SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
โครงการอบรมการจัดการความรูในองคกร (ครั้งที่ 3)

                             วันจันทรที่ 30 มกราคม 2555 เวลา 13.00 –16.00 น.
                            ณ หองประชุมเพชรภิรมย อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 7
                       เรื่อง...........นวัตกรรมสิ่งประดิษฐและการจดลิขสิทธิ์ทางปญญา
                     โดย... ดร.ใจรัก เอื้อชูเกียรติ จากงานนโยบายทรัพยสินทางปญญา
                             คุณทวีศักดิ์ สุขสวัสดิ์ งานจัดการทรัพยสินทางปญญา


นวัตกรรม

       หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ๆ ที่ยังไมเคยมีใชมากอน หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงมา
จากของเดิมที่มีอยูแลว ใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น เมื่อนํา นวัตกรรมมาใชจะชวยใหการทํางานนั้นไดผลดีมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง กวาเดิม ทั้งยังชวย ประหยัดเวลาและแรงงานไดดวย
        “นวัตกรรม” (Innovation) มีร ากศัพทม าจาก innovare ในภาษาลาติน แปลวา ทําสิ่ง ใหมขึ้นมา
ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตรคือ การนําแนวความคิดใหมหรือการใชประโยชนจากสิ่งที่มีอยูแลวมาใช
ในรูปแบบ ใหม เพื่อทําใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทําในสิ่งที่แตกตางจากคนอื่น โดยอาศัยการ
เปลี่ยนแปลงตาง ๆ (Change) ที่เ กิดขึ้นรอบตัวเราใหก ลายมาเปนโอกาส (Opportunity) และถายทอดไปสู
แนวความคิดใหมที่ทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ไดถูกพัฒนาขึ้นมาในชวงตนศตวรรษที่ 20
โดยจะเห็นไดจากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เชน ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of
Economic Development,1934 โดยจะเนนไปที่การสรางสรรค การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
อันจะนําไปสูการไดมาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชนในเชิงพาณิชยเปน
หลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรูและนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดจริง อีกดวย


ทรัพยสินทางปญญาคืออะไร
             ทรัพยสินทางปญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสรางสรรคของมนุษย ทรัพยสินทางปญญา
เปนทรัพยอกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยสินทีสามารถเคลื่อนยายได เชน นาฬิกา รถยนต โตะ
           ี                                                    ่
เปนตน และอสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยสินที่ไมสามารถเคลือนยายได เชน บาน ที่ดิน เปนตน
                                                        ่
ประเภทของทรัพยสินทางปญญา
                โดยทั่วๆไป คนไทยสวนมากจะคุนเคยกับคําวา "ลิขสิทธิ" ซึ่งใชเรียกทรัพยสินทางปญญาทุกประเภท
                                                                   ์
โดยที่ถูกตองแลวทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ที่เรียกวา ทรัพยสินทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์
         ทรัพยสินทางอุตสาหกรรม ไมใชสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพยที่ใชในการผลิตสินคาหรือผลิตภัณฑ ทาง
อุตสาหกรรม แทที่จริงแลว ทรัพยสินทางอุตสาหกรรมนี้ เปนความคิดสรางสรรคของมนุษยทเี่ กี่ยวกับสินคา
         ความคิดสรางสรรคนี้จะเปนความคิดในการประดิษฐคดคน การออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรม ซึ่ง
                                                            ิ
อาจจะเปนกระบวนการ หรือเทคนิคในการผลิตที่ไดปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือที่เกี่ยวของกับตัวสินคา หรือ
ผลิตภัณฑทเี่ ปนองคประกอบและรูปรางสวยงามของตัวผลิตภัณฑ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการคาหรือยี่หอ
ซื่อและถิ่นทีอยูทางการคา ที่รวมถึงแหลงกําเนิดสินคาและการปองกันการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ทรัพยสิน
              ่
ทางอุตสาหกรรม จึงสามารถแบงออกไดดังนี้
                                                                                                              1
สิทธิบัตร (Paent)
            เครื่องหมายการคา (Trademark)
            แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout - Designs Of Inegrated Circuit)
            ความลับทางการคา (Trade Secrets)
            สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indicaion)

ความหมายของทรัพยสินทางปญญาแตละประเภท
                ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสรางสรรคในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต
หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตรลิขสิทธิ์ยังรวมทัง     ้
                สิทธิคางเคียง (Neighbouring Right) คือ การนําเอางานดานลิขสิทธิ์ออกแสดง เชน นักแสดง ผู
บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศนในการบันทึกหรือถายทอดเสียงหรือภาพ
                โปรแกรมคอมพิวเตอร (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุดคําสั่งที่ใชกับเครื่อง
คอมพิวเตอร เพื่อกําหนดใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน
                งานฐานขอมูล (Data Base) คือ ขอมูลที่ไดรบเก็บรวบรวมขึ้นเพือใชประโยชนดานตางๆ
                                                              ั              ่
                สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสําคัญทีรัฐออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ (Invention) การออกแบบ
                                                   ่
ผลิตภัณฑ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑอรรถประโยชน (Utility Model) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกําหนด
                  การประดิษฐ คือ ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับ ลักษณะองคประกอบ โครงสรางหรือกลไกลของ
ผลิตภัณฑ รวมทังกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ
                   ้
                การออกแบบผลิตภัณฑ คือ ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับการทําใหรูปรางลักษณะภายนอกของ
ผลิตภัณฑเกิดความสวยงาม และแตกตางไปจากเดิม
                ผลิตภัณฑอรรถประโยชนหรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะ
คลายกันกับการประดิษฐ แตเปนความคิดสรางสรรคทมีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไมสงมาก หรือเปนการประดิษฐ
                                                        ี่                           ู
คิดคนเพียงเล็กนอย
                แบบผังภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบที่ทําขึ้น เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมตอ
วงจรไฟฟา เชน ตัวนําไฟฟา หรือตัวตานทาน เปนตน
                  เครื่องหมายการคา หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณหรือตราที่ใชกับสินคา หรือบริการ ไดแก
                 เครื่องหมายการคา (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใชเปนทีหมายเกี่ยวของกับสินคาเพื่อแสดงวา
                                                                           ่
สินคาที่ ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางกับสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่น เชน โคก เปปซี่ บรีส เปนตน
                เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครืองหมายที่ใชเปนที่หมายหรือเกี่ยวของกับการบริการ เพื่อ
                                                                ่
แสดงวาบริการที่ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางกับบริการที่ใชเครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เชน เครื่องหมายของสาย
การบิน ธนาคาร โรงแรม เปนตน
                เครื่องหมายรับรอง (Certificaion mark) คือเครืองหมายที่เจาของเครื่องหมายรับรองใชเปนทีหมาย
                                                                  ่                                         ่
หรือเกี่ยวของกับ สินคาและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเปนการรับรองคุณภาพของสินคา หรือบริการนั้น เชน
เชลลชวนชิม แมชอยนางรํา เปนตน
                  เครื่องหมายรวม (Colective Mark) คือ เครื่องหมายการคาหรือเครื่องหมาบบริการที่ใชโดยบริษัท
หรือรัฐวิสาหกิจใน กลุมเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุมบุคคล หรือองคกรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เชน ตรา
ชางของบริษทปูนซิเมนไทย จํากัด เปนตน
              ั
                ความลับทางการคา หมายถึง ขอมูลการคาที่ยังไมเปนที่รูจักกันโดยทั่วไป และมีมูลคาในเชิงพาณิชย
เนื่อ งจากขอ มูล นั้น เป นความลั บ และมีก ารดําเนิน การตามความสมควรเพื่อ รัก ษาขอ มูล นั้น ไว เ ป นความลั บ
                   ชื่ อ ทางการค า หมาถึ ง ชื่ อ ที่ ใ ช ใ นการประกอบกิ จ การ เช น โกดั ก ฟู จิ เป น ต น
                                                                                                              2
สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ หรือสิ่งอื่นใดที่ใชเรียกหรือใชแทน แทนแหลงภูมิศาสตร
และสามารถบงบอกวาสินคาที่เกิดจากแหลงภูมิศาสตรนั้นเปนสินคาที่มี คุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของ
แหลงภูมิศาสตรนั้น เชน มีดอรัญญิก สมบางมด ผาไหมไทย แชมเปญ คอนยัค เปนตน

ปจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายใหความคุมครองทรัพยสินทางปญญา 4 ฉบับ คือ
    1. พระราชบัญญัตสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และ
                      ิ                                               ิ
       พระราชบัญญัตสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
                        ิ
    2. พระราชบัญญัตเิ ครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 ท แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตเิ ครื่องหมายการคา (ฉบับ
       ที่ 2) พ.ศ. 2537

    3. พระราชบัญญัตลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
                   ิ
    4. พระราชบัญญัติคุมครองแบบผังภูมิของวงจรรวม พ.ศ. 2543
ลิขสิทธิ์คืออะไร
          ลิขสิทธิ์ เปนทรัพยสินทางปญญาอยางหนึ่ง ที่กฎหมายใหความคุมครอง โดยใหเจาของลิขสิทธิ์ ถือสิทธิแต
เพียงผูเดียวที่จะกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงานสรางสรรคที่ตนไดกระทําขึ้น งานอันมีลิขสิทธิ์ งานสรางสรรคที่จะไดรับ
ความคุม ครองตามพระราชบัญญัติลิขสิท ธิ์ตองเปนงานในสาขา วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม
โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียงแพรภาพ รวมถึงงานอื่น ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร หรือ
แผนกศิลปะ งานเหลานี้ถือเปนผลงาน ที่เกิดจากการใชสติปญญา ความรูความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ใน
การสรางสรรคงานใหเกิดขึ้น ซึ่งถือเปนทรัพยสินทางปญญาประเภทหนึ่งที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ

การคุมครองลิขสิทธิ์
        ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ มีสิทธิแตเพียงผูเดียว ในการใชประโยชนจากผลงานสรางสรรคของตน ในการทําซ้ํา
ดัดแปลง หรือเผยแพรตอสาธารณชน รวมทั้งสิทธิในการใหเชา โดยทั่วไปอายุการคุมครองสิทธิจะมีผลเกิดขึ้นทันทีที่มี
การสรางสรรคผลงาน โดยความคุม ครองนี้จะมีตลอดอายุของผูส รางสรรค และคุมครองตอไปอีก 50 ปนับแตผู
สรางสรรคเสียชีวิต

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
          กฎหมายลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงคใหความคุมครองปองกันผลประโยชนทั้งทางเศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซึ่ง
บุคคลพึงไดรับจากผลงานสรางสรรคอันเกิดจากความนึกคิดและสติปญญาของตน นอกจากนี้ยังมุงที่จะสนับสนุน
สงเสริมใหเกิดการสรางสรรคผลงาน กลาวคือ เมื่อผูสรางสรรคไดรับผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อแรงกายและสติปญญา   
ของตน ไดรับผลประโยชนตอบแทนจากการลงทุน ก็ยอมจะเกิดกําลังใจที่จะคิดคนสรางสรรคและเผยแพรผลงานให
แพรหลายออกไปมากยิ่งขึ้น อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศชาติ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
การกระตุนใหเกิดการพัฒนาสติปญญาของคนในชาติ เปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไปใน
อนาคต
          ประเทศไทยไดประกาศใชพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพื่อใชบังคับแทน พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.
2521 โดยมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2538 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ใหความคุมครองตอโปรแกรมคอมพิวเตอร
โดยจัดเปนผลงานทางวรรณกรรมประเภทหนึ่ง และงานที่ไดจัดทําขึ้นกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเปนงาน
ที่ไดรับความคุมครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ จะไดรับความคุมครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ แมวาประเทศ
                                                                                                                 3
ไทยจะมีกฎหมายคุมครองลิขสิทธิ์มาเปนระยะเวลานานแลว แตความเขาใจของประชาชนโดยทั่วไปในเรื่องลิขสิทธิ์ยัง
ไมชัดเจน ความตระหนักรูถึงความสําคัญของการคุมครองลิขสิทธิ์ และทัศนคติที่ถูกตองเกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสิน
ทางปญญาเปนปจจัยสําคัญ ที่จะนําไปสูการคุมครองทรัพยสินทางปญญา ที่ยั่งยืนกวาการปราบปรามการละเมิด
ลิขสิทธิ์ซึ่งเปนการแกปญหาที่ปลายเหตุ
          พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ไดใหความหมายของคําวา "ลิขสิทธิ์" วา หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเดียวที่
จะทําการใดๆตามพระราชบัญญัตินี้" เกี่ยวกับงานที่ผูสรางสรรคไดทําขึ้น นั่นก็หมายความ วา เจาของลิขสิทธิ์เพียงผู
เดียวเทานั้นที่มีสิทธิจะทําอยางไรก็ได กับงานอันมีลิขสิทธิ์ของตนเอง

การละเมิดลิขสิทธิ์
          การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : คือ การทําซ้ํา ดัดแปลง เผยแพรโปรแกรมคอมพิวเตอรแกสาธารณชน รวมทั้ง
การนําตนฉบับหรือสําเนางานดังกลาวออกใหเชา โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์
          การละเมิดลิขสิทธิ์โดยออม : คือ การกระทําทางการคา หรือการกระทําที่มีสวนสนับสนุนใหเกิดการละเมิด
ลิขสิทธิ์ดังกลาวขางตนโดยผูกระทํารูอยูแลว วางานใดไดทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น แตก็ยังกระทําเพื่อหากําไร
จากงานนั้น ไดแก การขาย มีไวเ พื่อขาย ใหเชา เสนอใหเชา ใหเ ชาซื้อ เสนอใหเชาซื้อ เผยแพรตอสาธารณชน
แจกจายในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอเจาของลิขสิทธิ์และนําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักร

หนวยงานที่เกี่ยวของ
1. กรมทรัพยสินทางปญญา
    - www.ipthailand.go.th
    - บริการขอมูลตาง ๆ
2. ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลาง
     - www.ipitc.coj.go.th

พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย พ.ศ. 2551
ผลบังคับ (ตังแตวนที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2551)
             ้ ั
บุคลที่อยูในขายตองปฏิบัติตามกฎหมาย (สถานพยาบาล – ผูประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุข)
การผลิต หมายถึง ทํา ประกอบ ประดิษฐ แบงบรรจุ รวมบรรจุ ปรับปรุง ดัดแปลง หรือทําใหปราศจากเชื้อ
หาม ผลิต นําเขา หรือขายเครื่องมือแพทย (ก) ปลอม (ข) ผิดมาตรฐาน (ค) เสื่อมคุณภาพ (ง) ไมปลอดภัยในการใช
(จ) ไมตรงตามที่ไดรับอนุญาตหรือแจงรายการละเอียด
ฝาฝน (รับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา)

เงื่อนไขการบังคับใชสิทธิในสิทธิบัตรยา
(ก) ระยะเวลาการใชสิทธิ
       ระยะเวลาจํากัด หรือจนกวาจะหมดอายุการคุมครองสิทธิบัตร หรือจนกวาจะหมดความจําเปน
(ข) วัตถุประสงคในการใชสทธิ ิ
       เพื่อจัดใหมียาในปริมาณที่เพียงพอในการใหบริการแกผูที่จําเปน
ค) ผูมีสทธิใชยา
           ิ
     - ผูมีสทธิตาม พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ (บัตรทอง)
             ิ
     - ผูประกันตนตาม พรบ.ประกันสังคม
                                                                                                                       4
- ผูมีสทธิในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการและลูกจางของทางราชการ บางกรณี อาจมีการจํากัด
            ิ
จํานวนผูใชยาตอป
(ง) อัตราคาตอบแทน
      ตั้งแตรอยละ 0.5 – 3 – 5 ของมูลคาการจําหนาย
(จ) วิธีการ
      เพื่อผลิตหรือนําเขา
(ฉ) ขอผูกพัน
      กระทรวงสาธารณสุขจะแจงผูทรงสิทธิและกรมทรัพยสนทางปญญาทราบ
                                                     ิ

แหลงขอมูลสําหรับสืบคนผลงานที่มีมากอน
ฐานขอมูลสิทธิบัตร
ฐานขอมูลงานวิจัย
สิ่งตีพิมพตาง : หนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ ฯลฯ
หลักการทั่วไปของการรางคําขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรและการออกแบบผลิตภัณฑ
1. ลักษณะและขอบกพรองของงานที่ปรากฏอยูแลว
2. ลักษณะและโครงสรางของการประดิษฐ
3. แนวโนมการปรับปรุง(ตอยอด)ที่อาจเปนไปได

การจัดเตรียมคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ/อนุสิทธิบัตร
1. แบบพิมพคําขอรับสิทธิบัตร
2. รายละเอียดการประดิษฐ
3. ขอถือสิทธิ
4. รูปเขียน ( ถามี )
5. บทสรุปการประดิษฐ
6. เอกสารประกอบคําขอ

รายละเอียดการประดิษฐ
1. ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ
2. สาขาวิทยาการที่เกี่ยวของกับการประดิษฐ
3. ลักษณะและความมุงหมายของการประดิษฐ
4. ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวของ
5. คําอธิบายรูปเขียนโดยยอ(ถามีรูปเขียน)
6. การเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ
7. วิธีการในการประดิษฐที่ดที่สุด
                           ี
8. การนําการประดิษฐไปใชประโยชนในการผลิตทางอุตสาหกรรมหัตถกรรม เกษตรกรรม หรือ พาณิชยกรรม

คําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ/อนุสิทธิบัตร ประกอบดวย
      ก. แบบพิมพคําขอ และเอกสารประกอบ
      ข. รายละเอียดการประดิษฐ
      ค. ขอถือสิทธิ
                                                                                                     5
ง. รูปเขียน (ถามี)
      จ. บทสรุปการประดิษฐ

ก. แบบพิมพคําขอ และเอกสารประกอบ
        แบบพิมพคําขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ผูขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตรตองใชแบบพิมพทกรมทรัพยสินทาง
                                                                        ิ                         ี่
ปญญากําหนดและจะพิมพขึ้น ซึ่งไดแกแบบ สป/สผ/001-ก
        สวนเอกสารประกอบคําขอมีอยู 2 ลักษณะ คือ
          1. เอกสารหลักฐานแสดงสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร มีลักษณะตางๆ ดังนี้
               ในกรณีผูขอเปนผูประดิษฐหรือผูออกแบบผลิตภัณฑใหยื่นคํารับรองเกี่ยวกับสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุ
                                    
สิทธิบัตร โดยใชแบบ สป/สผ/001-ก (พ) แตถาผูขอซึ่งเปนผูประดิษฐเปนคนตางดาวและอานภาษาไทยไมเขาใจให
ใช Form PI/PD/001-A (Add) ซึ่งเปนแบบพิมพที่กรมทรัพยสินทางปญญากําหนดและจัดพิมพขึ้น ผูขอจะตองยื่น
แบบพิมพดังกลาวพรอมกับการยื่นขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบตร แตถาไมสามารถยื่นพรอมกับคําขอได ก็อาจขอผอน
                                                                    ั
ผันได 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกขอผอนผันไดเปนเวลา 90 วัน และครั้งทีสองขอผอนผันไดอีก 30 วัน โดยตองยื่นขอผอนผัน
                                                                      ่
กอนสิ้นกําหนดระยะเวลา
          ในกรณีที่ผูขอมิใชผูประดิษฐแตเปนผูมีสทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ในฐานะอื่น เชนเปน นายจางหรือผู
                                                      ิ
วาจางของผูประดิษฐ เปนทายาทหรือผูจัดการมรดกของผูประดิษฐ หรือ เปนผูรบโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุ
                                                                                  ั
สิทธิบัตร จะตองยื่นเอกสารหลักฐานแสดงวาเปนผูมสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร ในฐานะดังกลาวดวย ทั้งนี้
                                                         ี                      ิ
เอกสารหลักฐานดังกลาวจะตองถูกตองตามแบบที่กฎหมายกําหนดดวย เชน ผูขอที่เปนผูรับโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/
                                                                                         
อนุสิทธิบัตร จะตองยื่นหนังสือโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร ที่ลงลายมือชื่อทังผูโอนและผูรบโอนดวย เปนตน
                                                                  ิ                   ้              ั
        2. เอกสารหลักฐานการมอบอํานาจใหตัวแทนกระทําการแทน
               ผูขอจะตองมอบอํานาจใหตัวแทนซึ่งไดขึ้นทะเบียนไวกับกรมทรัพยสินทางปญญา เพื่อดําเนินการ ขอรับ
สิทธิบัตรแทนโดยทําเปนหนังสือมอบอํานาจซึ่งมีได 2 กรณี คือ
               2.1. ผูขอเปนผูที่ไมมีถิ่นทีอยูในประเทศไทย ในกรณีดังกลาวหนังสือมอบอํานาจจะตองมีคํารับรอง ของ
                                              ่
ทูต ที่ปรึกษาการพาณิชย ขาหลวงพาณิชย ผูชวยทูตการพาณิชย หรือกงสุลไทย ซึ่งประจําอยูในประเทศนั้น หรือมีคํา
รับรองของบุคคลซึ่งกฎหมายของประเทศทีผูมอบอํานาจมีถนที่อยู ซึ่งโดยทั่วไปไดแก โนตารีพับลิค (Notary-Public)
                                                   ่           ิ่
ถาหนังสือมอบอํานาจหรือคํารับรองดังกลาวจัดทําขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ใหผูยื่นจัดใหมีคําแปลเปนภาษาไทย โดย
มีคํารับรองของผูแปลและผูรับมอบอํานาจวา เปนคําแปลภาษาไทยที่ ถูกตองตรงกับหนังสือมอบอํานาจหรือคํารับรอง
                              
นั้น และยื่นคําแปลดังกลาวพรอมกับหนังสือมอบอํานาจ หรือคํารับรองดวย
               2.2. ผูขอเปนผูที่มีถิ่นทีอยูในประเทศไทยแตประสงคจะมอบอํานาจใหบุคคลอื่นกระทําการแทน (คือไม
                                           ่
ประสงคจะดําเนินการดวยตนเอง)

ข. รายละเอียดการประดิษฐ
       รายละเอียดการประดิษฐเปนสวนทีผูขอจะตองจัดทําขึ้นเองโดยจะตองมีลกษณะดังที่กลาวขางตน ทั้งนี้ โดย
                                        ่                                   ั
จะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง (พ.ศ2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
สิทธิบัตรดวย กฎกระทรวงดังกลาวกําหนดวา รายละเอียดตองระบุหัวขอเรื่องตามลําดับ ดังตอไปนี้
       ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ จะตองระบุวาการประดิษฐนั้นคืออะไร โดยระบุถึงลักษณะสําคัญของการประดิษฐ
นั้นดวย เชน พัดลมไฟฟา กรรมวิธีหลอผนังคอนกรีต เตาอบไฟฟา แบบจายความรอน เปนตน จะตองไมใชชื่อที่ตั้งขึ้น
เองหรือเครื่องหมายการคา เชน เตาอบไฟฟาสุรชัย และจะตองไมใชชื่อที่เปนการอวดอางสรรพคุณ เชน เตาแกส
มหัศจรรย หรือปากกาเนรมิต เปนตน

                                                                                                                    6
ลักษณะและความมุงหมายของการประดิษฐ จะตองระบุถึงลักษณะทีสําคัญของการประดิษฐโดยยอ รวมทั้ง
                                                                                              ่
วัตถุประสงคของการประดิษฐดังกลาว ตัวอยางเชน การขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร สําหรับ "อุปกรณและวิธีวัดความ
                                                                                            ิ
ยาวของวัตถุโดยความยาวคลื่นแสงเลเซอร" ผูจะขอระบุวา"ลักษณะของอุปกรณอันเปนการประดิษฐนี้ประกอบดวย
แหลงกําเนิดแสงเลเซอร เครื่องตรวจจับสัญญาณ สวนบังคับทิศทาง โดยมีวงจรทางอีเลคโทรนิคควบคุมการทํางาน
และความยาวของวัตถุและจุดประสงคของการประดิษฐดงกลาว คือ เพื่อที่จะใหการวัดความยาวของวัตถุมีคาถูกตอง
                                                                 ั
แนนอนยิ่งขึ้น
          สาขาวิทยาการที่เกี่ยวของกับการประดิษฐ จะตองระบุวาการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบตร จัดอยูใน                   ั           
สาขาวิทยาการหรือเทคโนโลยีดานใด เชน วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟา เคมี ฟสิกส เปนตน
          ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยการที่เกี่ยวของ จะตองระบุลักษณะของการประดิษฐที่มีอยูกอนแลว พรอมทั้ง
ขอบกพรองตางๆ หรือปญหาของการประดิษฐดังกลาว ทั้งนี้เพื่อที่จะแสดงใหเห็นวาการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรนั้น
แตกตางกับการประดิษฐที่มีอยูกอนแลวอยางไรและเพียงใด ในกรณีที่เปนการประดิษฐที่ยังไมเคยมีมากอนเลย
          ผู ข อ อ า จ จ ะ ร ะ บุ ถึ ง ป ญ ห า ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ซึ่ ง ก ร ะ ตุ น ใ ห เ กิ ด แ น ว คิ ด ดั ง ก ล า ว
       การเปด เผยการประดิษฐโ ดยสมบูร ณ จะตองระบุถึ ง รายละเอียดของการประดิษ ฐที่ขอรับ สิ ท ธิบัตร/อนุ
สิทธิบัตร วามีลักษณะโครงสราง สวนประกอบ องคประกอบ หรือขั้นตอนอยางไรบาง การบรรยายในหัวขอนี้จะตอง
ละเอียดสมบูรณ และชัดเจนพอที่จะทําใหผูมีความชํานาญในระดับสามัญในสาขาวิท ยาการนั้นๆ สามารถอานแลว
เขาใจถึงการประดิษฐนั้นได และสามารถนําไปใชและปฏิบัติตามการประดิษฐนั้นไดดวยในหัวขอการเปดเผยการ
ประดิษฐโดยสมบูรณนี้ ผูเขียนควรคํานึงถึงความชัดเจนเปนหลักดังนั้น ควรกําหนดลักษณะและขั้นตอนการบรรยาย
ใหดี หากเปนเรื่องที่เกี่ยวกับกลไก หรือเครื่องมือตางๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีรูปเขียนประกอบในกรณีดงกลาว การ                   ั
อางอิงลักษณะทางโครงสรางในหัวขอนี้ จะตองสอดคลองกับรูปเขียนดวย ตัวอยางในกรณีที่เปนการขอรับสิทธิบัตร
สําหรับเครื่องมือหรือกลไก ในขั้นแรกควรอธิบายถึงสวนประกอบหรือโครงสรางของการประดิษฐนั้นวามีสวนประกอบ
อยางไรประกอบกันในลักษณะใด และประกอบกันแลวจะใหผลในทางปฏิบัติอยางไร ขั้นที่สองควรอธิบายถึงระบบการ
ทํางานหรือกรรมวิธีในการผลิตเริ่มตั้งแตนําวัตถุดิบเขาระบบและผานขบวนการตางๆ ของอุปกรณ ซึ่งควรจะระบุถึง
รายละเอียดของขั้นตอนนั้นๆ ดวย จนกระทั้งไดเปนผลิตภัณฑสําเร็จออกมา
       คําอธิบายรูปเขียนโดยยอ จะตองระบุถึงรูปเขียนทีเ่ สนอมาพรอมกับคําขอ (ถามี) โดยระบุวา รูปเขียนแตละ
รูปแสดงถึงสวนใดของการประดิษฐ เชน รูปที่ 1 แสดงถึงสวนประกอบทั้งหมดของเครื่องจักร รูปที่ 2 แสดงถึง
สวนประกอบสวนใดสวนหนึงของเครื่องจักร เปนตน
                                 ่
       วิธีการในการประดิษฐที่ดีทสุด ในกรณีทมีการระบุในหัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ ถึงวิธีการ
                                        ี่            ี่
ประดิษฐหลายวิธี ผูขอจะตองระบุถึงวิธีการประดิษฐที่ดีทสด แตถามีการเปดเผยวิธีการประดิษฐ เพียงวิธีเดียวใน
                                                                   ี่ ุ
หัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ ผูขอก็สามารถระบุวา "วิธีการในการประดิษฐที่ดีทสุดไดแก วิธีการดังที่ได    ี่
บรรยายไวในหัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ"
       การใชประโยชนการประดิษฐในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม หรือพาณิชยกรรม ในกรณีที่
ลักษณะของการประดิษฐเองไมสามารถแสดงไดวาจะนําไปใชในการผลิตในดานตางๆ ไดหรือไมเปนอยางไร เชน การ
ประดิษฐสารประกอบเคมีขึ้นใหมผูขอจะตองอธิบายใหเห็นวา สามารถนําเอาการประดิษฐนั้นไปใชในทางใดบาง และ
มีประโยชนอยางไร แตถาโดยลักษณะของ การประดิษฐนั้นเอง แสดงใหเห็นไดอยูแลววาสามารถนําไปใชประโยชนใน
ดานการผลิตได ก็ไมจําเปน ตองมีหัวขอนี้
ค. ขอถือสิทธิ
       ขอถือสิทธิเปนสวนทีผูขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ระบุถึงขอบเขตของการประดิษฐที่ตองการไดรับความ
                               ่
คุมครองขอถือสิทธิเปรียบไดกับการกําหนดขอบเขตอันเปนพื้นที่ที่เปนสิทธิของเจาของโฉนดที่ดิน ขอถือสิทธิจะ
กําหนดขอบเขตอันเกี่ยวกับลักษณะของการประดิษฐทเี่ ปนสิทธิของผูทรงสิทธิทบุคคลอื่นมีหนาทีที่จะตองเคารพและ
                                                                                                 ี่                     ่
ละเวนจากการกระทําอันจะเปนการละเมิดสิทธิของผูทรง
                                                                                                                                               7
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
        ขอถือสิทธิ เปนการระบุถึงสวนของการประดิษฐทผูขอตองการสงวนสิทธิมิใหคนอื่นแสดงหาประโยชนจากการ
                                                          ี่
ประดิษฐ โดยหลักการทั่วไปแลว ขอบเขตของการประดิษฐที่ระบุในขอถือสิทธิจะตอง ไมกวางหรือเกินไปกวาที่ผูขอได
ทําการประดิษฐนั้น และที่ไดเปดเผยในรายละเอียดการประดิษฐ ดังนั้นหากผูขอตองการขอถือสิทธิในลักษณะของ
สวนของการประดิษฐ ก็จะตองเปดเผยรายละเอียด เกี่ยวกับลักษณะสวนนั้นของการประดิษฐโดยสมบูรณ ชัด
แจง และรัดกุมในรายละเอียดการประดิษฐดวย ขอถือสิทธิตองระบุลกษณะของการประดิษฐทผูขอประสงคจะขอรับ
                                                                    ั                         ี่
ความคุมครองโดยชัดแจง รัดกุม และสอดคลองกับรายละเอียดการประดิษฐ ถาขอถือสิทธิไมเปนไปตามหลักเกณฑที่
กฎหมายกําหนด คําขอนั้นอาจถูกปฏิเสธได หลักที่วาขอถือสิทธิจะตองสอดคลองกับรายละเอียดการประดิษฐ ได
กลาวถึงแลวขางตนสวนที่วาขอถือสิทธิจะตองชัดแจงและรัดกุมนั้น พอสรุปไดวามีอยู 2 ความหมายดังนี้
1.ลักษณะของถอยคําที่ใชจะตองชัดแจงและรัดกุม
          ถอยคําที่ใชจะตองชัดเจน หามใชถอยคําที่คลุมเครือหรือมีความหมายเพือเลือกแบบกวางๆ เชน ระบุวา
                                                                                ่
สวนประกอบสวนหนึงของการประดิษฐนั้น "ทําจากโลหะหรือสิ่งที่คลายคลึงกัน" ยอมไมชัดเจน เพราะสิ่งทีมีคุณสมบัติ
                        ่                                                                              ่
คลายคลึงกับโลหะมีมากมาย
2. ลักษณะของการแยกและจัดลําดับขอถือสิทธิ
          ความชัดแจงและรัดกุมของขอถือสิทธิอาจเกิดขึ้นจากวิธีการแยกและการจัดลําดับขอถือสิทธิ รวมทั้งการ
อางอิงถึงขอถือสิทธิอื่นๆ ในคําขอเดียวกันนั้นดวยการพิจารณาวาควรแยกขอถือสิทธิออกเปนหลายขอหรือควรมีขอถือ
สิทธิเพียงขอเดียวหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับลักษณะของการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตร /อนุสทธิบัตร วาการประดิษฐนั้นมี
                                                                                          ิ
ลักษณะองคประกอบหรือโครงสรางซับซอนหรือไมเพียงใด ถาเปนการประดิษฐที่ไมซบซอนก็ไมควรแยกขอถือสิทธิ
                                                                                     ั
เปนหลายขอ เพราะจะทําใหขาดความชัดแจงและรัดกุม ในทางกลับกันถาเปนการประดิษฐทซับซอนมาก หากไมแยก
                                                                                            ี่
ขอถือสิทธิออกเปนหลายๆ ขอก็จะทําใหขาดความชัดแจงและรัดกุมเชนเดียวกัน ขอถือสิทธิที่ใชระบุถึงลักษณะทาง
เทคนิคอันเปนสาระสําคัญของการประดิษฐเรียกวา "ขอถือสิทธิหลัก" สวนขอถือสิทธิทระลึกถึงลักษณะทางเทคนิคอัน
                                                                                       ี่
เปนลักษณะพิเศษหรือ รายละเอียดปลีกยอย เรียกวา "ขอถือสิทธิรอง"
          โดยทั่วไป การประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรมักมีลักษณะ ที่ไมซับซอนมากจึงมักจะมีขอถือหลักเพียงขอเดียวและ
มีขอถือสิทธิรองอีก 2-3 ขอ ในกรณีที่ขอถือสิทธิห ลัก เพียงขอเดียวไมส ามารถคลุม ถึง ลักษณะทางเทคนิคของการ
ประดิษฐไดทั้งหมด ผูขอจะระบุขอถือสิทธิหลักหลายขอสําหรับลักษณะของการประดิษฐประเภทเดียวกันในคําขอรับ
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ฉบับหนึ่งก็ได การอางถึงขอถือสิทธิอื่นในขอถือรองนั้น จะตองอางในลักษณะที่เปนทางเลือก
เทานั้น

ง. รูปเขียน (ถามี)
        เปนสวนทีจะชวยใหผอานคําขอรับสิทธิบัตรสามารถเขาใจรายละเอียดการประดิษฐไดดีขึ้น ดังนั้น กฎหมายจึง
                  ่            ู
กําหนดวา หากจําเปนเพื่อทีจะทําใหสามารถเขาใจการประดิษฐโดยทั่วไป รูปเขียนมักจะจําเปนในกรณีที่เปนคําขอรับ
                             ่
สิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ฟสิกสดวย หากผูขอไมยื่นรูปเขียนในกรณีทจําเปนคําขอนั้น
                                                                                                   ี่
อาจถูกปฏิเสธได รูปเขียนจะตองแสดงใหเห็นชัดเจนสอดคลองกับรายละเอียดการประดิษฐและเปนไปตามหลัก
วิชาการเขียนแบบ ตามลักษณะและวิธีที่อธิบดีกรมทรัพยสินทางปญญากําหนด เชน จะตองเขียนดวยหมึกสีดําเขมที่
สามารถอยูไดทนนาน และหามระบายสีเขียนโดยใชอุปกรณการเขียนแบบมีสัดสวนที่ถูกตอง และใช
สัญลักษณ (Drawing Symbols) ตามที่กําหนด
        รูปเขียน ใหแสดงรูปเขียนที่ชวยใหสามารถเขาใจถึงลักษณะของการประดิษฐนี้ไดดียิ่งขึ้น รูปเขียนนี้ตองเปนรูป
ที่เขียนขึ้นตามหลักวิชาการเขียนแบบ คือ ใชเครื่องมือในการวาดเขียน เชน การลากเสนตรงตองใชไมบรรทัด การวาด
รูปวงกลมตองใชวงเวียนหรือเครื่องเขียนแบบอื่น ๆ (รูปถายไมสามารถใชประกอบการพิจารณาได) และใหมีหมายเลข
ชี้แสดงชิ้นสวนตาง ๆ เพื่อใชประกอบการอธิบายในหัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ โดยหมายเลขเหลานี้
                                                                                                                   8
ตองไมอยูภายในวงกลม วงเล็บ หรือเครื่องหมายใด ๆ และหมายเลขเดียวกันใหชี้แสดงชิ้นสวนเดียวกัน และไมตอง
ระบุขนาดหรือบอกขนาดของชิ้นสวนที่ไดประดิษฐขึ้น และไมตองอธิบายรูปเขียน ใหระบุเพียง รูปที่ 1,รูปที่ 2 หรือรูป
ที่ 3 เทานั้น

จ. บทสรุปการประดิษฐ
        เปนสวนของคําขอสิทธิบัตรการประดิษฐที่จะชวยใหบุคคลที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่ตรวจสอบสิทธิบัตร และ
ผูสนใจ สามารถตรวจคน หรือคนควาเกี่ยวกับการประดิษฐนั้นโดยไมตองเสียเวลามาก ผูขอจะตองจัดทําบทสรุปการ
ประดิษฐในทุกกรณี หากผูขอไมยื่นบทสรุปการประดิษฐดวย คําขอนั้นอาจถูกปฏิเสธได
        บทสรุปการประดิษฐตองสรุปสาระสําคัญของการประดิษฐที่ไดเปดเผยหรือแสดงไวในรายละเอียดการ
ประดิษฐ ขอถือสิทธิและรูปเขียน (ถามี) โดยจะตองระบุลักษณะทางเทคนิคทีเ่ กี่ยวของกับการประดิษฐโดยยอ แตตอง
เปนไปในลักษณะทีจะทําใหเขาใจไดดีขึ้นถึงปญหาทางเทคนิคตลอดจนการแกไขปญหาโดยการประดิษฐ และการใช
                    ่
การประดิษฐนั้น โดยจะตองรัดกุม ชัดแจงและมีถอยคําไมเกิน 200 คํา
        การกําหนดจํานวนหนา ในแตละหนาจะมีการกําหนดหนาและจํานวนหนาไวที่กึ่งกลางหนากระดาษเอ 4 ดาน
บนสุด ถาเปนเนื้อหาในสวนเดียวกัน ไดแก รายละเอียดการประดิษฐ ขอถือสิทธิ รูปเขียน และบทสรุปการประดิษฐ
ใหเรียงลําดับหนาตอเนื่องกันไป และใหขึ้นหนาและจํานวนหนาใหมของแตละสวนเชน หนา 1 ของจํานวน 3 หนา
,หนา 2 ของจํานวน 3 หนา ,หนา 3 ของจํานวน 3 หนา ....เปนตน
        การกํากับบรรทัดทุกสวนและแตละหนา หากมีบรรทัดเกิน 5 บรรทัด ใหรบุหมายเลขกํากับบรรทัดทุก 5
                                                                               ุ
บรรทัด ทางดานซายมือ และระบุตอเนื่องกันลงมาตามลําดับ เชน 5,10,15.....เปนตน สวนประกอบทั้ง 5 สวนของคํา
                                    
ขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร นอกจากสวนที่ 1 คือแบบพิมพคําแลวสวนอื่นๆ คือ รายละเอียดการประดิษฐ ขอถือ
                      ิ
สิทธิ รูปเขียน และบทสรุปการประดิษฐ เปนสวนทีผูขอจะตองเตรียมจัดทําเองทั้งสิ้น ทั้งนี้ จะตองเปนไปตาม
                                                 ่
หลักเกณฑและวิธีการทีกําหนด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของกฎหมายสิทธิบัตรและเพื่อประโยชนในดานการ
                         ่
บริหารงาน หลักเกณฑ และวิธีการดังกลาวที่สําคัญ สรุปไดดังนี้
        1. คําขอรับสิทธิบัตรและเอกสารหลักฐาน จะตองยื่นอยางนอย 2 ชุด ซึ่งจะคืนให 1 ชุด เพื่อเปนสําเนาใหกับผู
ขอรับสิทธิบัตร
        2. คําขอจะตองมีขอความถูกตอง ชัดเจน และครบถวนตามที่กําหนดไวในแบบพิมพ
        3. คําขอและสวนประกอบทุกสวนจะตองพิมพหรือดีดพิมพขอความเปนภาษาไทย
        4. ลงลายมือชื่อผูขอหรือตัวแทน
        นอกจากนี้ ยังมีรายละเอียดปลีกยอยเกี่ยวกับการจัดเตรียมคําขอรับสิทธิบัตรอยูเ ปนอันมาก กอนจัดทําคํา
ขอรับสิทธิบัตรควรศึกษากฎกระทรวง (พ.ศ. 2522) ออกตามความในพระราชบัญญัตสิทธิบัตรและประกาศกรม
                                                                                    ิ
ทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวของ

คําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
      คําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ ประกอบดวย
      ก. แบบพิมพคําขอและเอกสารประกอบ
      ข. ขอถือสิทธิ
      ค. ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ
      ง. คําพรรณนาแบบผลิตภัณฑ (ถามี)




                                                                                                                 9
ก. แบบพิมพคําขอและเอกสารประกอบ
         เปนเอกสารที่แสดงเจตนาของผูขอตองการทีจะไดรบความคุมครองตามกฎหมายและเปนการระบุ และแสดง
                                                    ่    ั
หลักฐานวาผูขอมีสิทธิขอรับสิทธิบัตรในฐานะอะไร แบบพิมพคําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ ผูขอตองใช
แบบพิมพที่กรมทรัพยสินทางปญญา กําหนดและจัดพิมพขน ซึ่งไดแกแบบ สป/สผ/001-ก อันเปนแบบพิมพคําขอ
                                                           ึ้
ที่ใชสําหรับขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐนั้นเอง ซึ่งกําหนดใหผูขอ ระบุถงผลิตภัณฑที่จะใชการออกแบบผลิตภัณฑใน
                                                                      ึ
แบบพิมพคําขอดวย กรณีคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ คือ เอกสารหลักฐานแสดงสิทธิขอรับสิทธิบัตร และเอกสาร
หลักฐานการมอบอํานาจใหตัวแทนเปนผูกระทําการแทน ผูขอจะตองยื่นแบบพิมพดังกลาวพรอมกับการยื่นขอรับ
สิทธิบัตร แตถาไมสามารถยื่นพรอมกับคําขอได ก็อาจขอผอนผันได 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกขอผอนผันไดเปน
เวลา 90 วัน และครั้งที่สองขอผอนผันไดอีก 30 วัน โดยตองยื่นขอผอนผันกอนสิ้นกําหนดระยะเวลาลวงหนาไมนอย
กวา 10 วัน แบบฟอรมคําขอรับรองเกี่ยวกับสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

ข. ขอถือสิทธิ
       เปนสวนทีผูขอรับสิทธิบัตรระบุถึงขอบเขตการออกแบบผลิตภัณฑที่ตองการไดรับความคุมครอง เนื่องจาก
                 ่
ลักษณะของการออกแบบผลิตภัณฑไมยุงยากซับซอนเหมือนกับการประดิษฐ กฎหมายจึงกําหนดใหผูขอระบุขอถือ
สิทธิเพียงขอเดียวเทานั้น ขอถือสิทธิจะตองระบุถึงลักษณะของการออกแบบผลิตภัณฑทผูขอประสงคจะไดรับความ
                                                                                 ี่
คุมครองโดยชัดแจง กลาวคือ ผูขอตองการที่จะไดรับความคุมครองในรูปรางลักษณะหรือลวดลาย หรือสีของ
                                                          
ผลิตภัณฑโดยทั่วไปแลวผูขอจะอางถึงลักษณะที่แสดงในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ เชน "ขอถือสิทธิในรูปรางลักษณะ
และลวดลายของเหยื่อใสน้ําตามที่แสดงในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ"

...ขอถือสิทธิ...
     ขอบเขต (scope)
     ลักษณะเฉพาะ (characteristics)
              ชัดแจง (clear)
              สมบูรณ (complete)
              สอดคลองกับรายละเอียด (supported)
     โครงสราง (structure)
              สวนนํา (introductory phase)
              เนื้อหา (the body of claim)
              ลําดับความสัมพันธ (the link that joins the two)

ค. ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ
        ไดแกภาพที่แสดงถึงรายละเอียดของการออกแบบผลิตภัณฑที่ขอรับความคุมครอง เทียบไดรับ รายละเอียดการ
ประดิษฐในคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ กลาวคือ มุงหมายที่จะแสดงใหเห็นถึงลักษณะของสิงที่ตองการไดรบความ
                                                                                      ่              ั
คุมครองดังนั้น ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ จึงเปนสวนทีสําคัญที่สุดในคําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑซึ่งผูขอ
                                                   ่
จะตองยื่นพรอมกับแบบพิมพคําขอทุกกรณีภาพแสดงแบบผลิตภัณฑตองแสดงรูปราง ลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑอัน
เปนสาระสําคัญทังหมดที่ประสงคจะขอรับความคุมครองโดยจะแสดงเปนรูปเขียน (Drawing) หรือ
                 ้
ภาพถาย (Photographs) ก็ได โดยปกติภาพแสดงแบบผลิตภัณฑตองเปนภาพขาวดําเวนแตเปนการขอรับความ
คุมครองในสีของผลิตภัณฑ ในกรณีเชนนี้ ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑตองแสดงสีดวย ขอสําคัญคือ ตองแสดงถึงลักษณะ
   
ที่ตองการไดรับความคุมครองทังหมด เชน ถาเปนการขอรับความคุมครองสําหรับรูปรางลักษณะ ตองแสดงรูปดาน
                              ้
ตางๆ และทัศนียภาพ (Perspective View) ของผลิตภัณฑนั้นดวย
                                                                                                          10
ง. คําพรรณนาแบบผลิตภัณฑ (ถามี)
         ใชในกรณีที่ผูขอประสงคจะชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับแบบผลิตภัณฑเพิ่มเติมเพื่อใหเจาที่หรือ บุคคลอื่น
เขาใจแบบผลิตภัณฑที่ขอรับสิทธิบัตรไดดีขึ้น กฎหมายไมไดกําหนดใหผูขอยื่นคําพรรณนาแบบผลิตภัณฑ เนื่องจาก
การออกแบบผลิตภัณฑเปนลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ ซึ่งปกติอาจแสดงใหเห็นไดโดยละเอียด โดยภาพแสดง
แบบผลิตภัณฑอยูแลว แตถาหากผูขอประสงคที่จะยื่นคําพรรณาแบบผลิตภัณฑเพื่อวัตถุประสงคดังกลาวขางตน ก็ควร
เขียนเพียงสั้นๆ ไมควรเกิน 100 คํา

         การยื่นคําขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
       เมื่อเตรียมคําขอรับสิทธิบัตรเรียบรอยแลว ผูขอจะตองยื่นคําขอรับสิทธิบัตรนั้นพรอมชําระคาธรรมเนียมคํา
ขอรับสิทธิบัตร ซึ่งอาจทําได 2 วิธีคือ
       1. นําคําขอไปยื่นตรงตอพนักงานเจาหนาที่ ณ กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ชําระคาธรรมเนียม
เปนเงินสด หรือ
       2. สงคําขอดังกลาวโดยทางไปรษณียลงทะเบียน ถึง พนักงานเจาหนาที่ ณ กรมทรัพยสิน ทางปญญา กระทรวง
พาณิชย หรือ สํานักงานพาณิชยจงหวัด ชําระคาธรรมเนียมโดยสั่งจายเปนธนาณัติ
                                  ั

สถานที่ยื่นคําขอจดทะเบียนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
      การยืนขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร จะตองยื่นคําขอรับสิทธิบัตร/ อนุสิทธิบัตร พรอมชําระคาธรรมเนียมไดที่
             ่
สวนงานรับคําขอสิทธิบัตร ชั้น 3 กรมทรัพยสินทางปญญา โทร. 0-2547-4637 หรือสํานักงานพาณิชยจังหวัดทุกแหง



                                                                                   ...........................................
                                                                                      นางสาวธิดารัตน โดดหนู
                                                                                                    ผูสรุป

                                                                                   ...........................................
                                                                                          นางรําพึง ปุยแกว
                                                                                              ผูตรวจรายงาน

                                                                                   ...........................................
                                                                                         นางภาณี ผลากรกุล
                                                                                            ผูรับรองรายงาน




                                                                                                                             11

Contenu connexe

Plus de topsaby99

ภาษามือ
ภาษามือภาษามือ
ภาษามือtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิกแบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิกtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวช
แบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวชแบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวช
แบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวชtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูก
แบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูกแบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูก
แบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูกtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรมแบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรมtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมอง
แบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมองแบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมอง
แบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมองtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกโรคภายใน
แบบสอบถามอาการแผนกโรคภายในแบบสอบถามอาการแผนกโรคภายใน
แบบสอบถามอาการแผนกโรคภายในtopsaby99
 
แบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนัง
แบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนังแบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนัง
แบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนังtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรมแบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรมtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการ
แบบสอบถามอาการแบบสอบถามอาการ
แบบสอบถามอาการtopsaby99
 
แบบสอบถามอาการแผนกเด็ก
แบบสอบถามอาการแผนกเด็กแบบสอบถามอาการแผนกเด็ก
แบบสอบถามอาการแผนกเด็กtopsaby99
 
คู่มือภาษาต่างด้าว2
คู่มือภาษาต่างด้าว2คู่มือภาษาต่างด้าว2
คู่มือภาษาต่างด้าว2topsaby99
 
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีคู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีtopsaby99
 
บรรยากาศนอนไม่หลับ
บรรยากาศนอนไม่หลับบรรยากาศนอนไม่หลับ
บรรยากาศนอนไม่หลับtopsaby99
 
เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1topsaby99
 
เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2topsaby99
 
เคล็ดลับนอนหลับ3
เคล็ดลับนอนหลับ3เคล็ดลับนอนหลับ3
เคล็ดลับนอนหลับ3topsaby99
 
เคล็ดลับนอนหลับ4
เคล็ดลับนอนหลับ4เคล็ดลับนอนหลับ4
เคล็ดลับนอนหลับ4topsaby99
 
เคล็ดลับนอนหลับ5
เคล็ดลับนอนหลับ5เคล็ดลับนอนหลับ5
เคล็ดลับนอนหลับ5topsaby99
 
เคล็ดลับนอนหลับฝันดี
เคล็ดลับนอนหลับฝันดีเคล็ดลับนอนหลับฝันดี
เคล็ดลับนอนหลับฝันดีtopsaby99
 

Plus de topsaby99 (20)

ภาษามือ
ภาษามือภาษามือ
ภาษามือ
 
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิกแบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
แบบสอบถามอาการแผนกโสต ศอ นาสิก
 
แบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวช
แบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวชแบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวช
แบบสอบถามอาการแผนกสูติ นรีเวช
 
แบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูก
แบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูกแบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูก
แบบสอบถามอาการแผนกศัลกรรมกระดูก
 
แบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรมแบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกศัลยกรรม
 
แบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมอง
แบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมองแบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมอง
แบบสอบถามอาการแผนกศัล ประสาท-สมอง
 
แบบสอบถามอาการแผนกโรคภายใน
แบบสอบถามอาการแผนกโรคภายในแบบสอบถามอาการแผนกโรคภายใน
แบบสอบถามอาการแผนกโรคภายใน
 
แบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนัง
แบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนังแบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนัง
แบบสอบถามอาหารแผนกโรคผิวหนัง
 
แบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรมแบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรม
แบบสอบถามอาการแผนกทันตกรรม
 
แบบสอบถามอาการ
แบบสอบถามอาการแบบสอบถามอาการ
แบบสอบถามอาการ
 
แบบสอบถามอาการแผนกเด็ก
แบบสอบถามอาการแผนกเด็กแบบสอบถามอาการแผนกเด็ก
แบบสอบถามอาการแผนกเด็ก
 
คู่มือภาษาต่างด้าว2
คู่มือภาษาต่างด้าว2คู่มือภาษาต่างด้าว2
คู่มือภาษาต่างด้าว2
 
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีคู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
 
บรรยากาศนอนไม่หลับ
บรรยากาศนอนไม่หลับบรรยากาศนอนไม่หลับ
บรรยากาศนอนไม่หลับ
 
เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1
 
เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2
 
เคล็ดลับนอนหลับ3
เคล็ดลับนอนหลับ3เคล็ดลับนอนหลับ3
เคล็ดลับนอนหลับ3
 
เคล็ดลับนอนหลับ4
เคล็ดลับนอนหลับ4เคล็ดลับนอนหลับ4
เคล็ดลับนอนหลับ4
 
เคล็ดลับนอนหลับ5
เคล็ดลับนอนหลับ5เคล็ดลับนอนหลับ5
เคล็ดลับนอนหลับ5
 
เคล็ดลับนอนหลับฝันดี
เคล็ดลับนอนหลับฝันดีเคล็ดลับนอนหลับฝันดี
เคล็ดลับนอนหลับฝันดี
 

สรุปโครงการอบรมการจัดการความรู้ในองค์กรครั้งที่ 3

  • 1. โครงการอบรมการจัดการความรูในองคกร (ครั้งที่ 3) วันจันทรที่ 30 มกราคม 2555 เวลา 13.00 –16.00 น. ณ หองประชุมเพชรภิรมย อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 7 เรื่อง...........นวัตกรรมสิ่งประดิษฐและการจดลิขสิทธิ์ทางปญญา โดย... ดร.ใจรัก เอื้อชูเกียรติ จากงานนโยบายทรัพยสินทางปญญา คุณทวีศักดิ์ สุขสวัสดิ์ งานจัดการทรัพยสินทางปญญา นวัตกรรม หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ๆ ที่ยังไมเคยมีใชมากอน หรือเปนการพัฒนาดัดแปลงมา จากของเดิมที่มีอยูแลว ใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น เมื่อนํา นวัตกรรมมาใชจะชวยใหการทํางานนั้นไดผลดีมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง กวาเดิม ทั้งยังชวย ประหยัดเวลาและแรงงานไดดวย “นวัตกรรม” (Innovation) มีร ากศัพทม าจาก innovare ในภาษาลาติน แปลวา ทําสิ่ง ใหมขึ้นมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตรคือ การนําแนวความคิดใหมหรือการใชประโยชนจากสิ่งที่มีอยูแลวมาใช ในรูปแบบ ใหม เพื่อทําใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทําในสิ่งที่แตกตางจากคนอื่น โดยอาศัยการ เปลี่ยนแปลงตาง ๆ (Change) ที่เ กิดขึ้นรอบตัวเราใหก ลายมาเปนโอกาส (Opportunity) และถายทอดไปสู แนวความคิดใหมที่ทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ไดถูกพัฒนาขึ้นมาในชวงตนศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นไดจากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เชน ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเนนไปที่การสรางสรรค การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันจะนําไปสูการไดมาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชนในเชิงพาณิชยเปน หลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรูและนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดจริง อีกดวย ทรัพยสินทางปญญาคืออะไร ทรัพยสินทางปญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสรางสรรคของมนุษย ทรัพยสินทางปญญา เปนทรัพยอกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยสินทีสามารถเคลื่อนยายได เชน นาฬิกา รถยนต โตะ ี ่ เปนตน และอสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยสินที่ไมสามารถเคลือนยายได เชน บาน ที่ดิน เปนตน ่ ประเภทของทรัพยสินทางปญญา โดยทั่วๆไป คนไทยสวนมากจะคุนเคยกับคําวา "ลิขสิทธิ" ซึ่งใชเรียกทรัพยสินทางปญญาทุกประเภท ์ โดยที่ถูกตองแลวทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ที่เรียกวา ทรัพยสินทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์ ทรัพยสินทางอุตสาหกรรม ไมใชสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพยที่ใชในการผลิตสินคาหรือผลิตภัณฑ ทาง อุตสาหกรรม แทที่จริงแลว ทรัพยสินทางอุตสาหกรรมนี้ เปนความคิดสรางสรรคของมนุษยทเี่ กี่ยวกับสินคา ความคิดสรางสรรคนี้จะเปนความคิดในการประดิษฐคดคน การออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรม ซึ่ง ิ อาจจะเปนกระบวนการ หรือเทคนิคในการผลิตที่ไดปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือที่เกี่ยวของกับตัวสินคา หรือ ผลิตภัณฑทเี่ ปนองคประกอบและรูปรางสวยงามของตัวผลิตภัณฑ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการคาหรือยี่หอ ซื่อและถิ่นทีอยูทางการคา ที่รวมถึงแหลงกําเนิดสินคาและการปองกันการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ทรัพยสิน ่ ทางอุตสาหกรรม จึงสามารถแบงออกไดดังนี้ 1
  • 2. สิทธิบัตร (Paent) เครื่องหมายการคา (Trademark) แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout - Designs Of Inegrated Circuit) ความลับทางการคา (Trade Secrets) สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indicaion) ความหมายของทรัพยสินทางปญญาแตละประเภท ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสรางสรรคในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตรลิขสิทธิ์ยังรวมทัง ้ สิทธิคางเคียง (Neighbouring Right) คือ การนําเอางานดานลิขสิทธิ์ออกแสดง เชน นักแสดง ผู บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศนในการบันทึกหรือถายทอดเสียงหรือภาพ โปรแกรมคอมพิวเตอร (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุดคําสั่งที่ใชกับเครื่อง คอมพิวเตอร เพื่อกําหนดใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน งานฐานขอมูล (Data Base) คือ ขอมูลที่ไดรบเก็บรวบรวมขึ้นเพือใชประโยชนดานตางๆ ั ่ สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสําคัญทีรัฐออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ (Invention) การออกแบบ ่ ผลิตภัณฑ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑอรรถประโยชน (Utility Model) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกําหนด การประดิษฐ คือ ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับ ลักษณะองคประกอบ โครงสรางหรือกลไกลของ ผลิตภัณฑ รวมทังกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ ้ การออกแบบผลิตภัณฑ คือ ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับการทําใหรูปรางลักษณะภายนอกของ ผลิตภัณฑเกิดความสวยงาม และแตกตางไปจากเดิม ผลิตภัณฑอรรถประโยชนหรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะ คลายกันกับการประดิษฐ แตเปนความคิดสรางสรรคทมีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไมสงมาก หรือเปนการประดิษฐ ี่ ู คิดคนเพียงเล็กนอย แบบผังภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบที่ทําขึ้น เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมตอ วงจรไฟฟา เชน ตัวนําไฟฟา หรือตัวตานทาน เปนตน เครื่องหมายการคา หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณหรือตราที่ใชกับสินคา หรือบริการ ไดแก เครื่องหมายการคา (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใชเปนทีหมายเกี่ยวของกับสินคาเพื่อแสดงวา ่ สินคาที่ ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางกับสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่น เชน โคก เปปซี่ บรีส เปนตน เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครืองหมายที่ใชเปนที่หมายหรือเกี่ยวของกับการบริการ เพื่อ ่ แสดงวาบริการที่ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางกับบริการที่ใชเครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เชน เครื่องหมายของสาย การบิน ธนาคาร โรงแรม เปนตน เครื่องหมายรับรอง (Certificaion mark) คือเครืองหมายที่เจาของเครื่องหมายรับรองใชเปนทีหมาย ่ ่ หรือเกี่ยวของกับ สินคาและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเปนการรับรองคุณภาพของสินคา หรือบริการนั้น เชน เชลลชวนชิม แมชอยนางรํา เปนตน เครื่องหมายรวม (Colective Mark) คือ เครื่องหมายการคาหรือเครื่องหมาบบริการที่ใชโดยบริษัท หรือรัฐวิสาหกิจใน กลุมเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุมบุคคล หรือองคกรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เชน ตรา ชางของบริษทปูนซิเมนไทย จํากัด เปนตน ั ความลับทางการคา หมายถึง ขอมูลการคาที่ยังไมเปนที่รูจักกันโดยทั่วไป และมีมูลคาในเชิงพาณิชย เนื่อ งจากขอ มูล นั้น เป นความลั บ และมีก ารดําเนิน การตามความสมควรเพื่อ รัก ษาขอ มูล นั้น ไว เ ป นความลั บ ชื่ อ ทางการค า หมาถึ ง ชื่ อ ที่ ใ ช ใ นการประกอบกิ จ การ เช น โกดั ก ฟู จิ เป น ต น 2
  • 3. สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ หรือสิ่งอื่นใดที่ใชเรียกหรือใชแทน แทนแหลงภูมิศาสตร และสามารถบงบอกวาสินคาที่เกิดจากแหลงภูมิศาสตรนั้นเปนสินคาที่มี คุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของ แหลงภูมิศาสตรนั้น เชน มีดอรัญญิก สมบางมด ผาไหมไทย แชมเปญ คอนยัค เปนตน ปจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายใหความคุมครองทรัพยสินทางปญญา 4 ฉบับ คือ 1. พระราชบัญญัตสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และ ิ ิ พระราชบัญญัตสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 ิ 2. พระราชบัญญัตเิ ครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 ท แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตเิ ครื่องหมายการคา (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2537 3. พระราชบัญญัตลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ิ 4. พระราชบัญญัติคุมครองแบบผังภูมิของวงจรรวม พ.ศ. 2543 ลิขสิทธิ์คืออะไร ลิขสิทธิ์ เปนทรัพยสินทางปญญาอยางหนึ่ง ที่กฎหมายใหความคุมครอง โดยใหเจาของลิขสิทธิ์ ถือสิทธิแต เพียงผูเดียวที่จะกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงานสรางสรรคที่ตนไดกระทําขึ้น งานอันมีลิขสิทธิ์ งานสรางสรรคที่จะไดรับ ความคุม ครองตามพระราชบัญญัติลิขสิท ธิ์ตองเปนงานในสาขา วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียงแพรภาพ รวมถึงงานอื่น ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร หรือ แผนกศิลปะ งานเหลานี้ถือเปนผลงาน ที่เกิดจากการใชสติปญญา ความรูความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ใน การสรางสรรคงานใหเกิดขึ้น ซึ่งถือเปนทรัพยสินทางปญญาประเภทหนึ่งที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ การคุมครองลิขสิทธิ์ ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ มีสิทธิแตเพียงผูเดียว ในการใชประโยชนจากผลงานสรางสรรคของตน ในการทําซ้ํา ดัดแปลง หรือเผยแพรตอสาธารณชน รวมทั้งสิทธิในการใหเชา โดยทั่วไปอายุการคุมครองสิทธิจะมีผลเกิดขึ้นทันทีที่มี การสรางสรรคผลงาน โดยความคุม ครองนี้จะมีตลอดอายุของผูส รางสรรค และคุมครองตอไปอีก 50 ปนับแตผู สรางสรรคเสียชีวิต พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงคใหความคุมครองปองกันผลประโยชนทั้งทางเศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซึ่ง บุคคลพึงไดรับจากผลงานสรางสรรคอันเกิดจากความนึกคิดและสติปญญาของตน นอกจากนี้ยังมุงที่จะสนับสนุน สงเสริมใหเกิดการสรางสรรคผลงาน กลาวคือ เมื่อผูสรางสรรคไดรับผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อแรงกายและสติปญญา  ของตน ไดรับผลประโยชนตอบแทนจากการลงทุน ก็ยอมจะเกิดกําลังใจที่จะคิดคนสรางสรรคและเผยแพรผลงานให แพรหลายออกไปมากยิ่งขึ้น อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศชาติ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การกระตุนใหเกิดการพัฒนาสติปญญาของคนในชาติ เปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไปใน อนาคต ประเทศไทยไดประกาศใชพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพื่อใชบังคับแทน พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 โดยมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2538 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ใหความคุมครองตอโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยจัดเปนผลงานทางวรรณกรรมประเภทหนึ่ง และงานที่ไดจัดทําขึ้นกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเปนงาน ที่ไดรับความคุมครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ จะไดรับความคุมครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ แมวาประเทศ 3
  • 4. ไทยจะมีกฎหมายคุมครองลิขสิทธิ์มาเปนระยะเวลานานแลว แตความเขาใจของประชาชนโดยทั่วไปในเรื่องลิขสิทธิ์ยัง ไมชัดเจน ความตระหนักรูถึงความสําคัญของการคุมครองลิขสิทธิ์ และทัศนคติที่ถูกตองเกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสิน ทางปญญาเปนปจจัยสําคัญ ที่จะนําไปสูการคุมครองทรัพยสินทางปญญา ที่ยั่งยืนกวาการปราบปรามการละเมิด ลิขสิทธิ์ซึ่งเปนการแกปญหาที่ปลายเหตุ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ไดใหความหมายของคําวา "ลิขสิทธิ์" วา หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเดียวที่ จะทําการใดๆตามพระราชบัญญัตินี้" เกี่ยวกับงานที่ผูสรางสรรคไดทําขึ้น นั่นก็หมายความ วา เจาของลิขสิทธิ์เพียงผู เดียวเทานั้นที่มีสิทธิจะทําอยางไรก็ได กับงานอันมีลิขสิทธิ์ของตนเอง การละเมิดลิขสิทธิ์ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : คือ การทําซ้ํา ดัดแปลง เผยแพรโปรแกรมคอมพิวเตอรแกสาธารณชน รวมทั้ง การนําตนฉบับหรือสําเนางานดังกลาวออกใหเชา โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยออม : คือ การกระทําทางการคา หรือการกระทําที่มีสวนสนับสนุนใหเกิดการละเมิด ลิขสิทธิ์ดังกลาวขางตนโดยผูกระทํารูอยูแลว วางานใดไดทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น แตก็ยังกระทําเพื่อหากําไร จากงานนั้น ไดแก การขาย มีไวเ พื่อขาย ใหเชา เสนอใหเชา ใหเ ชาซื้อ เสนอใหเชาซื้อ เผยแพรตอสาธารณชน แจกจายในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอเจาของลิขสิทธิ์และนําหรือสั่งเขามาในราชอาณาจักร หนวยงานที่เกี่ยวของ 1. กรมทรัพยสินทางปญญา - www.ipthailand.go.th - บริการขอมูลตาง ๆ 2. ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา ระหวางประเทศกลาง - www.ipitc.coj.go.th พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย พ.ศ. 2551 ผลบังคับ (ตังแตวนที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2551) ้ ั บุคลที่อยูในขายตองปฏิบัติตามกฎหมาย (สถานพยาบาล – ผูประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุข) การผลิต หมายถึง ทํา ประกอบ ประดิษฐ แบงบรรจุ รวมบรรจุ ปรับปรุง ดัดแปลง หรือทําใหปราศจากเชื้อ หาม ผลิต นําเขา หรือขายเครื่องมือแพทย (ก) ปลอม (ข) ผิดมาตรฐาน (ค) เสื่อมคุณภาพ (ง) ไมปลอดภัยในการใช (จ) ไมตรงตามที่ไดรับอนุญาตหรือแจงรายการละเอียด ฝาฝน (รับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา) เงื่อนไขการบังคับใชสิทธิในสิทธิบัตรยา (ก) ระยะเวลาการใชสิทธิ ระยะเวลาจํากัด หรือจนกวาจะหมดอายุการคุมครองสิทธิบัตร หรือจนกวาจะหมดความจําเปน (ข) วัตถุประสงคในการใชสทธิ ิ เพื่อจัดใหมียาในปริมาณที่เพียงพอในการใหบริการแกผูที่จําเปน ค) ผูมีสทธิใชยา ิ - ผูมีสทธิตาม พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ (บัตรทอง) ิ - ผูประกันตนตาม พรบ.ประกันสังคม 4
  • 5. - ผูมีสทธิในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการและลูกจางของทางราชการ บางกรณี อาจมีการจํากัด ิ จํานวนผูใชยาตอป (ง) อัตราคาตอบแทน ตั้งแตรอยละ 0.5 – 3 – 5 ของมูลคาการจําหนาย (จ) วิธีการ เพื่อผลิตหรือนําเขา (ฉ) ขอผูกพัน กระทรวงสาธารณสุขจะแจงผูทรงสิทธิและกรมทรัพยสนทางปญญาทราบ ิ แหลงขอมูลสําหรับสืบคนผลงานที่มีมากอน ฐานขอมูลสิทธิบัตร ฐานขอมูลงานวิจัย สิ่งตีพิมพตาง : หนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ ฯลฯ หลักการทั่วไปของการรางคําขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรและการออกแบบผลิตภัณฑ 1. ลักษณะและขอบกพรองของงานที่ปรากฏอยูแลว 2. ลักษณะและโครงสรางของการประดิษฐ 3. แนวโนมการปรับปรุง(ตอยอด)ที่อาจเปนไปได การจัดเตรียมคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ/อนุสิทธิบัตร 1. แบบพิมพคําขอรับสิทธิบัตร 2. รายละเอียดการประดิษฐ 3. ขอถือสิทธิ 4. รูปเขียน ( ถามี ) 5. บทสรุปการประดิษฐ 6. เอกสารประกอบคําขอ รายละเอียดการประดิษฐ 1. ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ 2. สาขาวิทยาการที่เกี่ยวของกับการประดิษฐ 3. ลักษณะและความมุงหมายของการประดิษฐ 4. ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวของ 5. คําอธิบายรูปเขียนโดยยอ(ถามีรูปเขียน) 6. การเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ 7. วิธีการในการประดิษฐที่ดที่สุด ี 8. การนําการประดิษฐไปใชประโยชนในการผลิตทางอุตสาหกรรมหัตถกรรม เกษตรกรรม หรือ พาณิชยกรรม คําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ/อนุสิทธิบัตร ประกอบดวย ก. แบบพิมพคําขอ และเอกสารประกอบ ข. รายละเอียดการประดิษฐ ค. ขอถือสิทธิ 5
  • 6. ง. รูปเขียน (ถามี) จ. บทสรุปการประดิษฐ ก. แบบพิมพคําขอ และเอกสารประกอบ แบบพิมพคําขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ผูขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตรตองใชแบบพิมพทกรมทรัพยสินทาง ิ ี่ ปญญากําหนดและจะพิมพขึ้น ซึ่งไดแกแบบ สป/สผ/001-ก สวนเอกสารประกอบคําขอมีอยู 2 ลักษณะ คือ 1. เอกสารหลักฐานแสดงสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร มีลักษณะตางๆ ดังนี้ ในกรณีผูขอเปนผูประดิษฐหรือผูออกแบบผลิตภัณฑใหยื่นคํารับรองเกี่ยวกับสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุ  สิทธิบัตร โดยใชแบบ สป/สผ/001-ก (พ) แตถาผูขอซึ่งเปนผูประดิษฐเปนคนตางดาวและอานภาษาไทยไมเขาใจให ใช Form PI/PD/001-A (Add) ซึ่งเปนแบบพิมพที่กรมทรัพยสินทางปญญากําหนดและจัดพิมพขึ้น ผูขอจะตองยื่น แบบพิมพดังกลาวพรอมกับการยื่นขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบตร แตถาไมสามารถยื่นพรอมกับคําขอได ก็อาจขอผอน ั ผันได 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกขอผอนผันไดเปนเวลา 90 วัน และครั้งทีสองขอผอนผันไดอีก 30 วัน โดยตองยื่นขอผอนผัน ่ กอนสิ้นกําหนดระยะเวลา ในกรณีที่ผูขอมิใชผูประดิษฐแตเปนผูมีสทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ในฐานะอื่น เชนเปน นายจางหรือผู  ิ วาจางของผูประดิษฐ เปนทายาทหรือผูจัดการมรดกของผูประดิษฐ หรือ เปนผูรบโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุ ั สิทธิบัตร จะตองยื่นเอกสารหลักฐานแสดงวาเปนผูมสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร ในฐานะดังกลาวดวย ทั้งนี้ ี ิ เอกสารหลักฐานดังกลาวจะตองถูกตองตามแบบที่กฎหมายกําหนดดวย เชน ผูขอที่เปนผูรับโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/  อนุสิทธิบัตร จะตองยื่นหนังสือโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร ที่ลงลายมือชื่อทังผูโอนและผูรบโอนดวย เปนตน ิ ้ ั 2. เอกสารหลักฐานการมอบอํานาจใหตัวแทนกระทําการแทน ผูขอจะตองมอบอํานาจใหตัวแทนซึ่งไดขึ้นทะเบียนไวกับกรมทรัพยสินทางปญญา เพื่อดําเนินการ ขอรับ สิทธิบัตรแทนโดยทําเปนหนังสือมอบอํานาจซึ่งมีได 2 กรณี คือ 2.1. ผูขอเปนผูที่ไมมีถิ่นทีอยูในประเทศไทย ในกรณีดังกลาวหนังสือมอบอํานาจจะตองมีคํารับรอง ของ ่ ทูต ที่ปรึกษาการพาณิชย ขาหลวงพาณิชย ผูชวยทูตการพาณิชย หรือกงสุลไทย ซึ่งประจําอยูในประเทศนั้น หรือมีคํา รับรองของบุคคลซึ่งกฎหมายของประเทศทีผูมอบอํานาจมีถนที่อยู ซึ่งโดยทั่วไปไดแก โนตารีพับลิค (Notary-Public) ่ ิ่ ถาหนังสือมอบอํานาจหรือคํารับรองดังกลาวจัดทําขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ใหผูยื่นจัดใหมีคําแปลเปนภาษาไทย โดย มีคํารับรองของผูแปลและผูรับมอบอํานาจวา เปนคําแปลภาษาไทยที่ ถูกตองตรงกับหนังสือมอบอํานาจหรือคํารับรอง  นั้น และยื่นคําแปลดังกลาวพรอมกับหนังสือมอบอํานาจ หรือคํารับรองดวย 2.2. ผูขอเปนผูที่มีถิ่นทีอยูในประเทศไทยแตประสงคจะมอบอํานาจใหบุคคลอื่นกระทําการแทน (คือไม ่ ประสงคจะดําเนินการดวยตนเอง) ข. รายละเอียดการประดิษฐ รายละเอียดการประดิษฐเปนสวนทีผูขอจะตองจัดทําขึ้นเองโดยจะตองมีลกษณะดังที่กลาวขางตน ทั้งนี้ โดย ่ ั จะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง (พ.ศ2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติ สิทธิบัตรดวย กฎกระทรวงดังกลาวกําหนดวา รายละเอียดตองระบุหัวขอเรื่องตามลําดับ ดังตอไปนี้ ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ จะตองระบุวาการประดิษฐนั้นคืออะไร โดยระบุถึงลักษณะสําคัญของการประดิษฐ นั้นดวย เชน พัดลมไฟฟา กรรมวิธีหลอผนังคอนกรีต เตาอบไฟฟา แบบจายความรอน เปนตน จะตองไมใชชื่อที่ตั้งขึ้น เองหรือเครื่องหมายการคา เชน เตาอบไฟฟาสุรชัย และจะตองไมใชชื่อที่เปนการอวดอางสรรพคุณ เชน เตาแกส มหัศจรรย หรือปากกาเนรมิต เปนตน 6
  • 7. ลักษณะและความมุงหมายของการประดิษฐ จะตองระบุถึงลักษณะทีสําคัญของการประดิษฐโดยยอ รวมทั้ง  ่ วัตถุประสงคของการประดิษฐดังกลาว ตัวอยางเชน การขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร สําหรับ "อุปกรณและวิธีวัดความ ิ ยาวของวัตถุโดยความยาวคลื่นแสงเลเซอร" ผูจะขอระบุวา"ลักษณะของอุปกรณอันเปนการประดิษฐนี้ประกอบดวย แหลงกําเนิดแสงเลเซอร เครื่องตรวจจับสัญญาณ สวนบังคับทิศทาง โดยมีวงจรทางอีเลคโทรนิคควบคุมการทํางาน และความยาวของวัตถุและจุดประสงคของการประดิษฐดงกลาว คือ เพื่อที่จะใหการวัดความยาวของวัตถุมีคาถูกตอง ั แนนอนยิ่งขึ้น สาขาวิทยาการที่เกี่ยวของกับการประดิษฐ จะตองระบุวาการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบตร จัดอยูใน ั  สาขาวิทยาการหรือเทคโนโลยีดานใด เชน วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟา เคมี ฟสิกส เปนตน ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยการที่เกี่ยวของ จะตองระบุลักษณะของการประดิษฐที่มีอยูกอนแลว พรอมทั้ง ขอบกพรองตางๆ หรือปญหาของการประดิษฐดังกลาว ทั้งนี้เพื่อที่จะแสดงใหเห็นวาการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรนั้น แตกตางกับการประดิษฐที่มีอยูกอนแลวอยางไรและเพียงใด ในกรณีที่เปนการประดิษฐที่ยังไมเคยมีมากอนเลย ผู ข อ อ า จ จ ะ ร ะ บุ ถึ ง ป ญ ห า ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ซึ่ ง ก ร ะ ตุ น ใ ห เ กิ ด แ น ว คิ ด ดั ง ก ล า ว การเปด เผยการประดิษฐโ ดยสมบูร ณ จะตองระบุถึ ง รายละเอียดของการประดิษ ฐที่ขอรับ สิ ท ธิบัตร/อนุ สิทธิบัตร วามีลักษณะโครงสราง สวนประกอบ องคประกอบ หรือขั้นตอนอยางไรบาง การบรรยายในหัวขอนี้จะตอง ละเอียดสมบูรณ และชัดเจนพอที่จะทําใหผูมีความชํานาญในระดับสามัญในสาขาวิท ยาการนั้นๆ สามารถอานแลว เขาใจถึงการประดิษฐนั้นได และสามารถนําไปใชและปฏิบัติตามการประดิษฐนั้นไดดวยในหัวขอการเปดเผยการ ประดิษฐโดยสมบูรณนี้ ผูเขียนควรคํานึงถึงความชัดเจนเปนหลักดังนั้น ควรกําหนดลักษณะและขั้นตอนการบรรยาย ใหดี หากเปนเรื่องที่เกี่ยวกับกลไก หรือเครื่องมือตางๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีรูปเขียนประกอบในกรณีดงกลาว การ ั อางอิงลักษณะทางโครงสรางในหัวขอนี้ จะตองสอดคลองกับรูปเขียนดวย ตัวอยางในกรณีที่เปนการขอรับสิทธิบัตร สําหรับเครื่องมือหรือกลไก ในขั้นแรกควรอธิบายถึงสวนประกอบหรือโครงสรางของการประดิษฐนั้นวามีสวนประกอบ อยางไรประกอบกันในลักษณะใด และประกอบกันแลวจะใหผลในทางปฏิบัติอยางไร ขั้นที่สองควรอธิบายถึงระบบการ ทํางานหรือกรรมวิธีในการผลิตเริ่มตั้งแตนําวัตถุดิบเขาระบบและผานขบวนการตางๆ ของอุปกรณ ซึ่งควรจะระบุถึง รายละเอียดของขั้นตอนนั้นๆ ดวย จนกระทั้งไดเปนผลิตภัณฑสําเร็จออกมา คําอธิบายรูปเขียนโดยยอ จะตองระบุถึงรูปเขียนทีเ่ สนอมาพรอมกับคําขอ (ถามี) โดยระบุวา รูปเขียนแตละ รูปแสดงถึงสวนใดของการประดิษฐ เชน รูปที่ 1 แสดงถึงสวนประกอบทั้งหมดของเครื่องจักร รูปที่ 2 แสดงถึง สวนประกอบสวนใดสวนหนึงของเครื่องจักร เปนตน ่ วิธีการในการประดิษฐที่ดีทสุด ในกรณีทมีการระบุในหัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ ถึงวิธีการ ี่ ี่ ประดิษฐหลายวิธี ผูขอจะตองระบุถึงวิธีการประดิษฐที่ดีทสด แตถามีการเปดเผยวิธีการประดิษฐ เพียงวิธีเดียวใน ี่ ุ หัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ ผูขอก็สามารถระบุวา "วิธีการในการประดิษฐที่ดีทสุดไดแก วิธีการดังที่ได ี่ บรรยายไวในหัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ" การใชประโยชนการประดิษฐในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม หรือพาณิชยกรรม ในกรณีที่ ลักษณะของการประดิษฐเองไมสามารถแสดงไดวาจะนําไปใชในการผลิตในดานตางๆ ไดหรือไมเปนอยางไร เชน การ ประดิษฐสารประกอบเคมีขึ้นใหมผูขอจะตองอธิบายใหเห็นวา สามารถนําเอาการประดิษฐนั้นไปใชในทางใดบาง และ มีประโยชนอยางไร แตถาโดยลักษณะของ การประดิษฐนั้นเอง แสดงใหเห็นไดอยูแลววาสามารถนําไปใชประโยชนใน ดานการผลิตได ก็ไมจําเปน ตองมีหัวขอนี้ ค. ขอถือสิทธิ ขอถือสิทธิเปนสวนทีผูขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ระบุถึงขอบเขตของการประดิษฐที่ตองการไดรับความ ่ คุมครองขอถือสิทธิเปรียบไดกับการกําหนดขอบเขตอันเปนพื้นที่ที่เปนสิทธิของเจาของโฉนดที่ดิน ขอถือสิทธิจะ กําหนดขอบเขตอันเกี่ยวกับลักษณะของการประดิษฐทเี่ ปนสิทธิของผูทรงสิทธิทบุคคลอื่นมีหนาทีที่จะตองเคารพและ ี่ ่ ละเวนจากการกระทําอันจะเปนการละเมิดสิทธิของผูทรง 7
  • 8. สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ขอถือสิทธิ เปนการระบุถึงสวนของการประดิษฐทผูขอตองการสงวนสิทธิมิใหคนอื่นแสดงหาประโยชนจากการ ี่ ประดิษฐ โดยหลักการทั่วไปแลว ขอบเขตของการประดิษฐที่ระบุในขอถือสิทธิจะตอง ไมกวางหรือเกินไปกวาที่ผูขอได ทําการประดิษฐนั้น และที่ไดเปดเผยในรายละเอียดการประดิษฐ ดังนั้นหากผูขอตองการขอถือสิทธิในลักษณะของ สวนของการประดิษฐ ก็จะตองเปดเผยรายละเอียด เกี่ยวกับลักษณะสวนนั้นของการประดิษฐโดยสมบูรณ ชัด แจง และรัดกุมในรายละเอียดการประดิษฐดวย ขอถือสิทธิตองระบุลกษณะของการประดิษฐทผูขอประสงคจะขอรับ  ั ี่ ความคุมครองโดยชัดแจง รัดกุม และสอดคลองกับรายละเอียดการประดิษฐ ถาขอถือสิทธิไมเปนไปตามหลักเกณฑที่ กฎหมายกําหนด คําขอนั้นอาจถูกปฏิเสธได หลักที่วาขอถือสิทธิจะตองสอดคลองกับรายละเอียดการประดิษฐ ได กลาวถึงแลวขางตนสวนที่วาขอถือสิทธิจะตองชัดแจงและรัดกุมนั้น พอสรุปไดวามีอยู 2 ความหมายดังนี้ 1.ลักษณะของถอยคําที่ใชจะตองชัดแจงและรัดกุม ถอยคําที่ใชจะตองชัดเจน หามใชถอยคําที่คลุมเครือหรือมีความหมายเพือเลือกแบบกวางๆ เชน ระบุวา ่ สวนประกอบสวนหนึงของการประดิษฐนั้น "ทําจากโลหะหรือสิ่งที่คลายคลึงกัน" ยอมไมชัดเจน เพราะสิ่งทีมีคุณสมบัติ ่ ่ คลายคลึงกับโลหะมีมากมาย 2. ลักษณะของการแยกและจัดลําดับขอถือสิทธิ ความชัดแจงและรัดกุมของขอถือสิทธิอาจเกิดขึ้นจากวิธีการแยกและการจัดลําดับขอถือสิทธิ รวมทั้งการ อางอิงถึงขอถือสิทธิอื่นๆ ในคําขอเดียวกันนั้นดวยการพิจารณาวาควรแยกขอถือสิทธิออกเปนหลายขอหรือควรมีขอถือ สิทธิเพียงขอเดียวหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับลักษณะของการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตร /อนุสทธิบัตร วาการประดิษฐนั้นมี ิ ลักษณะองคประกอบหรือโครงสรางซับซอนหรือไมเพียงใด ถาเปนการประดิษฐที่ไมซบซอนก็ไมควรแยกขอถือสิทธิ ั เปนหลายขอ เพราะจะทําใหขาดความชัดแจงและรัดกุม ในทางกลับกันถาเปนการประดิษฐทซับซอนมาก หากไมแยก ี่ ขอถือสิทธิออกเปนหลายๆ ขอก็จะทําใหขาดความชัดแจงและรัดกุมเชนเดียวกัน ขอถือสิทธิที่ใชระบุถึงลักษณะทาง เทคนิคอันเปนสาระสําคัญของการประดิษฐเรียกวา "ขอถือสิทธิหลัก" สวนขอถือสิทธิทระลึกถึงลักษณะทางเทคนิคอัน ี่ เปนลักษณะพิเศษหรือ รายละเอียดปลีกยอย เรียกวา "ขอถือสิทธิรอง" โดยทั่วไป การประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรมักมีลักษณะ ที่ไมซับซอนมากจึงมักจะมีขอถือหลักเพียงขอเดียวและ มีขอถือสิทธิรองอีก 2-3 ขอ ในกรณีที่ขอถือสิทธิห ลัก เพียงขอเดียวไมส ามารถคลุม ถึง ลักษณะทางเทคนิคของการ ประดิษฐไดทั้งหมด ผูขอจะระบุขอถือสิทธิหลักหลายขอสําหรับลักษณะของการประดิษฐประเภทเดียวกันในคําขอรับ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ฉบับหนึ่งก็ได การอางถึงขอถือสิทธิอื่นในขอถือรองนั้น จะตองอางในลักษณะที่เปนทางเลือก เทานั้น ง. รูปเขียน (ถามี) เปนสวนทีจะชวยใหผอานคําขอรับสิทธิบัตรสามารถเขาใจรายละเอียดการประดิษฐไดดีขึ้น ดังนั้น กฎหมายจึง ่ ู กําหนดวา หากจําเปนเพื่อทีจะทําใหสามารถเขาใจการประดิษฐโดยทั่วไป รูปเขียนมักจะจําเปนในกรณีที่เปนคําขอรับ ่ สิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ฟสิกสดวย หากผูขอไมยื่นรูปเขียนในกรณีทจําเปนคําขอนั้น ี่ อาจถูกปฏิเสธได รูปเขียนจะตองแสดงใหเห็นชัดเจนสอดคลองกับรายละเอียดการประดิษฐและเปนไปตามหลัก วิชาการเขียนแบบ ตามลักษณะและวิธีที่อธิบดีกรมทรัพยสินทางปญญากําหนด เชน จะตองเขียนดวยหมึกสีดําเขมที่ สามารถอยูไดทนนาน และหามระบายสีเขียนโดยใชอุปกรณการเขียนแบบมีสัดสวนที่ถูกตอง และใช สัญลักษณ (Drawing Symbols) ตามที่กําหนด รูปเขียน ใหแสดงรูปเขียนที่ชวยใหสามารถเขาใจถึงลักษณะของการประดิษฐนี้ไดดียิ่งขึ้น รูปเขียนนี้ตองเปนรูป ที่เขียนขึ้นตามหลักวิชาการเขียนแบบ คือ ใชเครื่องมือในการวาดเขียน เชน การลากเสนตรงตองใชไมบรรทัด การวาด รูปวงกลมตองใชวงเวียนหรือเครื่องเขียนแบบอื่น ๆ (รูปถายไมสามารถใชประกอบการพิจารณาได) และใหมีหมายเลข ชี้แสดงชิ้นสวนตาง ๆ เพื่อใชประกอบการอธิบายในหัวขอการเปดเผยการประดิษฐโดยสมบูรณ โดยหมายเลขเหลานี้ 8
  • 9. ตองไมอยูภายในวงกลม วงเล็บ หรือเครื่องหมายใด ๆ และหมายเลขเดียวกันใหชี้แสดงชิ้นสวนเดียวกัน และไมตอง ระบุขนาดหรือบอกขนาดของชิ้นสวนที่ไดประดิษฐขึ้น และไมตองอธิบายรูปเขียน ใหระบุเพียง รูปที่ 1,รูปที่ 2 หรือรูป ที่ 3 เทานั้น จ. บทสรุปการประดิษฐ เปนสวนของคําขอสิทธิบัตรการประดิษฐที่จะชวยใหบุคคลที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่ตรวจสอบสิทธิบัตร และ ผูสนใจ สามารถตรวจคน หรือคนควาเกี่ยวกับการประดิษฐนั้นโดยไมตองเสียเวลามาก ผูขอจะตองจัดทําบทสรุปการ ประดิษฐในทุกกรณี หากผูขอไมยื่นบทสรุปการประดิษฐดวย คําขอนั้นอาจถูกปฏิเสธได บทสรุปการประดิษฐตองสรุปสาระสําคัญของการประดิษฐที่ไดเปดเผยหรือแสดงไวในรายละเอียดการ ประดิษฐ ขอถือสิทธิและรูปเขียน (ถามี) โดยจะตองระบุลักษณะทางเทคนิคทีเ่ กี่ยวของกับการประดิษฐโดยยอ แตตอง เปนไปในลักษณะทีจะทําใหเขาใจไดดีขึ้นถึงปญหาทางเทคนิคตลอดจนการแกไขปญหาโดยการประดิษฐ และการใช ่ การประดิษฐนั้น โดยจะตองรัดกุม ชัดแจงและมีถอยคําไมเกิน 200 คํา การกําหนดจํานวนหนา ในแตละหนาจะมีการกําหนดหนาและจํานวนหนาไวที่กึ่งกลางหนากระดาษเอ 4 ดาน บนสุด ถาเปนเนื้อหาในสวนเดียวกัน ไดแก รายละเอียดการประดิษฐ ขอถือสิทธิ รูปเขียน และบทสรุปการประดิษฐ ใหเรียงลําดับหนาตอเนื่องกันไป และใหขึ้นหนาและจํานวนหนาใหมของแตละสวนเชน หนา 1 ของจํานวน 3 หนา ,หนา 2 ของจํานวน 3 หนา ,หนา 3 ของจํานวน 3 หนา ....เปนตน การกํากับบรรทัดทุกสวนและแตละหนา หากมีบรรทัดเกิน 5 บรรทัด ใหรบุหมายเลขกํากับบรรทัดทุก 5 ุ บรรทัด ทางดานซายมือ และระบุตอเนื่องกันลงมาตามลําดับ เชน 5,10,15.....เปนตน สวนประกอบทั้ง 5 สวนของคํา  ขอรับสิทธิบัตร/อนุสทธิบัตร นอกจากสวนที่ 1 คือแบบพิมพคําแลวสวนอื่นๆ คือ รายละเอียดการประดิษฐ ขอถือ ิ สิทธิ รูปเขียน และบทสรุปการประดิษฐ เปนสวนทีผูขอจะตองเตรียมจัดทําเองทั้งสิ้น ทั้งนี้ จะตองเปนไปตาม ่ หลักเกณฑและวิธีการทีกําหนด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของกฎหมายสิทธิบัตรและเพื่อประโยชนในดานการ ่ บริหารงาน หลักเกณฑ และวิธีการดังกลาวที่สําคัญ สรุปไดดังนี้ 1. คําขอรับสิทธิบัตรและเอกสารหลักฐาน จะตองยื่นอยางนอย 2 ชุด ซึ่งจะคืนให 1 ชุด เพื่อเปนสําเนาใหกับผู ขอรับสิทธิบัตร 2. คําขอจะตองมีขอความถูกตอง ชัดเจน และครบถวนตามที่กําหนดไวในแบบพิมพ 3. คําขอและสวนประกอบทุกสวนจะตองพิมพหรือดีดพิมพขอความเปนภาษาไทย 4. ลงลายมือชื่อผูขอหรือตัวแทน นอกจากนี้ ยังมีรายละเอียดปลีกยอยเกี่ยวกับการจัดเตรียมคําขอรับสิทธิบัตรอยูเ ปนอันมาก กอนจัดทําคํา ขอรับสิทธิบัตรควรศึกษากฎกระทรวง (พ.ศ. 2522) ออกตามความในพระราชบัญญัตสิทธิบัตรและประกาศกรม ิ ทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวของ คําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ คําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ ประกอบดวย ก. แบบพิมพคําขอและเอกสารประกอบ ข. ขอถือสิทธิ ค. ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ง. คําพรรณนาแบบผลิตภัณฑ (ถามี) 9
  • 10. ก. แบบพิมพคําขอและเอกสารประกอบ เปนเอกสารที่แสดงเจตนาของผูขอตองการทีจะไดรบความคุมครองตามกฎหมายและเปนการระบุ และแสดง ่ ั หลักฐานวาผูขอมีสิทธิขอรับสิทธิบัตรในฐานะอะไร แบบพิมพคําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ ผูขอตองใช แบบพิมพที่กรมทรัพยสินทางปญญา กําหนดและจัดพิมพขน ซึ่งไดแกแบบ สป/สผ/001-ก อันเปนแบบพิมพคําขอ ึ้ ที่ใชสําหรับขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐนั้นเอง ซึ่งกําหนดใหผูขอ ระบุถงผลิตภัณฑที่จะใชการออกแบบผลิตภัณฑใน ึ แบบพิมพคําขอดวย กรณีคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ คือ เอกสารหลักฐานแสดงสิทธิขอรับสิทธิบัตร และเอกสาร หลักฐานการมอบอํานาจใหตัวแทนเปนผูกระทําการแทน ผูขอจะตองยื่นแบบพิมพดังกลาวพรอมกับการยื่นขอรับ สิทธิบัตร แตถาไมสามารถยื่นพรอมกับคําขอได ก็อาจขอผอนผันได 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกขอผอนผันไดเปน เวลา 90 วัน และครั้งที่สองขอผอนผันไดอีก 30 วัน โดยตองยื่นขอผอนผันกอนสิ้นกําหนดระยะเวลาลวงหนาไมนอย กวา 10 วัน แบบฟอรมคําขอรับรองเกี่ยวกับสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ข. ขอถือสิทธิ เปนสวนทีผูขอรับสิทธิบัตรระบุถึงขอบเขตการออกแบบผลิตภัณฑที่ตองการไดรับความคุมครอง เนื่องจาก ่ ลักษณะของการออกแบบผลิตภัณฑไมยุงยากซับซอนเหมือนกับการประดิษฐ กฎหมายจึงกําหนดใหผูขอระบุขอถือ สิทธิเพียงขอเดียวเทานั้น ขอถือสิทธิจะตองระบุถึงลักษณะของการออกแบบผลิตภัณฑทผูขอประสงคจะไดรับความ ี่ คุมครองโดยชัดแจง กลาวคือ ผูขอตองการที่จะไดรับความคุมครองในรูปรางลักษณะหรือลวดลาย หรือสีของ  ผลิตภัณฑโดยทั่วไปแลวผูขอจะอางถึงลักษณะที่แสดงในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ เชน "ขอถือสิทธิในรูปรางลักษณะ และลวดลายของเหยื่อใสน้ําตามที่แสดงในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ" ...ขอถือสิทธิ... ขอบเขต (scope) ลักษณะเฉพาะ (characteristics) ชัดแจง (clear) สมบูรณ (complete) สอดคลองกับรายละเอียด (supported) โครงสราง (structure) สวนนํา (introductory phase) เนื้อหา (the body of claim) ลําดับความสัมพันธ (the link that joins the two) ค. ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ไดแกภาพที่แสดงถึงรายละเอียดของการออกแบบผลิตภัณฑที่ขอรับความคุมครอง เทียบไดรับ รายละเอียดการ ประดิษฐในคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ กลาวคือ มุงหมายที่จะแสดงใหเห็นถึงลักษณะของสิงที่ตองการไดรบความ ่ ั คุมครองดังนั้น ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ จึงเปนสวนทีสําคัญที่สุดในคําขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑซึ่งผูขอ ่ จะตองยื่นพรอมกับแบบพิมพคําขอทุกกรณีภาพแสดงแบบผลิตภัณฑตองแสดงรูปราง ลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑอัน เปนสาระสําคัญทังหมดที่ประสงคจะขอรับความคุมครองโดยจะแสดงเปนรูปเขียน (Drawing) หรือ ้ ภาพถาย (Photographs) ก็ได โดยปกติภาพแสดงแบบผลิตภัณฑตองเปนภาพขาวดําเวนแตเปนการขอรับความ คุมครองในสีของผลิตภัณฑ ในกรณีเชนนี้ ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑตองแสดงสีดวย ขอสําคัญคือ ตองแสดงถึงลักษณะ  ที่ตองการไดรับความคุมครองทังหมด เชน ถาเปนการขอรับความคุมครองสําหรับรูปรางลักษณะ ตองแสดงรูปดาน ้ ตางๆ และทัศนียภาพ (Perspective View) ของผลิตภัณฑนั้นดวย 10
  • 11. ง. คําพรรณนาแบบผลิตภัณฑ (ถามี) ใชในกรณีที่ผูขอประสงคจะชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับแบบผลิตภัณฑเพิ่มเติมเพื่อใหเจาที่หรือ บุคคลอื่น เขาใจแบบผลิตภัณฑที่ขอรับสิทธิบัตรไดดีขึ้น กฎหมายไมไดกําหนดใหผูขอยื่นคําพรรณนาแบบผลิตภัณฑ เนื่องจาก การออกแบบผลิตภัณฑเปนลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ ซึ่งปกติอาจแสดงใหเห็นไดโดยละเอียด โดยภาพแสดง แบบผลิตภัณฑอยูแลว แตถาหากผูขอประสงคที่จะยื่นคําพรรณาแบบผลิตภัณฑเพื่อวัตถุประสงคดังกลาวขางตน ก็ควร เขียนเพียงสั้นๆ ไมควรเกิน 100 คํา การยื่นคําขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร เมื่อเตรียมคําขอรับสิทธิบัตรเรียบรอยแลว ผูขอจะตองยื่นคําขอรับสิทธิบัตรนั้นพรอมชําระคาธรรมเนียมคํา ขอรับสิทธิบัตร ซึ่งอาจทําได 2 วิธีคือ 1. นําคําขอไปยื่นตรงตอพนักงานเจาหนาที่ ณ กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ชําระคาธรรมเนียม เปนเงินสด หรือ 2. สงคําขอดังกลาวโดยทางไปรษณียลงทะเบียน ถึง พนักงานเจาหนาที่ ณ กรมทรัพยสิน ทางปญญา กระทรวง พาณิชย หรือ สํานักงานพาณิชยจงหวัด ชําระคาธรรมเนียมโดยสั่งจายเปนธนาณัติ ั สถานที่ยื่นคําขอจดทะเบียนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การยืนขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร จะตองยื่นคําขอรับสิทธิบัตร/ อนุสิทธิบัตร พรอมชําระคาธรรมเนียมไดที่ ่ สวนงานรับคําขอสิทธิบัตร ชั้น 3 กรมทรัพยสินทางปญญา โทร. 0-2547-4637 หรือสํานักงานพาณิชยจังหวัดทุกแหง ........................................... นางสาวธิดารัตน โดดหนู ผูสรุป ........................................... นางรําพึง ปุยแกว ผูตรวจรายงาน ........................................... นางภาณี ผลากรกุล ผูรับรองรายงาน 11