SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
การแต่ง กายของคนภาคเหนือ
การแต่งกายของคนภาคเหนือทีเป็นชาวบ้านทั่วไป ชายจะนุง
                                  ่                         ่
กางเกงขายาวลักษณะแบบกางเกงขายาวแบบ 3 ส่วน เรียก
ติดปากว่า “เตี่ยว” หรือ เตี่ยวสะดอ ทำาจากผ้าฝ้าย ย้อม
สีนำ้าเงินหรือสีดำา ส่วนเสื้อก็นยมสวมเสื้อผ้าฝ้ายคอกลม แขน
                                ิ
สั้น แบบผ่าอก กระดุม 5 เม็ด สีนำ้าเงินหรือสีดำา เช่นเดียวกัน
เรียกว่า เสื้อม่อฮ่อม ชุดนีใส่เวลาทำางาน
                             ้
สำาหรับหญิงชาวเหนือจะนุ่งผ้าซิ่น(ผ้าถุง)ยาวเกือบถึงตาตุ่ม
นิยมนุ่งทังสาวและคนแก่ ผ้าถุงจะมีความประณีต งดงาม ตีน
           ้
ซิ่นจะมีลวดลายงดงาม ส่วนเสื้อจะเป็นเสือคอกลม มีสีสน
                                          ้            ั
ลวดลายสวยงามเช่นเดียวกัน เรื่องการแต่งกายนี้ หญิงชาว
เหนือจะแต่งตัวให้สวยงามอยู่เสมอ ชาวเหนือถือว่าเป็นเรื่อง
สำาคัญ จนถึงกับมีคำาสุภาษิตของชาวเหนือสั่งสอนสืบต่อกัน
มาเลยว่า
วัฒนธรรมการอยู่อาศัย
• เรือนล้านนาเกิดเรือนประเภทต่าง ๆ ขึนตามสภาพการใช้งาน
                                     ้

     เรือนชนบท หรือเรือนเครื่องผูก
   เป็นเรือนขนาดเล็ก เรือนประเภทนี้กันทั่วไปเนื่องจากก่อสร้าง
  ง่ายราคาถูก ตามชนบทและหมู่บ้านต่าง ๆ เรือนชนิด             นี้
  โครงสร้างส่วนหลังคา ตงพื้นใช้ไม้ไผ่ ส่วนคานและเสานิยมใช้
  ไม้เนื้อแข็ง ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงแฝกหรือใบตองตึง
  นิยมใช้ตอกและหวายเป็นตัวยึดส่วนต่าง ๆ ของเรือนเข้าด้วยกัน
  ด้วยวิธผูกมัด จึงเรียกกันว่า "เรือนเครื่องผูก" สร้างขึ้นกลางทุ่ง
          ี
  นา เพื่อเฝ้าทุ่ง หรือเพือประโยชน์การใช้งานตามฤดูกาล มี
                          ่
  ลักษณะชั่วคราวอยู่ได้ 2-4 ปี เมื่อถึงฤดูฝนในปีหนึ่งๆต้องมีการ
  ซ่อมแซมครั้งใหญ่ มีการออกแบบโดยใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์
  สูงสุด มีสัดส่วนที่ลงตัว ค่อนข้างกระชับ

เรือนไม้ หรือเรือนเครื่องสับ
เรือนไม้ เป็นเรือนของผู้มีอนจะกิน ทำาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น สัก เต็ง
                           ั
    รัง ตะเคียน ไม้แดง ฯลฯ การปลูกเรือนประเภทนี้ไม่ต้องใช้ตะปู
เรือ นกาแล
เรือนกาแล
กาแล เอกลักษณ์ของเรือนไทยภาคเหนือเรือนกา
   แล เป็นเรือนพักอาศัยของผูมีอันจะกินและผูนำา
                                 ้            ้
   ชุมชน หรือเป็นเรือนของบุคคลชั้นสูงในสังคม
   เรือนประเภทนีมีลักษณะพิเศษคือมียอดจั่วประดับ
                   ้
   กาแลไม้สลักอย่างงดงาม นิยมมุงกระเบืองไม้
                                         ้
   เรียก “แป้นเกล็ด” แต่ปัจจุบนไม้เป็นวัสดุหายากมี
                               ั
   ราคาแพงจึงเปลี่ยนมาใช้ “ดินขอ” มุงหลังคาแทน
   ใช้วัสดุอย่างดี การช่างฝีมือสูงประณีต แต่มีแบบ
   ค่อนข้างตายตัว ส่วนใหญ่เป็นเรือนแฝด มีขนาด
   ตั้งแต่ 1 ห้องนอนขึ้นไป เรือนกาแลจะมีแผนผัง
   2 แบบใหญ่ๆ คือ แบบเอาบันไดขึ้นตรงติดชาน
   นอกโดดๆ กับแบบเอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้
   ชายคาคลุม แต่ทั้งสองแบบจะใช้ร้านนำ้าตั้งเป็น
   หน่วยโดดๆ มีโครงสร้างของตนเองไม่นิยมตีฝ้า
เรือ นล้า นนา
วัฒนธรรมทางด้านการกิน
ในอดีตบริเวณภาคเหนือของไทยเคยเป็นส่วนหนึงของ      ่
   อาณาจักรล้านนามาก่อน ช่วงทีอาณาจักร แห่งนี้เรือง
                                  ่
   อำานาจ ได้แผ่ขยายอาณาเขตเข้าไปยังประเทศเพือนบ้าน   ่
   เช่น พม่า ลาว และมีผู้คนจากดินแดน ต่าง ๆ อพยพเข้า
   มาตั้งถินฐานในดินแดนแห่งนี้ จึงได้รับวัฒนธรรมหลาก
           ่
   หลายจากชนชาติต่าง ๆ เข้ามา ในชีวิตประจำาวันรวมทั้ง
   อาหารการกินด้วย อาหารของภาคเหนือ ประกอบด้วย
   ข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก มีนำ้าพริกชนิดต่าง ๆ เช่น นำ้า
   พริกหนุม นำ้าพริกอ่อง มีแกงหลายชนิด เช่น แกงโฮะ แกง
             ่
   แค นอกจากนันยังมีแหนม ไส้อั่ว แคบหมู และผักต่าง ๆ
                 ้
   สภาพอากาศก็มส่วนสำาคัญทีทำาให้อาหารพื้นบ้านภาค
                    ี          ่
   เหนือแตกต่างจากภาคอื่น ๆ
นั่นคือ การทีอากาศหนาวเย็นเป็นเหตุผลให้อาหารส่วนใหญ่
               ่
   มีไขมันมาก เช่น นำ้าพริกอ่อง แกงฮังเล ไส้อั่ว เพื่อช่วยให้
   ร่างกายอบอุ่น อีกทังการที่อาศัยอยูในหุบเขาและบนทีสง
                       ้             ่                   ่ ู
   อยูใกล้กับป่า จึงนิยมนำา
      ่
ใส้    นำ้าพริกหนุม
                    ่
  อั่ว




         แกงแค
แคบหมู
วัฒนธรรมด้านศิลปะและดนตรี
การแสดงภาคเหนือ
• ภาคนี้มีการแสดงหรือการร่ายรำาที่มีจังหวะช้า ท่ารำาที่ออนช้อย
                                                        ่
  นุ่มนวล เพราะมีอากาศเย็นสบาย ทำาให้จิตใจของผู้คนมีความ
  นุ่มนวล อ่อนโยน ภาษาพูดก็นุ่มนวลไปด้วย เพลงมีความไพเราะ
  อ่อนหวาน ผู้คนไม่ต้องรีบร้อนในการทำามาหากิน สิ่งต่างๆ เหล่า
  นั้นมีอิทธิพลต่อการแสดงนาฏศิลป์ของภาคเหนือ นาฏศิลป์ของ
  ภาคเหนือเช่น ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนมาลัย ฟ้อนชมเดือน
  ฟ้อนดาบ ฟ้อนเชิง(ฟ้อนเจิง)ตีกลองสะบัดไชย ซอ ค่าว นอกจาก
  นี้ นาฏศิลป์ของภาคเหนือยังได้รับอิทธิพลจากประเทศใกล้เคียง
  ได้แก่ พม่า ลาว จีน และวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อย เช่น ไทย
  ใหญ่ เงี้ยว ชาวไทยภูเขา ยอง เป็นต้น ดังนั้น นาฏศิลป์พื้นเมือง
  ของภาคเหนือนอกจากมีของที่เป็น "คนเมือง" แท้ๆ แล้วยังมี
  นาฏศิลป์ที่ผสมกลมกลืนกับชนชาติต่างๆ และของชนเผ่าต่างๆ
  อีกหลายอย่าง เช่น อิทธิพลจากพม่า เช่น ฟ้อนม่านมงคล ฟ้อน
  ม่านมุ้ยเชียงตา นาฏศิลป์ของชนเผ่าต่างๆ เช่น ฟ้อนนก(กิงกา
วัฒนธรรมจารีตประเพณี
• ประเพณียี่เป็ง

ประเพณี "ยี่เป็ง" เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนาที่จัดทำาขึ้น
  ในวันเพ็ญเดือน 2 ของชาวล้านนา เป็นภาษาคำาเมืองในภาคเหนือ คำา
  ว่า "ยี่" แปลว่า สอง และคำาว่า "เป็ง" ตรงกับคำาว่า "เพ็ญ" หรือ
  พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งชาวไทยในภาคเหนือจะนับเดือนทางจันทรคติ
  เร็วกว่าไทยภาคกลาง 2 เดือน ทำาให้เดือนสิบสองของไทยภาคกลาง
  ตรงกับเดือนยี่ เดือน 2 ของไทยล้านนา ประเพณียี่เป็งจะเริ่มตั้งแต่วัน
  ขึน 13 คำ่า ซึ่งถือว่าเป็น "วันดา" หรือวันจ่ายของเตรียมไปทำาบุญ
    ้
  เลียงพระที่วด ครั้นถึงวันขึ้น 14 คำ่า พ่ออุยแม่อุ้ยและผู้มีศรัทธาก็จะพา
      ้         ั                            ้
  กันไปถือศีล ฟังธรรม และทำาบุญเลี้ยงพระที่วด มีการทำากระทงขนาด
                                               ั
  ใหญ่ตั้งไว้ที่ลานวัด ในกระทงนั้นจะใส่ของกินของใช้ ใครจะเอาของ
  มาร่วมสมทบด้วยก็ได้เพื่อเป็นทานแก่คนยากจน ครั้นถึงวันขึ้น 15 คำ่า
  จึงนำากระทงใหญ่ที่วัดและกระทงเล็ก ๆ ของส่วนตัวไปลอยในลำานำ้า
  ในงานบุญยี่เป็งนอกจากจะมีการปฏิบัติธรรม ฟังเทศน์มหาชาติตาม
  วัดวาอารามต่าง ๆ แล้ว ยังมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรือน และถนน
  หนทางด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อยทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และ
  ชักโคมยี่เป็งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็นพุทธบูชา พอตกกลางคืนก็จะมีมหรสพ
  และการละเล่นมากมาย มีการแห่โคมทอง พร้อมกับมีการจุดถ้วย
ประเพณีล อยโคม
งานประเพณีพื้นบ้านในวันเพ็ญเดือน ๑๒ ของชาวล้าน
  นาจังหวัดเชียงใหม่ ทีมความเชื่อในการปล่อย
                        ่ ี
  โคมลอยซึ่งทำาด้วยกระดาษสาติดบนโครงไม้ไผ่แล้วจุด
  ตะเกียงไฟตรงกลางเพือให้ไอความร้อนพาโคมลอยขึ้น
                         ่
  ไปในอากาศเป็นการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกและเรื่อง
  ร้ายๆต่างๆ ให้ไปพ้นจากตัว
ประเพณีแ ห่ส ลุง หลวง
ประเพณีทงดงามของชาวล้านนาจังหวัดลำาปางที่จัดขึ้น
          ี่
  ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ในงานจะมีการแห่
  สลุงหลวงหรือขันนำ้าตามประเพณีโบราณไปรอบเมือง
  เพือรับนำ้าขมินส้มป่อยจากประชาชนไปสรงแด่พระแก้ว
     ่          ้
  ดอนเต้า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง
ประเพณีส รงนำ้า พระบรมธาตุห ริภ ญ ชัย       ุ
 ประเพณีสรงนำ้าพระบรมธาตุหริภญชัย จะจัดขึ้นในวัน
                                      ุ
   เพ็ญขึ้น 15 คำ่า เดือน 8 (เหนือ) ซึ่งจะตรงกับวันเพ็ญ
   ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 ทางภาคกลางชาวบ้านจะพากัน
   เดินทางมาสรงนำ้าเพือสักการะพระธาตุหริภญชัย ซึ่ง
                             ่                  ุ
   เป็นทีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัม
          ่
   พุทธเจ้า โดยนำ้าทีนำามาสรงองค์พระธาตุนั้น ชาวลำาพูน
                        ่
   มักขึ้นไปตักจากบ่อนำ้าทิพย์บนยอดดอยขะม้อ ซึงชาว่
   ลำาพูนเชื่อกันว่าเป็นบ่อนำ้าศักดิ์สิทธิ์
ประเพณีเ ลี้ย งผี
เป็นประเพณีดั้งเดิมของชาวเมืองลำาปาง โดยจะจัดให้มี
   ขึ้นระหว่างเดือน 6 เหนือ จนถึงเดือน 8 ของทุกๆ ปี
   เพือทำาพิธีเซ่นสรวงวิญญาณบรรพบุรุษทีล่วงลับไปแล้ว
        ่                                     ่
   เมือถึงวันทำาพิธี ผู้ทเป็นหัวหน้าครอบครัวและญาติมตร
      ่                   ี่                          ิ
   ก็จะนำาเครื่องอุปโภคบริโภคไปถวายผีบรรพบุรุษของ
   ตน โดยจะทำาพิธีแยกออกเป็น 2 แบบ คือการเลี้ยงผีผู้
– วัฒ นธรรมประเพณีพ ม่า ในล้า นนาไทย
ตลอดระยะเวลาที่พม่าปกครองล้านนาไทยเป็นเวลาตั้งแต่ พ.ศ.
  ๒๑๐๑ ถึง พ.ศ. ๒๓๑๗ นั้น พม่าได้นำาเอาวัฒนธรรมประเพณี
  ของตนเข้ามาเผยแพร่ในล้านนา ไทยหลายด้าน ทั้งด้าน
  ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ความเชื่อ การแต่งกาย อาหาร ฯลฯ
  ทางด้านศิลปกรรม โดยเฉพาะศิลปกรรมทีเกี่ยวกับศาสนา เช่น
                                            ่
  เจดีย์ในเชียงใหม่หลาย วัดสร้างตามแบบเจดีย์พม่า ประเพณีการ
  สร้างรูปสิงห์ตามวัดต่างๆ นิยมสร้างตาม ประเพณีพม่า ด้านปติมา
  กรรมพบพระพุทธรูปแบบพม่าในวัดต่างๆ ในล้านนาไทยทั่วไป
  การที่คนล้านนาไทยนิยมบวชเณรมากกว่าบวชพระภิกษุนั้น เป็น
  ประเพณีนิยมของพม่า อย่างหนึงเช่น การนิยมสักตามร่างกาย
                                   ่
  เป็นประเพณีของพม่า ซึ่งคนพม่าถือว่าเด็กผู้ชายของพม่าจะ
  ถือว่าเป็น ฟ หนุ่มต่อเมื่อได้สักตามร่างกายแล้ว โดยสักเป็นรูป
  สัตว์ต่างๆ และเชื่อว่าทำาให้คง 1 กระพัน ประเพณีการสักนี้ พม่า
  นำาเข้ามาใช้ในล้านนาไทยด้านศาสนา พม่าได้เอา 4 พุทธ
  ศาสนาหีนยานแบบพม่า เรียกว่า นิกายม่าน เข้ามา เผยแพร่ใน
  ล้านนาไทย แต่ 4 สันนิษฐานว่าไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร
งานสังคม ภาคเหนือ

Contenu connexe

Similaire à งานสังคม ภาคเหนือ

ต งล านนา
ต งล านนาต งล านนา
ต งล านนา
Alyssa Ny
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
tonsocial
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
tonsocial
 
ตุงล้านนา
ตุงล้านนาตุงล้านนา
ตุงล้านนา
Alyssa Ny
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
tonsocial
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
orawan155
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
Thammasat University
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
Walk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
Walk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
Walk4Fun
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
0857226950bb
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
0857226950bb
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสานวัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
Jannarong
 

Similaire à งานสังคม ภาคเหนือ (20)

หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
ต งล านนา
ต งล านนาต งล านนา
ต งล านนา
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
 
บทที่ 1.docx
บทที่ 1.docxบทที่ 1.docx
บทที่ 1.docx
 
ตุงล้านนา
ตุงล้านนาตุงล้านนา
ตุงล้านนา
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
File
FileFile
File
 
Wisdom1
Wisdom1Wisdom1
Wisdom1
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสานวัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
วัฒนธรรมประเภณีเเละอาหารภาคอีสาน
 

Plus de tonsocial

ใบงาน.5
ใบงาน.5ใบงาน.5
ใบงาน.5
tonsocial
 
ใบงาน.4
ใบงาน.4ใบงาน.4
ใบงาน.4
tonsocial
 
ใบงาน.3
ใบงาน.3ใบงาน.3
ใบงาน.3
tonsocial
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2
tonsocial
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1
tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
tonsocial
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
tonsocial
 

Plus de tonsocial (14)

ใบงาน.5
ใบงาน.5ใบงาน.5
ใบงาน.5
 
ใบงาน.4
ใบงาน.4ใบงาน.4
ใบงาน.4
 
ใบงาน.3
ใบงาน.3ใบงาน.3
ใบงาน.3
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 

งานสังคม ภาคเหนือ

  • 1. การแต่ง กายของคนภาคเหนือ การแต่งกายของคนภาคเหนือทีเป็นชาวบ้านทั่วไป ชายจะนุง ่ ่ กางเกงขายาวลักษณะแบบกางเกงขายาวแบบ 3 ส่วน เรียก ติดปากว่า “เตี่ยว” หรือ เตี่ยวสะดอ ทำาจากผ้าฝ้าย ย้อม สีนำ้าเงินหรือสีดำา ส่วนเสื้อก็นยมสวมเสื้อผ้าฝ้ายคอกลม แขน ิ สั้น แบบผ่าอก กระดุม 5 เม็ด สีนำ้าเงินหรือสีดำา เช่นเดียวกัน เรียกว่า เสื้อม่อฮ่อม ชุดนีใส่เวลาทำางาน ้ สำาหรับหญิงชาวเหนือจะนุ่งผ้าซิ่น(ผ้าถุง)ยาวเกือบถึงตาตุ่ม นิยมนุ่งทังสาวและคนแก่ ผ้าถุงจะมีความประณีต งดงาม ตีน ้ ซิ่นจะมีลวดลายงดงาม ส่วนเสื้อจะเป็นเสือคอกลม มีสีสน ้ ั ลวดลายสวยงามเช่นเดียวกัน เรื่องการแต่งกายนี้ หญิงชาว เหนือจะแต่งตัวให้สวยงามอยู่เสมอ ชาวเหนือถือว่าเป็นเรื่อง สำาคัญ จนถึงกับมีคำาสุภาษิตของชาวเหนือสั่งสอนสืบต่อกัน มาเลยว่า
  • 2.
  • 3. วัฒนธรรมการอยู่อาศัย • เรือนล้านนาเกิดเรือนประเภทต่าง ๆ ขึนตามสภาพการใช้งาน ้ เรือนชนบท หรือเรือนเครื่องผูก เป็นเรือนขนาดเล็ก เรือนประเภทนี้กันทั่วไปเนื่องจากก่อสร้าง ง่ายราคาถูก ตามชนบทและหมู่บ้านต่าง ๆ เรือนชนิด นี้ โครงสร้างส่วนหลังคา ตงพื้นใช้ไม้ไผ่ ส่วนคานและเสานิยมใช้ ไม้เนื้อแข็ง ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงแฝกหรือใบตองตึง นิยมใช้ตอกและหวายเป็นตัวยึดส่วนต่าง ๆ ของเรือนเข้าด้วยกัน ด้วยวิธผูกมัด จึงเรียกกันว่า "เรือนเครื่องผูก" สร้างขึ้นกลางทุ่ง ี นา เพื่อเฝ้าทุ่ง หรือเพือประโยชน์การใช้งานตามฤดูกาล มี ่ ลักษณะชั่วคราวอยู่ได้ 2-4 ปี เมื่อถึงฤดูฝนในปีหนึ่งๆต้องมีการ ซ่อมแซมครั้งใหญ่ มีการออกแบบโดยใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด มีสัดส่วนที่ลงตัว ค่อนข้างกระชับ เรือนไม้ หรือเรือนเครื่องสับ เรือนไม้ เป็นเรือนของผู้มีอนจะกิน ทำาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น สัก เต็ง ั รัง ตะเคียน ไม้แดง ฯลฯ การปลูกเรือนประเภทนี้ไม่ต้องใช้ตะปู
  • 4. เรือ นกาแล เรือนกาแล กาแล เอกลักษณ์ของเรือนไทยภาคเหนือเรือนกา แล เป็นเรือนพักอาศัยของผูมีอันจะกินและผูนำา ้ ้ ชุมชน หรือเป็นเรือนของบุคคลชั้นสูงในสังคม เรือนประเภทนีมีลักษณะพิเศษคือมียอดจั่วประดับ ้ กาแลไม้สลักอย่างงดงาม นิยมมุงกระเบืองไม้ ้ เรียก “แป้นเกล็ด” แต่ปัจจุบนไม้เป็นวัสดุหายากมี ั ราคาแพงจึงเปลี่ยนมาใช้ “ดินขอ” มุงหลังคาแทน ใช้วัสดุอย่างดี การช่างฝีมือสูงประณีต แต่มีแบบ ค่อนข้างตายตัว ส่วนใหญ่เป็นเรือนแฝด มีขนาด ตั้งแต่ 1 ห้องนอนขึ้นไป เรือนกาแลจะมีแผนผัง 2 แบบใหญ่ๆ คือ แบบเอาบันไดขึ้นตรงติดชาน นอกโดดๆ กับแบบเอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้ ชายคาคลุม แต่ทั้งสองแบบจะใช้ร้านนำ้าตั้งเป็น หน่วยโดดๆ มีโครงสร้างของตนเองไม่นิยมตีฝ้า
  • 6. วัฒนธรรมทางด้านการกิน ในอดีตบริเวณภาคเหนือของไทยเคยเป็นส่วนหนึงของ ่ อาณาจักรล้านนามาก่อน ช่วงทีอาณาจักร แห่งนี้เรือง ่ อำานาจ ได้แผ่ขยายอาณาเขตเข้าไปยังประเทศเพือนบ้าน ่ เช่น พม่า ลาว และมีผู้คนจากดินแดน ต่าง ๆ อพยพเข้า มาตั้งถินฐานในดินแดนแห่งนี้ จึงได้รับวัฒนธรรมหลาก ่ หลายจากชนชาติต่าง ๆ เข้ามา ในชีวิตประจำาวันรวมทั้ง อาหารการกินด้วย อาหารของภาคเหนือ ประกอบด้วย ข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก มีนำ้าพริกชนิดต่าง ๆ เช่น นำ้า พริกหนุม นำ้าพริกอ่อง มีแกงหลายชนิด เช่น แกงโฮะ แกง ่ แค นอกจากนันยังมีแหนม ไส้อั่ว แคบหมู และผักต่าง ๆ ้ สภาพอากาศก็มส่วนสำาคัญทีทำาให้อาหารพื้นบ้านภาค ี ่ เหนือแตกต่างจากภาคอื่น ๆ นั่นคือ การทีอากาศหนาวเย็นเป็นเหตุผลให้อาหารส่วนใหญ่ ่ มีไขมันมาก เช่น นำ้าพริกอ่อง แกงฮังเล ไส้อั่ว เพื่อช่วยให้ ร่างกายอบอุ่น อีกทังการที่อาศัยอยูในหุบเขาและบนทีสง ้ ่ ่ ู อยูใกล้กับป่า จึงนิยมนำา ่
  • 7. ใส้ นำ้าพริกหนุม ่ อั่ว แกงแค แคบหมู
  • 8. วัฒนธรรมด้านศิลปะและดนตรี การแสดงภาคเหนือ • ภาคนี้มีการแสดงหรือการร่ายรำาที่มีจังหวะช้า ท่ารำาที่ออนช้อย ่ นุ่มนวล เพราะมีอากาศเย็นสบาย ทำาให้จิตใจของผู้คนมีความ นุ่มนวล อ่อนโยน ภาษาพูดก็นุ่มนวลไปด้วย เพลงมีความไพเราะ อ่อนหวาน ผู้คนไม่ต้องรีบร้อนในการทำามาหากิน สิ่งต่างๆ เหล่า นั้นมีอิทธิพลต่อการแสดงนาฏศิลป์ของภาคเหนือ นาฏศิลป์ของ ภาคเหนือเช่น ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนมาลัย ฟ้อนชมเดือน ฟ้อนดาบ ฟ้อนเชิง(ฟ้อนเจิง)ตีกลองสะบัดไชย ซอ ค่าว นอกจาก นี้ นาฏศิลป์ของภาคเหนือยังได้รับอิทธิพลจากประเทศใกล้เคียง ได้แก่ พม่า ลาว จีน และวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อย เช่น ไทย ใหญ่ เงี้ยว ชาวไทยภูเขา ยอง เป็นต้น ดังนั้น นาฏศิลป์พื้นเมือง ของภาคเหนือนอกจากมีของที่เป็น "คนเมือง" แท้ๆ แล้วยังมี นาฏศิลป์ที่ผสมกลมกลืนกับชนชาติต่างๆ และของชนเผ่าต่างๆ อีกหลายอย่าง เช่น อิทธิพลจากพม่า เช่น ฟ้อนม่านมงคล ฟ้อน ม่านมุ้ยเชียงตา นาฏศิลป์ของชนเผ่าต่างๆ เช่น ฟ้อนนก(กิงกา
  • 9.
  • 10. วัฒนธรรมจารีตประเพณี • ประเพณียี่เป็ง ประเพณี "ยี่เป็ง" เป็นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีล้านนาที่จัดทำาขึ้น ในวันเพ็ญเดือน 2 ของชาวล้านนา เป็นภาษาคำาเมืองในภาคเหนือ คำา ว่า "ยี่" แปลว่า สอง และคำาว่า "เป็ง" ตรงกับคำาว่า "เพ็ญ" หรือ พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งชาวไทยในภาคเหนือจะนับเดือนทางจันทรคติ เร็วกว่าไทยภาคกลาง 2 เดือน ทำาให้เดือนสิบสองของไทยภาคกลาง ตรงกับเดือนยี่ เดือน 2 ของไทยล้านนา ประเพณียี่เป็งจะเริ่มตั้งแต่วัน ขึน 13 คำ่า ซึ่งถือว่าเป็น "วันดา" หรือวันจ่ายของเตรียมไปทำาบุญ ้ เลียงพระที่วด ครั้นถึงวันขึ้น 14 คำ่า พ่ออุยแม่อุ้ยและผู้มีศรัทธาก็จะพา ้ ั ้ กันไปถือศีล ฟังธรรม และทำาบุญเลี้ยงพระที่วด มีการทำากระทงขนาด ั ใหญ่ตั้งไว้ที่ลานวัด ในกระทงนั้นจะใส่ของกินของใช้ ใครจะเอาของ มาร่วมสมทบด้วยก็ได้เพื่อเป็นทานแก่คนยากจน ครั้นถึงวันขึ้น 15 คำ่า จึงนำากระทงใหญ่ที่วัดและกระทงเล็ก ๆ ของส่วนตัวไปลอยในลำานำ้า ในงานบุญยี่เป็งนอกจากจะมีการปฏิบัติธรรม ฟังเทศน์มหาชาติตาม วัดวาอารามต่าง ๆ แล้ว ยังมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรือน และถนน หนทางด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อยทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และ ชักโคมยี่เป็งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็นพุทธบูชา พอตกกลางคืนก็จะมีมหรสพ และการละเล่นมากมาย มีการแห่โคมทอง พร้อมกับมีการจุดถ้วย
  • 11. ประเพณีล อยโคม งานประเพณีพื้นบ้านในวันเพ็ญเดือน ๑๒ ของชาวล้าน นาจังหวัดเชียงใหม่ ทีมความเชื่อในการปล่อย ่ ี โคมลอยซึ่งทำาด้วยกระดาษสาติดบนโครงไม้ไผ่แล้วจุด ตะเกียงไฟตรงกลางเพือให้ไอความร้อนพาโคมลอยขึ้น ่ ไปในอากาศเป็นการปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกและเรื่อง ร้ายๆต่างๆ ให้ไปพ้นจากตัว ประเพณีแ ห่ส ลุง หลวง ประเพณีทงดงามของชาวล้านนาจังหวัดลำาปางที่จัดขึ้น ี่ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ในงานจะมีการแห่ สลุงหลวงหรือขันนำ้าตามประเพณีโบราณไปรอบเมือง เพือรับนำ้าขมินส้มป่อยจากประชาชนไปสรงแด่พระแก้ว ่ ้ ดอนเต้า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง
  • 12. ประเพณีส รงนำ้า พระบรมธาตุห ริภ ญ ชัย ุ ประเพณีสรงนำ้าพระบรมธาตุหริภญชัย จะจัดขึ้นในวัน ุ เพ็ญขึ้น 15 คำ่า เดือน 8 (เหนือ) ซึ่งจะตรงกับวันเพ็ญ ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 ทางภาคกลางชาวบ้านจะพากัน เดินทางมาสรงนำ้าเพือสักการะพระธาตุหริภญชัย ซึ่ง ่ ุ เป็นทีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัม ่ พุทธเจ้า โดยนำ้าทีนำามาสรงองค์พระธาตุนั้น ชาวลำาพูน ่ มักขึ้นไปตักจากบ่อนำ้าทิพย์บนยอดดอยขะม้อ ซึงชาว่ ลำาพูนเชื่อกันว่าเป็นบ่อนำ้าศักดิ์สิทธิ์ ประเพณีเ ลี้ย งผี เป็นประเพณีดั้งเดิมของชาวเมืองลำาปาง โดยจะจัดให้มี ขึ้นระหว่างเดือน 6 เหนือ จนถึงเดือน 8 ของทุกๆ ปี เพือทำาพิธีเซ่นสรวงวิญญาณบรรพบุรุษทีล่วงลับไปแล้ว ่ ่ เมือถึงวันทำาพิธี ผู้ทเป็นหัวหน้าครอบครัวและญาติมตร ่ ี่ ิ ก็จะนำาเครื่องอุปโภคบริโภคไปถวายผีบรรพบุรุษของ ตน โดยจะทำาพิธีแยกออกเป็น 2 แบบ คือการเลี้ยงผีผู้
  • 13. – วัฒ นธรรมประเพณีพ ม่า ในล้า นนาไทย ตลอดระยะเวลาที่พม่าปกครองล้านนาไทยเป็นเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๑๐๑ ถึง พ.ศ. ๒๓๑๗ นั้น พม่าได้นำาเอาวัฒนธรรมประเพณี ของตนเข้ามาเผยแพร่ในล้านนา ไทยหลายด้าน ทั้งด้าน ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ความเชื่อ การแต่งกาย อาหาร ฯลฯ ทางด้านศิลปกรรม โดยเฉพาะศิลปกรรมทีเกี่ยวกับศาสนา เช่น ่ เจดีย์ในเชียงใหม่หลาย วัดสร้างตามแบบเจดีย์พม่า ประเพณีการ สร้างรูปสิงห์ตามวัดต่างๆ นิยมสร้างตาม ประเพณีพม่า ด้านปติมา กรรมพบพระพุทธรูปแบบพม่าในวัดต่างๆ ในล้านนาไทยทั่วไป การที่คนล้านนาไทยนิยมบวชเณรมากกว่าบวชพระภิกษุนั้น เป็น ประเพณีนิยมของพม่า อย่างหนึงเช่น การนิยมสักตามร่างกาย ่ เป็นประเพณีของพม่า ซึ่งคนพม่าถือว่าเด็กผู้ชายของพม่าจะ ถือว่าเป็น ฟ หนุ่มต่อเมื่อได้สักตามร่างกายแล้ว โดยสักเป็นรูป สัตว์ต่างๆ และเชื่อว่าทำาให้คง 1 กระพัน ประเพณีการสักนี้ พม่า นำาเข้ามาใช้ในล้านนาไทยด้านศาสนา พม่าได้เอา 4 พุทธ ศาสนาหีนยานแบบพม่า เรียกว่า นิกายม่าน เข้ามา เผยแพร่ใน ล้านนาไทย แต่ 4 สันนิษฐานว่าไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร