3 e + + n nn e 3 | = ∞→n lim | nn)1n(n 3 e −+ | = ∞→n lim ) n 11(n 3 e + = e > 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n nn n 3 e เปนอนุกรมลูออก
  • 47. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 47 ทฤษฎีบท 1.4.14 (การทดสอบโดยใชการถอดกรณฑ) ให ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมของจํานวนจริง และ ∞→n lim n n| a | = ∞ หรือ ∞→n lim n n| a | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา 1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ 2. ถา L > 1 หรือ ∞→n lim n n| a | = ∞ แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n na เปนอนุกรมลูออก 3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได ตัวอยาง 1.4.12 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n ( 3 2 ) 2n 2. ∑ ∞ =1n ( )12(n n n + ) n 3. ∑ ∞ =1n ( n 1 n n e 2 3e 5 + + + ) n วิธีทํา 1. ให na = ( 3 2 ) 2n จะเห็นวา ∞→n lim n n| a | = ∞→n lim n 2 n ) 3 2( = ∞→n lim ( 3 2 )n = 0 < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( 3 2 ) 2n เปนอนุกรมลูเขา 2. ให na = ( )12(n n n + ) n จะเห็นวา ∞→n lim n n| a | = ∞→n lim n n n ) )12(n n( + = ∞→n lim )12(n n n + ให f(x) = )12(n x x + เมื่อ x ≥ 1
  • 48. แคลคูลัส 248 จะไดวา ∞→x lim f(x) = ∞→x lim )12(n x x + (I.F. ∞ ∞ ) = ∞→x lim )2n2( 12 1 1 x x + = ∞→x lim 2n2 12 x x + = ∞→x lim 2n 2 11 x + = 2n 1 แสดงวา ∞→n lim n n| a | = 2n 1 เพราะวา 1 = ne > n2 > 0 เพราะฉะนั้น 2n 1 > 1 เพราะฉะนั้น ∞→n lim n n| a | > 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( )12(n n n + ) n เปนอนุกรมลูออก 3. ให na = ( n 1 n n e 2 3e 5 + + + ) n จะเห็นวา ∞→n lim n n| a | = ∞→n lim n 1 n nn n e 2( ) 3e 5 + + + = ∞→n lim n 1 n n e 2 3e 5 + + + = ∞→n lim n n 2e ( ) e 53 e + + = e 0 3 0 + + = e 3 < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( n 1 n n e 2 3e 5 + + + ) n เปนอนุกรมลูเขา
  • 49. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 49 แบบฝกหัด 1.4.5 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n n e )1n(n + 2. ∑ ∞ =1n (1 – n 1 ) 2 n 3. ∑ ∞ =1n !n )1( n − 4. ∑ ∞ =1n 1nn 2 4 n ++ 5. ∑ ∞ =1n n n ncos 6. ∑ ∞ =1n n 5n 1 7. ∑ ∞ =1n 2 )!n( )!n2( 8. ∑ ∞ =1n ( )1n(n n + ) n 9. ∑ ∞ =1n n 3 )1n(nn + 10. ∑ ∞ =1n )1n(n n 2 + 11. ∑ ∞ =1n ( 1n n + ) 3 n 12. ∑ ∞ =1n n n !n
  • 50. แคลคูลัส 250 แบบฝกหัดระคน จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n 2 2 )1n2( 1n − + 2. ∑ ∞ =1n ( 1n n 2 + + n n− ) 3. ∑ ∞ =1n 3 4 n nsec 4. ∑ ∞ =1n 3 n n 3− 5. ∑ ∞ =1n ( 1n n + ) n 6. ∑ ∞ =1n 1n 1n 7 2 + + 7. ∑ ∞ =1n ( 1nn2 ++ – n) 8. ∑ ∞ =1n 1n3 )1( n − − 9. ∑ ∞ =1n !n3 n n n 10. ∑ ∞ =1n )3n(n)3n( 1 ++ 11. ∑ ∞ =1n 2n n 4− ⋅ 12. ∑ ∞ =1n n5 2 n n − 13. ∑ ∞ =1n ( n 1 – 1n2 2 + ) 14. ∑ ∞ =1n (n + 3) nn(e n)− + 15. ∑ ∞ =1n )3n(nn 1 + 16. ∑ ∞ =1n (π – 2arctann) 17. ∑ ∞ =1n )1n(n n + 18. ∑ ∞ =1n n 2n n2 − 19. ∑ ∞ =1n 4 n n n n 20. ∑ ∞ =1n )13(n 1 n + 21. ∑ ∞ =1n (3 + cosn) n− 22. ∑ ∞ =1n )!n3( )!n( 3 23. ∑ ∞ =1n n( 3n 20n + + ) 24. ∑ ∞ =1n ( 1n4 + – 2 n )
  • 51. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 51 25. ∑ ∞ =1n 1n )1( 2 n + − 26. ∑ ∞ =1n !n )1n(n + 27. ∑ ∞ =1n 2 n)n2(n 1 + 28. ∑ ∞ =1n nn 9− 29. ∑ ∞ =1n n3 nn n − 30. ∑ ∞ =1n 12n 2 n n + 31. ∑ ∞ =1n ( n 1 + 14 3 n n − ) 32. ∑ ∞ =1n n( 5 4 )n 33. ∑ ∞ =1n (n n 1+ + 1) n2− 34. ∑ ∞ =1n nn1 )1( n + − 35. ∑ ∞ =1n ( n 3 !n + n 2 4 ncos ) 36. ∑ ∞ =1n 103 9 )2n(n )1n( + + 37. ∑ ∞ =1n sin( n 1 ) 38. ∑ ∞ =1n )3n2(...)9)(7)(5( !n + 39. ∑ ∞ =1n n 1... 3 1 2 11 1 ++++ 40. ∑ ∞ =1n ( n 1 – 1n 1 + ) 41. ∑ ∞ =1n nnn 1 + 42. ∑ ∞ =1n n 3 nsin 43. ∑ ∞ =1n nsin( 3 n 1 ) 44. ∑ ∞ =1n )1 n e(n 3 +− 45. ∑ ∞ =1n cos(n!) n! 46. ∑ ∞ =1n 2 6 1 n 3n n 2 + − + 47. ∑ ∞ =1n n ( 1) n(n 2) n − + 48. ∑ ∞ =1n ( 2 sin n n + 1 n ) 49. ∑ ∞ =1n [( 2 n 1+ - n)cosn]n 50. ∑ ∞ =1n n sin n
  • 52. แคลคูลัส 252 1.5 อนุกรมของจํานวนเชิงซอน เราจะใหความหมายของอนุกรมของจํานวนเชิงซอน ในทํานองเดียวกันกับความหมาย ของอนุกรมของจํานวนจริง ในบางครั้งเราอาจจะศึกษาอนุกรมของจํานวนเชิงซอนได โดย อาศัยความรูจากอนุกรมของจํานวนจริง ทฤษฎีบท 1.5.1 ให nz = nx + i ny โดยที่ nz ∈ C และ nx , ny ∈ R จะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขา ก็ตอเมื่อ ∑ ∞ =1n nx และ ∑ ∞ =1n ny เปนอนุกรมลูเขา และในกรณีที่ ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขา จะไดวา ∑ ∞ =1n nz = ∑ ∞ =1n nx + i ∑ ∞ =1n ny ตัวอยาง 1.5.1 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n ( 2 n 1 + i( 3 2 ) n ) 2. ∑ ∞ =1n in i + วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n 2 n 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2) และ ∑ ∞ =1n ( 3 2 ) n เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 3 2 ) ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( 2 n 1 + i( 3 2 ) n ) เปนอนุกรมลูเขา 2. เนื่องจาก in i + = ( in i + )( in in − − ) = 1n in1 2 + + = 1n 1 2 + + i 1n n 2 + ดังนั้น ∑ ∞ =1n 1n i + = ∑ ∞ =1n ( 1n 1 2 + + i 1n n 2 + ) พิจารณาอนุกรม ∑ ∞ =1n 1n n 2 + ให na = 1n n 2 + และ nb = n 1 จะเห็นวา ∑ ∞ =1n nb = ∑ ∞ =1n n 1 เปนอนุกรมลูออก (อนุกรมพี ซึ่ง p = 1)
  • 53. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 53 และ ∞→n lim n n b a = ∞→n lim 1n n 2 2 + = ∞→n lim 2 n 11 1 + = 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n 1n n 2 + เปนอนุกรมลูออก (ทฤษฎีบท 1.4.10 ขอ 1.) แสดงวา ∑ ∞ =1n in i + เปนอนุกรมลูออก ทฤษฎีบท 1.5.2 ถา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∞→n lim nz = 0 หมายเหตุ บทกลับของทฤษฎีบท 1.5.2 ไมเปนจริง ดังนั้น ในกรณีที่ ∞→n lim nz = 0 เราจึงไมสามารถสรุปไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก ทฤษฎีบท 1.5.3 ถา ∞→n lim nz ≠ 0 แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูออก ตัวอยาง 1.5.2 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูออก 1. ∑ ∞ =1n in ni2 + 2. ∑ ∞ =1n (sinn + icosn)n วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∞→n lim in ni2 + = ∞→n lim 2i 11 i n + = 2i ≠ 0 ดังนั้น ∑ ∞ =1n in ni2 + เปนอนุกรมลูออก 2. เนื่องจาก ∞→n lim | (sinn + icosn)n | = ∞→n lim | sinn + icosn | n = ∞→n lim ( ncosnsin 22 + ) n = ∞→n lim n 1 = 1 ≠ 0 ดังนั้น ∞→n lim (sinn + icosn)n ≠ 0 (ทฤษฎีบท 1.3.2 ขอ 2.) แสดงวา ∑ ∞ =1n (sinn + icosn)n เปนอนุกรมลูออก
  • 54. แคลคูลัส 254 ทฤษฎีบท 1.5.4 ถา ∑ ∞ =1n | nz | เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขา หมายเหตุ 1. บทกลับของทฤษฎีบท 1.5.4 ไมเปนจริง 2. ในกรณีที่ ∑ ∞ =1n | nz | เปนอนุกรมลูออก เราไมสามารถสรุปไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรม ลูเขาหรือลูออก ตัวอยาง 1.5.3 จงแสดงวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขา 1. ∑ ∞ =1n 2 n n i 2. ∑ ∞ =1n (4 – 3i) n− วิธีทํา 1. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n | 2 n n i | = ∑ ∞ =1n 2 n 1 เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมพี ซึ่ง p = 2) ดังนั้น ∑ ∞ =1n 2 n n i เปนอนุกรมลูเขา 2. เนื่องจาก ∑ ∞ =1n | (4 – 3i) n− | = ∑ ∞ =1n | 4 – 3i | n− = ∑ ∞ =1n n 5 − เปนอนุกรมลูเขา (อนุกรมเรขาคณิต ซึ่ง r = 5 1 ) ดังนั้น ∑ ∞ =1n (4 – 3i) n− เปนอนุกรมลูเขา ทฤษฎีบท 1.5.5 ให ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมของจํานวนเชิงซอน ซึ่ง nz ≠ 0 และ ∞→n lim | n 1n z z + | = ∞ หรือ ∞→n lim | n 1n z z + | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา 1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขา 2. ถา L > 1 หรือ ∞→n lim | n 1n z z + | = ∞ แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูออก 3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได
  • 55. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 55 ตัวอยาง 1.5.4 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n n )i3( ni + 2. ∑ ∞ =1n n )i43( i!n − วิธีทํา 1. ให nz = n )i3( ni + เพราะฉะนั้น 1nz + = 1n )i3( i)1n( + + + จะเห็นวา ∞→n lim | n 1n z z + | = ∞→n lim | 1n )i3( i)1n( + + + ni )i3( n + | = ∞→n lim | n)i3( 1n + + | = ∞→n lim n2 1n + = ∞→n lim 2 n 11+ = 2 1 < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n n )i3( ni + เปนอนุกรมลูเขา 2. ให nz = n )i43( i!n − เพราะฉะนั้น 1nz + = 1n )i43( i)!1n( + − + จะเห็นวา ∞→n lim | n 1n z z + | = ∞→n lim | 1n )i43( i)!1n( + − + i!n )i43( n − | = ∞→n lim | i43 1n − + | = ∞→n lim 5 1n + = ∞ ดังนั้น ∑ ∞ =1n n )i43( i!n − เปนอนุกรมลูออก
  • 56. แคลคูลัส 256 ทฤษฎีบท 1.5.6 ให ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมของจํานวนเชิงซอน และ ∞→n lim n n| z | = ∞ หรือ ∞→n lim n n| z | = L เมื่อ L ∈ R จะไดวา 1. ถา L < 1 แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูเขา 2. ถา L > 1 หรือ ∞→n lim n n| z | = ∞ แลวจะไดวา ∑ ∞ =1n nz เปนอนุกรมลูออก 3. ถา L = 1 แลวจะสรุปผลไมได ตัวอยาง 1.5.5 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n ( in ni2 + ) n 2. ∑ ∞ =1n ( n i ) n วิธีทํา 1. ให nz = ( 1n ni2 + ) n จะเห็นวา ∞→n lim n n| z | = ∞→n lim nn 2ni( ) n i | |+ = ∞→n lim || || in ni2 + = ∞→n lim 1n n2 2 + = ∞→n lim 2 2 11 n + = 2 > 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( 1n ni2 + ) n เปนอนุกรมลูออก 2. ให nz = ( n i ) n จะเห็นวา ∞→n lim n n| z | = ∞→n lim nn i( ) n | | = ∞→n lim | n i | = ∞→n lim n 1 = 0 < 1 ดังนั้น ∑ ∞ =1n ( n i ) n เปนอนุกรมลูเขา
  • 57. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 57 แบบฝกหัด 1.5 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 1. ∑ ∞ =1n in2 in − + 2. ∑ ∞ =1n !n in 3. ∑ ∞ =1n in ni 3 n + 4. ∑ ∞ =1n nn )ncosin(sin n − 5. ∑ ∞ =1n i5 )i34( n n + + 6. ∑ ∞ =1n 2 ni1 in + + 7. ∑ ∞ =1n ( 1n ni + ) 2n 8. ∑ ∞ =1n i3 )i2( n n + 9. ∑ ∞ =1n nni1 1 + 10. ∑ ∞ =1n 4 )ni2( in − + 11. ∑ ∞ =1n (2 + i) 2n− 12. ∑ ∞ =1n ( 4 n nsin + !n )1(i n − ) 13. ∑ ∞ =1n n 2n 4i1 )i2( + + 14. ∑ ∞ =1n !n )i3( n − 15. ∑ ∞ =1n 6 )ni1( ncosi + 16. ∑ ∞ =1n in ni −
  • 58. แคลคูลัส 258 คําตอบแบบฝกหัดบทที่ 1 คําตอบแบบฝกหัด 1.2 1. 1.1 3 1.2 0 1.3 3 2 1.4 0 1.5 e 1 1.6 -∞ 1.7 2 1.8 1 1.9 -2 1.10 4 2 1.11 2 1.12 ∞ 2. 2.1 ลูเขา (0) 2.2 ลูเขา (4) 2.3 ลูออก 2.4 ลูเขา (- 2 3 ) 2.5 ลูออก 2.6 ลูเขา (1) 2.7 ลูเขา (1) 2.8 ลูออก 2.9 ลูเขา (2) 2.10 ลูออก 2.11 ลูเขา ( 2 1 ) 2.12 ลูเขา คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. 1.1 - 2 i 1.2 i 1.3 0 1.4 ไมมีคา 1.5 0 1.6 ไมมีคา 1.7 0 1.8 2 1 1.9 0 1.10 -i 2. 2.1 ลูเขา (i) 2.2 ลูออก 2.3 ลูเขา (0) 2.4 ลูเขา (-i) 2.5 ลูเขา (0) 2.6 ลูเขา (0) 2.7 ลูเขา ( 5 2 + 5 i ) 2.8 ลูเขา (-i)
  • 59. บทที่ 1 ลําดับและอนุกรมของจํานวน 59 คําตอบแบบฝกหัด 1.4.1 1. ลูเขา ( 2 1 ) 2. ลูออก 3. ลูเขา ( 5 3 ) 4. ลูเขา (18 11 ) 5. ลูออก 6. ลูออก 7. ลูเขา ( 4 3 ) 8. ลูเขา ( 2 1 ) 9. ลูออก 10. ลูออก 11. ลูออก 12. ลูเขา ( 4 1 ) คําตอบแบบฝกหัด 1.4.2 1. ลูเขา 2. ลูออก 3. ลูออก 4. ลูเขา 5. ลูเขา 6. ลูออก 7. ลูเขา 8. ลูออก 9. ลูเขา 10. ลูเขา คําตอบแบบฝกหัด 1.4.3 1. ลูเขา 2. ลูเขา 3. ลูออก 4. ลูออก 5. ลูออก 6. ลูเขา 7. ลูออก 8. ลูเขา 9. ลูเขา 10. ลูเขา 11. ลูเขา 12. ลูเขา คําตอบแบบฝกหัด 1.4.4 1. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข 2. ลูออก 3. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข 4. ลูเขาแบบสัมบูรณ 5. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข 6. ลูออก 7. ลูเขาแบบสัมบูรณ 8. ลูเขาแบบมีเงื่อนไข
  • 60. แคลคูลัส 260 คําตอบแบบฝกหัด 1.4.5 1. ลูเขา 2. ลูเขา 3. ลูเขา 4. ลูออก 5. ลูเขา 6. ลูเขา 7. ลูออก 8. ลูออก 9. ลูเขา 10. ลูออก 11. ลูเขา 12. ลูเขา คําตอบแบบฝกหัดระคน 1. ลูออก 2. ลูเขา 3. ลูออก 4. ลูเขา 5. ลูออก 6. ลูเขา 7. ลูออก 8. ลูเขา 9. ลูเขา 10. ลูออก 11. ลูเขา 12. ลูเขา 13. ลูเขา 14. ลูเขา 15. ลูออก 16. ลูออก 17. ลูออก 18. ลูเขา 19. ลูเขา 20. ลูออก 21. ลูเขา 22. ลูเขา 23. ลูออก 24. ลูเขา 25. ลูเขา 26. ลูเขา 27. ลูเขา 28. ลูเขา 29. ลูเขา 30. ลูออก 31. ลูออก 32. ลูเขา 33. ลูเขา 34. ลูเขา 35. ลูออก 36. ลูเขา 37. ลูออก 38. ลูเขา 39. ลูออก 40. ลูเขา 41. ลูออก 42. ลูเขา 43. ลูเขา 44. ลูเขา 45. ลูเขา 46. ลูออก 47. ลูเขา 48. ลูออก 49. ลูเขา 50. ลูออก คําตอบแบบฝกหัด 1.5 1. ลูออก 2. ลูเขา 3. ลูเขา 4. ลูเขา 5. ลูออก 6. ลูออก 7. ลูเขา 8. ลูเขา 9. ลูออก 10. ลูเขา 11. ลูเขา 12. ลูเขา 13. ลูออก 14. ลูเขา 15. ลูเขา 16. ลูออก