SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
ประวัตผบรรยาย
      ิ ู
ตําแหนงปจจุบัน                           ประกาศนียบัตร
– รอง ผอ.กศย.ศศย.สปท.
        ผอ.กศย.ศศย.สปท.                    – พรรคการเมืองกับการปกครองระบอบ
                                             พรรคการเมองกบการปกครองระบอบ
– ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ                      ประชาธิปไตย รุนที่ 6 สถาบันพระปกเกลา
                                                            
– อาจารยประจําหลักสูตร MBA สาขาวิชา       – Critical Path Method Project Planning,
   การจัดการธุรกิจโทรคมนาคม บัณฑิต           Scheduling and Control
   วิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ.
                                   มจธ.       Booz-
                                              Booz-Allen & Hamilton, USA
– อาจารยพิเศษมหาวิทยาลัยของรัฐบาล         – Enhance International Peacekeeping
   และเอกชนหลายแหง                          Capabilities (EIPC) Instructors’
– เวบมาสเตอร http://tortaharn.net
   เวบมาสเตอร http://tortaharn net           Course,
                                             Course The Center for Civil- Military
                                                                      Civil-
การศีกษา                                     Relations, Naval Postgraduate School,
– วทบ. (ทบ.) (ตท.26, จปร.37)
   วทบ. (ทบ.) (ตท.26, จปร.37)                USA
– วทม. (วิทยาการคอมพิวเตอร) สจล.
   วทม. (วิ                    สจล.        – System Training with Industry
– MS. (Engineering Management)               (Topic in Networking and Designing),
   Florida Institute of Technology           Booz-
                                             Booz-Allen & Hamilton, USA
– Ph.D. (Operations Research) Florida        การรับราชการ
   Institute of Technology                   – หน.ชุด.รอยปฏบตการพเศษ (ฉก.90)
                                               หน.ชด รอยปฏิบตการพิเศษ ฉก.90)
                                                              ั ิ
ราชการพิเศษ                                    พัน.จจ. นสศ.
                                                   จจ. นสศ.
- นายทหารคนสนิท ผบ.ทบ.ผบ.ทบ.                 – นายทหารโปรแกรม กสท. สท.ทหาร
                                                                  กสท. สท.
- สวนโครงการ 311                            – นายทหารวิเคราะหระบบ กสท.
                                                                      กสท.
- สวนโครงการ 287                              สท.
                                               สท.ทหาร
- อนุกรรมาธิการ/เลขานุการ
                 าร/                         – นักวิชาการ กสภ. ยก.ทหาร
                                                          กสภ. ยก.
   คณะอนุกรรมาธิการทรัพยากรน้า   ํ           – หน.การฝก กกฝ.ยก.ทหาร
                                               หน.        กกฝ.ยก.
   คณะกรรมาธการทรพยากรธรรมชาตและ
   คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและ          – หน.เทคโนโลยี กกม.ยก.ทหาร
                                               หน.เทคโนโลย กกม.ยก.
   สิ่งแวดลอม สนช.
                สนช.                         – ฝสธ.ผบ.ทหารสูงสุด
                                               ฝสธ.ผบ.
- นักวิชาการ คณะกรรมาธิการ                   – รอง ผอ.กอศ.บก.สปท.
                                                    ผอ.กอศ.บก.สปท.            2
   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนช.
                                    สนช.     – รอง ผอ.กนผ.บก.สปท.
                                                    ผอ.กนผ.บก.สปท.
ขอบเขตการนําเสนอ
• ความขัดแย้ งระหว่างประเทศ
• เรื่ องของสงคราม
• การขัดกันด้ วยอาวุธ
• ระเบียบวาระเพื่อสันติภาพ
• แนวทางในการลดความขัดแย้ งของไทย
                                    3
4
Ongoing Armed Conflicts Worldwide
on 12 S t b 2007
      September




      http://commons.wikimedia.org/wiki/Image:
      2007August_Map_of_sites_of_ongoing_armed_conflicts_worldwide.png   5
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (1)
• ในหนังสือ “ความขัดแย้ งระหว่างประเทศ”** ได้ กล่าวถึง ผลการวิจยของ ั
  เอดเวด อี เอซาร์ (Ed d E. A ) ซงเปนผู้ เชยวชาญทางดาน
     ็ ิ             (Edward E Azar) ึ่ ป็       ี่             ้
  การศึกษาความขัดแย้ งระหว่างประเทศ ที่ทําการวิจยเหตุการณ์ ทัง้
                                                    ั
  การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การทหาร และวัฒนธรรม รวม 135 ประเทศ
  ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2488 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ซึง   ่
  สามารถแบ่งระดับความขัดแย้ งออกเป็ น 15 ระดับ โดยเรี ยงลําดังความ
  ขดแยงนอยทสุ (ความรวมมอ) ไปถงรุนแรงทสุ ดงตอไปน
  ขัดแย้ งน้ อยที่สด (ความร่วมมือ) ไปถึงรนแรงที่สด ดังต่อไปนี ้


                                                                        6
 ** อภิญญา รัตนมงคลมาศ, 2538, หน้ า 70
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (2)
1. รวมตัวเป็ นประเทศเดียวกันด้ วยความสมัครใจ (Voluntary Unification
   into One Nation)
2. เป็ นพันธมิตรสําคัญด้ านยุทธศาสตร์ ทงระดับภูมิภาคหรื อระดับประเทศ
                                        ั้
   (Major Strategic Alliance Region or International)
3. ให้ ความสนับสนนทางการทหาร เศรษฐกิจ และยทธศาสตร์ (Military
   ใหความสนบสนุนทางการทหาร เศรษฐกจ และยุทธศาสตร
   Economic and Strategic Support)
4. การทํําความตกลงทางเศรษฐกิิจ เทคโนโลยีี และอุตสาหกรรมที่ีไม่่
                                       โ โ
   เกี่ยวข้ องทางทหาร (Non-military, Economic, Technological and
   Industrial Agreement)                                               7
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (3)
5. ทําความตกลงและให้ การสนับสนุนทางวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ อน     ั
   ไมเกยวของกบยุ ศ ส (Cultural d S i tifi A
   ไ ่ ี่ ้ ั ทธศาสตร์ (C lt l and Scientific Agreementt and       d
   Support – Non Strategic)
6. การใช้ ถ้อยคําสนับสนุนเปาหมาย ค่านิยมและรัฐบาลอย่างเป็ นทางการ
                           ้
   (Official Verbal Support of Goal Values and Regime)
                               Goal,
7. การแลกเปลี่ยน การเจรจา และแสดงนโยบายต่างประเทศอย่างเป็ น
   ทางการ แต่ไม่มีความสํําคัญมาก (Minor Official Exchange, Talks,
               ่ ่           ั
   and Policy Expression: Mild Verbal Support)
                                                                       8
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (4)
8. การกระทําที่เป็ นกลางหรื อกระทําการที่ไม่มีความสําคัญต่อสถานการณ์
    ระหวางชาติ (N t l or Non-significantt Acts for the Inter-nations)
          ่     (Neutral N i ifi A t f th I t                   ti )
9. การใช้ ถ้อยคํารุนแรงแสดงความไม่พอใจในการปฏิสมพันธ์ตอกัน (Mild
                                                  ฏ ั       ่
    Verbal Expression Displaying Discord in the Interaction)
10. ใชถอยคารุนแรงแสดงความกาวราวในการสรางปฏสมพนธตอกน
10 ใช้ ถ้อยคํารนแรงแสดงความก้ าวร้ าวในการสร้ างปฏิสมพันธ์ตอกัน
                                                      ั       ่
    (Strong Verbal Expression Displaying Hostility in Interaction)
11. การกระทําการรุนแรงทางการทูตและเศรษฐกิจ (Diplomatic-economic
    Hostile Actions))
                                                                        9
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (5)
12. การกระทําการรุนแรงทางการเมืองและการทหาร (Political-Military
    Hostile A ti )
    H til Actions)
13. การปฏิบติการขนาดย่อม (Small Scale Military Acts)
           ฏ ั
14. สงครามจํากัด (Limited War Acts)
15. สงครามขนาดใหญ่่ท่ีก่อให้้ เกิิดการเสียชีีวิต พลัดที่ีอยูอาศัยและ
                   ใ         ใ           ี          ั      ่ ั
    สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายทางยุทธศาสตร์ สง (Extensive War Acts Causing
                                           ู
    Death Dislocation and High Strategic Costs)

                                                                         10
ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (5)
• ระดับ 1 ถึงระดับ 8 จะเป็ นระดับของความร่วมมือ
• ระดับ 9 ถึงระดับ 15 จะเป็ นระดับของความขัดแย้ งที่เรี ยงลําดับจาก
  น้ อยสุดไปยังรุนแรงสุด ซึงนําไปสูความรุนแรงที่ทําให้ เกิดการบาดเจ็บ
                           ่      ่
  ล้ มตายจํานวนมาก




                                                                        11
สงคราม
• มีผ้ ให้ คําจํากัดความที่แตกต่างกันมากมาย เช่น ในหนังสือ The
        ู
  IInternationall Relationship Dictionary (Jack C. Plano and Roy
       t ti R l ti hi Di ti               (J k C Pl         dR
   Olton, 1969, p.77) ได้ ให้ ความหมายว่า “ความเป็ นศัตรู ระหว่ าง
   ประเทศหรื อภายในประเทศที่ มีการใช้ กาลังทหาร”
                                             ํ
• ซึงจะสอดคล้ องกับแนวความคิดของ เลวิส โคเซอร์ (Lewis A. Coser) ที่
   ซงจะสอดคลองกบแนวความคดของ เลวส โคเซอร
     ่                                                     A       ท
   กล่าวไว้ ในหนังสือ The Functions of Social Conflict (Lewis A.
   Coser, 1969 p.3) “การส้ รบเพื่อให้ ได้ มาซึ่งผลประโยชน์ ตําแหน่ ง
   C         1969, 3) “การสู บเพอใหไดมาซงผลประโยชน ตาแหนง
   อํานาจ และทรั พยากร ต่ าง ๆ โดยการสู้รบทําให้ ต้องวางตัวเป็ น
   กลาง ไ ้ รับบาดเจ็บหรื อถูกกําจัดออกไป”
            ได้         ็                  ไ                         12
ความหมายของสงคราม
• สงคราม คือ ความขัดแย้ งเป็ นวงกว้ าง และก่อให้ เกิดผลกระทบอย่าง
  รายแรง ส
   ้        สงครามนนเกดขนเมอเกดความขดแยงและไมสามารถแกไข
                        ั ้ ิ ึ ื่ ิ         ั ้      ไ ส่          ้ไ
  ด้ วยวิธีสนติ สุดท้ ายจึงลงเอยด้ วยการทําสงครามหรื อการใช้ กําลัง
            ั
  สงครามนันเกิดขึ ้นตลอดช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติ
               ้      ้
  สงครามนันมีตงแต่ระดับ รัฐ ชาติและจักรวรรดิ แต่ในปั จจุบน คําว่า
              ้ ั้                                           ุ ั
  "สงคราม" ได้ เปลี่ยนเป็ นการเรี ยกการต่อสู้ทกชนิด (ซึงเปลี่ยนจาก
                                              ุ        ่
  ความหมายเดม) อยางเชน สงครามกวาดลางยาเสพตด หรอ
  ความหมายเดิม) อย่างเช่น สงครามกวาดล้ างยาเสพติด หรื อ สงคราม
  กวาดล้ างกลุมผู้ก่อการร้ าย
                 ่
                                                                         13
http://th.wikipedia.org/wiki/สงคราม
องค์ ประกอบของสงคราม (1)
• อย่างไรก็ดีการความขัดแย้ งระหว่างประเทศไม่จําเป็ นเสมอไปว่าจะเป็ น
  การนาไปสูการเกดขนสงครามทุกครง
       ํ ไปส่        ิ ึ้ ส        ั้
• ในบทความ “Conceptualizing “War” Consequences for Theory
  and Research”** ของ Benjamin A. Most และ Harvey Starr กล่าวถึง
  องคประกอบของสงครามวาจะตองประกอบไปดวยองคประกอบขอใด
  องค์ประกอบของสงครามว่าจะต้ องประกอบไปด้ วยองค์ประกอบข้ อใด
  อย่างน้ อยข้ อหนึงดังต่อไปนี ้
                   ่



                                                                              14
** ตีพมพ์ในวารสาร Journal of Conflict Resolution (Vol.27 No.1, 1983, p.140)
      ิ
องค์ ประกอบของสงคราม (2)
• จะต้ องมีสองฝ่ ายประกอบเป็ นคูปรปั กษ์ โดยที่ฝ่ายหนึงที่มีสถานะเป็ น
                                    ่                   ่
  รฐชาติ ส่ ี ฝ่
   ั       สวนอกฝายอาจะไมจาเปนตองมสถานะเปนรฐชาติ ดงตวอยาง
                            ไ ่ ํ ป็ ้ ีส          ป็ ั       ั ั ่
  ของการก่อการร้ าย
• คูปรปั กษ์ จะต้ องมีเปาหมายที่ขดแข้ งกัน
     ่                  ้         ั
• ค่ปรปั กษ์ ตางทราบดีวาแต่ละฝ่ ายมีเปาหมายขัดแย้ งกัน
  คู รปกษตางทราบดวาแตละฝายมเปาหมายขดแยงกน
                ่         ่              ้
• คูปรปั กษ์ ตางพยายามหาทางบรรลุเปาหมายของตนทัง้ ๆ ที่ร้ ูวาการประ
       ่      ่                        ้                       ่
  ทํานันจะขัดแย้ งกับความต้ องการของอีกฝ่ ายหนึง
         ้                                       ่

                                                                         15
องค์ ประกอบของสงคราม (3)
• มีสถานการณ์ที่แสดงให้ เห็นว่าอย่างน้ อยที่สดอีกฝ่ ายหนึงมีเจตนาที่จะ
                                              ุ            ่
  ใชกาลงทหารเพอบรรลุเป
  ใ้ ํ ั            ื่    ปาหมายของตน
                           ้
• มีสถานการณ์ที่แสดงให้ เห็นว่าอย่างน้ อยอีกฝ่ ายมีความสามารถที่จะ
  ต่อต้ านการใช้ กําลังทหารอย่างเปิ ดเผยของอีกฝ่ ายเพื่อที่จะหลีกเลี่ยง
  ความพายแพอยางฉบพลน
  ความพ่ายแพ้ อย่างฉับพลัน
• มีสถานการณ์ที่แสดงให้ เห็นว่ามีฝ่ายหนึงฝ่ ายใดเต็มใจจะใช้ กําลังทาง
                                           ่
  ทหารอย่างเปิ ดเผย เพืื่อบรรลุเปาหมายของตนแม้้ เพีียงครัังเดีียวหรืื อใช้้
           ่ ปิ                    ้                         ้         ใ
  กําลังอย่างต่อเนื่อง จนทําให้ เกิดการไล่โจมตีกนตลอดเวลา
                                                ั
                                                                              16
สาเหตุของสงคราม
•   โครงสร้ างของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
•   ความเชื่อของคนในชาติ
•   ความเปนมนุษย
    ความเป็ นมนษย์
•   การแข่งขันทางเศรษฐกิจ
•   การสะสมอาวุธและกําลังทหาร
•   ความเขาใจผดระหวางรฐ
    ความเข้ าใจผิดระหว่างรัฐ
•   การต่อสู้เพื่ออํานาจ
                                          17
ผลดีและผลเสี ยของสงคราม
              ผลดของสงคราม
              ผลดีของสงคราม                                  ี
                                                         ผลเสยของสงคราม
                                                         ผลเสยของสงคราม


  - เป็ นเครื่ องมือในการสร้ างชาติ                 - สญเสียชีวต
                                                       ูญ      ิ

  - ส่ งเสริมการค้ นคว้ า/คิดค้ น เทคโนโลยีใหม่ ๆ   - สินเปลืองค่ าใช่ จ่าย
                                                        ้

  - ส่ งเสริมความเชื่อมั่นภายในรัฐ                  - ทําลายวัฒนธรรม/อารยะธรรม

  - ก่ อให้ เกิดความร่ วมมือระหว่ างประเทศ          - ก่ อให้ เกิดปั ญหาสังคมตามมา
                                                                                     18
การขัดกันด้ วยอาวุธ
• การขัดแย้ งสมัยก่อนจะเป็ นการทําสงคราม มีการประกาศ
  สงคราม และกระทํําได้้ ภายใต้้ หลักกฎหมายระหว่างประเทศ
                       ไ      ใ ั                 ่ ป
• ต่อมากฎบัตรสหประชาชาติระบว่าการทําสงครามเป็ นสิงผิด
  ตอมากฎบตรสหประชาชาตระบุวาการทาสงครามเปนสงผด           ่
  กฎหมาย รัฐสามารถทําได้ เพียงปองกันตนเองเมื่อถูกโจมตีด้วย
                                  ้
  กํําลังอาวุธก่อน
        ั
• การขัดแย้ งที่มีการใช้ อาวธอาจจะไม่ได้ ทําในรปแบบของสงคราม
  การขดแยงทมการใชอาวุธอาจจะไมไดทาในรูปแบบของสงคราม
  แบบดังเดิมก็ได้ เช่น การยึดครองอาณาเขตบางส่วนหรื อทังหมด้
  แม้ การยึดครองนันจะไม่ได้ รับการต่อต้ านด้ วยอาวุธก็ตาม
                    ้                                          19
ระเบียบวาระเพือสั นติภาพ
              ่
บูโทรส กาลี (Boutros – Gali, 1992) ได้ จําแนกระเบียบวาระเพื่อ
สันติิภาพ (Agenda for Peace) ออกเป็ น 4 ลักษณะ คืือ
  ั                                 ป็      ั
    1. การทูตเชงปองกน
    1 การทตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy)
                   ้
    2. การสร้ างสันติภาพ (Peace – Making)
    3. การรักษาสันติภาพ (Peace – Keeping)
    4. การฟืื นฟูสนติภาพภายหลังความขัดแย้้ ง
              ้ ั
       (Peace Building Post Conflict)
                                                                20
การทูตเชิงปองกัน
           ้
• การทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) ประกอบ
               ้
  ไปด้ วยการปฏิบติการทางการทูตที่กดดันไปล่วงหน้ า
                  ั
  กอนทวกฤตการณททานายไวจะเกดขน ทังนี ้ก็เพื่อปองกัน
  ก่อนที่วิกฤติการณ์ที่ทํานายไว้ จะเกิดขึ ้น ทงนกเพอปองกน
                                              ้      ้
  หรื อจํากัดความรุนแรงของวิกฤตการณ์ไว้
                               ฤ



                                                            21
การดําเนินการของการทูตเชิงป้ องกัน
• ทําการปองกันข้ อพิพาทที่จะเกิดขึ ้นระหว่างคูกรณี
           ้                                 ่
• ทําการปองกันข้ อพิพาทที่จะขยายตัวไปสูความขัดแย้ ง
             ้                            ่
• ทําการปองกันการขยายตัวของข้ อพิพาทที่เกิดขึ ้น
   ทาการปองกนการขยายตวของขอพพาททเกดขน
         ้
ตัวอย่าง
• มาตรการสร้ างความเนื ้อเชื่อใจ (Confidence Building
   Measures-CBM)

                                                        22
มาตรการสร้ างความไว้ เนือเชื่อใจ
                        ้
• มาตรการสร้ างความไว้ เนื ้อเชื่อใจ (Confidence Building
  Measures: CBMs ) เป็ นมาตรการเพื่ือสร้้ างความไว้้ เนืือเชืื่อใ
                           ป็                        ไ ้ ใจ
  ระหว่างรัฐ/เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ทังด้ านการเมือง ความมันคง และ
                                   ้                    ่
  การทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ ง และสร้ าง
  ความมนใจระหวางสองฝายหรอหลาย ฝ่ าย อนจะเปนการ
  ความมันใจระหว่างสองฝ่ ายหรื อหลาย ๆ ฝาย อันจะเป็ นการ
           ่
  ส่งเสริ มการทูตเชิงปองกัน ทังนี ้ CBMs เป็ นกระบวนการที่สําคัญ
                       ้         ้
  ในกรอบการประชุม ARF
                                                                    23
แนวทางสู่มาตรการสร้ างความไว้ เนือเชื่อใจ
                                 ้
1. Demonstrate a willingness to talk.
2. Demonstrate a willingness to listen.
3. Demonstrate a willingness to meet the needs of
   the other party
             party.
4. Demonstrate a willingness to improve the long-
                        g           p          g
   term relationship with the other party.
                                                    24
การสร้ างสันติภาพ
• เป็ นมาตรการที่ใช้ การดําเนินการทางการทูต ตังแต่ความขัดแย้ ง
                                                      ้
เริิ่ มต้้ นขึน โ งหวังให้้ เกิิดการหยุดยิิง (Establishing cease-fire)
              ึ ้ โดยมุ่ ั ใ
และหันกลับไปสูการแก้ ปัญหาอย่างสันติ (Peaceful Settlement)
                        ู่
การทําให้ เกิดสันติภาพสามารถปฏิบตได้ ตงแต่ "การแต่งตัง้
                                        ั ิ ั้
เจาหนาท: Provision
เจ้ าหน้ าที่ P i i off good officers", "การไกลเกลย:
                                  d ffi " "การไกล่เกลี่ย
Mediation", "การประนีประนอม: Conciliation", "การกดดันทางการ
ทูต: Diplomatic Pressure", "การโดดเดี่ยว: Isolation" และ "การ
ลงโทษ: Sanctions"
                Sanctions
                                                                         25
การรักษาสันติภาพ
• การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้ าหน้ าที่ทงฝ่ าย     ั้
ทหารและพลเรืื อนในนามของสหประชาชาติิ หรืื อกลุมป
                      ใ                ป                  ่ ประเทศ หรืื อ
องค์กรอิสระ เข้ าไปในพื ้นที่ที่มีความขัดแย้ งโดยความยินยอมของ
ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง เพื่อทําหน้ าที่ดแลให้ มีการปฏิบตตามข้ อตกลง
                                        ู              ัิ
หยุดยง หรอความตกลงสนตภาพ หรอกระบวนการแกไขปญหาโดย
หยดยิง หรื อความตกลงสันติภาพ หรื อกระบวนการแก้ ไขปั ญหาโดย
วิถีทาง การเมือง


                                                                            26
การฟื ้ นฟูสันติภาพภายหลังความขัดแย้ ง
• การปฏิบตการภายหลังการยุตความขัดแย้ ง โดยใช้ การ
                ัิ                 ิ
ดํําเนิินการด้้ านการทูตและด้้ านเศรษฐกิิจ เป็ นเครื่ื องมืือหลัก เพื่ือ
                                            ป็                  ั
เสริ มสร้ างและฟื นฟูความแข็งแกร่งของโครงสร้ างพื ้นฐานในการ
                   ้ ู                                   ฐ
บริ หารประเทศ และสถาบันที่จําเป็ นต่อการปกครองขึ ้นมาใหม่ เพื่อ
หลกเลยงการกลบไปสู วามขัดแย้ งอีก
หลีกเลี่ยงการกลับไปส่ความขดแยงอก



                                                                           27
แนวทางในการส่ งเสริมสันติภาพ
• การธํารงรักษา ปกปอง และส่งเสริ มสันติภาพที่มีอยูแล้ วให้ มนคง และ
                    ้                            ่          ั่
ถาวรยงขน
ถาวรยิ่งขึ ้น
• การระงับข้ อพิพาทโดยวิธีสนติวิธีตามแนวของหลักกฎหมายระหว่าง
                           ั
ประเทศ
• การเสนอให้ สหประชาชาติพิจารณาปั ญหาหรื อสถานการณ์ใด ๆ ที่
   การเสนอใหสหประชาชาตพจารณาปญหาหรอสถานการณใด ท
กระทบต่อสันติภาพระหว่างประเทศ
• การใช้ หน่วยงานในระดับภูมิภาค หรื อกระทําความตกลงระดับภูมิภาค
• การลดอาวธ
   การลดอาวุธ
                                                                      28
แนวทางในการลดความขัดแย้ งของไทย
• มียทธศาสตร์ ชาติที่ชดเจน
      ุ               ั
• มีนโยบายการต่างประเทศที่เหมาะสมและดําเนินการอย่าง
    ่ ื่
  ตอเนอง
• เพิ่มระดับของการสร้ างมาตรการสร้ างความไว้ เนื ้อเชื่อใจ
  เพมระดบของการสรางมาตรการสรางความไวเนอเชอใจ
• เตรี ยมขีดความสามารถรองรับกับภัยคุคามรููปแบบใหม่
                                     ุ

                                                             29
ความสั มพันธ์ ระหว่ างหน่ วยงานกับการกําหนดยุทธศาสตร์   30
Forward Engagement
• การทูตเชิงรุก หมายถึง ยุทธศาสตร์ กรอบใหญ่ในนโยบายต่างประเทศ
ของไทย ที่มีเปาหมายที่จะขยายกรอบความร่วมมือให้ ครอบคลมทกมิติความ
            ทมเปาหมายทจะขยายกรอบความรวมมอใหครอบคลุมทุกมตความ
                 ้
ร่วมมือกับต่างประเทศ รวมทังการส่งเสริ มและกระชับความสัมพันธ์กบทุก
                                 ้                                 ั
ประเทศทัวโ เพืื่อสันติภาพทีี่ยงยืืนและความรุ่งเรืื องทางเศรษฐกิจสํําหรับ
             ่ โลก                 ่ั
ประชาคมโลก
• นโยบายปฏิสมพันธ์ในเชิงรุกนี ้เป็ นแบบก้ าวไปข้ างหน้ า โดยเน้ นเชื่อม
                        ั
ความสมพนธกบอาเซยน เอเชยใต เอเชียตะวันออก” โดยใหความสาคญกบ
ความสัมพันธ์กบอาเซียน เอเชียใต้ เอเชยตะวนออก โดยให้ ความสําคัญกับ
                    ั
ประเทศเพื่อนบ้ าน และเน้ นเรื่ องการสร้ างกลุมประเทศ G ใหม่ขึ ้นมา
                                              ่
เพืื่อทีี่จะมาเพิิ่มอํํานาจการต่อรองให้้ กบไ ใ ีเศรษฐกิิจโ
                                ่ ใ ั ไทยในเวที           โลก
                                                                           31
ภัยคุกคามในปัจจุบัน

                      33
ไมมอนาคตในประวตศาสตร
       ไมมีอนาคตในประวัติศาสตร
มแตประวตศาสตรเปนแนวทางของอนาคต
มีแตประวัติศาสตรเปนแนวทางของอนาคต


                                  34

Contenu connexe

Similaire à War and Peace

ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามTeeranan
 
วิชากองทัพบก
วิชากองทัพบกวิชากองทัพบก
วิชากองทัพบกminiindy
 
บรรยายสงครามสมัยใหม่
บรรยายสงครามสมัยใหม่บรรยายสงครามสมัยใหม่
บรรยายสงครามสมัยใหม่Washirasak Poosit
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
Tools 4 analysis
Tools 4 analysisTools 4 analysis
Tools 4 analysisTeeranan
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
บรรยาย Singapore Defence
บรรยาย Singapore Defenceบรรยาย Singapore Defence
บรรยาย Singapore DefenceWashirasak Poosit
 

Similaire à War and Peace (14)

ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
 
Data Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPBData Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPB
 
วิชากองทัพบก
วิชากองทัพบกวิชากองทัพบก
วิชากองทัพบก
 
บรรยายสงครามสมัยใหม่
บรรยายสงครามสมัยใหม่บรรยายสงครามสมัยใหม่
บรรยายสงครามสมัยใหม่
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
Tools 4 analysis
Tools 4 analysisTools 4 analysis
Tools 4 analysis
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
งาน อ.ป
งาน อ.ป งาน อ.ป
งาน อ.ป
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
บรรยาย Singapore Defence
บรรยาย Singapore Defenceบรรยาย Singapore Defence
บรรยาย Singapore Defence
 

Plus de Teeranan

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_Teeranan
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern thTeeranan
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55Teeranan
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politicsTeeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailandTeeranan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflictTeeranan
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar warTeeranan
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfareTeeranan
 

Plus de Teeranan (20)

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar war
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfare
 

War and Peace

  • 1.
  • 2. ประวัตผบรรยาย ิ ู ตําแหนงปจจุบัน ประกาศนียบัตร – รอง ผอ.กศย.ศศย.สปท. ผอ.กศย.ศศย.สปท. – พรรคการเมืองกับการปกครองระบอบ พรรคการเมองกบการปกครองระบอบ – ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ ประชาธิปไตย รุนที่ 6 สถาบันพระปกเกลา  – อาจารยประจําหลักสูตร MBA สาขาวิชา – Critical Path Method Project Planning, การจัดการธุรกิจโทรคมนาคม บัณฑิต Scheduling and Control วิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ. มจธ. Booz- Booz-Allen & Hamilton, USA – อาจารยพิเศษมหาวิทยาลัยของรัฐบาล – Enhance International Peacekeeping และเอกชนหลายแหง Capabilities (EIPC) Instructors’ – เวบมาสเตอร http://tortaharn.net เวบมาสเตอร http://tortaharn net Course, Course The Center for Civil- Military Civil- การศีกษา Relations, Naval Postgraduate School, – วทบ. (ทบ.) (ตท.26, จปร.37) วทบ. (ทบ.) (ตท.26, จปร.37) USA – วทม. (วิทยาการคอมพิวเตอร) สจล. วทม. (วิ สจล. – System Training with Industry – MS. (Engineering Management) (Topic in Networking and Designing), Florida Institute of Technology Booz- Booz-Allen & Hamilton, USA – Ph.D. (Operations Research) Florida การรับราชการ Institute of Technology – หน.ชุด.รอยปฏบตการพเศษ (ฉก.90) หน.ชด รอยปฏิบตการพิเศษ ฉก.90) ั ิ ราชการพิเศษ พัน.จจ. นสศ. จจ. นสศ. - นายทหารคนสนิท ผบ.ทบ.ผบ.ทบ. – นายทหารโปรแกรม กสท. สท.ทหาร กสท. สท. - สวนโครงการ 311 – นายทหารวิเคราะหระบบ กสท. กสท. - สวนโครงการ 287 สท. สท.ทหาร - อนุกรรมาธิการ/เลขานุการ าร/ – นักวิชาการ กสภ. ยก.ทหาร กสภ. ยก. คณะอนุกรรมาธิการทรัพยากรน้า ํ – หน.การฝก กกฝ.ยก.ทหาร หน. กกฝ.ยก. คณะกรรมาธการทรพยากรธรรมชาตและ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและ – หน.เทคโนโลยี กกม.ยก.ทหาร หน.เทคโนโลย กกม.ยก. สิ่งแวดลอม สนช. สนช. – ฝสธ.ผบ.ทหารสูงสุด ฝสธ.ผบ. - นักวิชาการ คณะกรรมาธิการ – รอง ผอ.กอศ.บก.สปท. ผอ.กอศ.บก.สปท. 2 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนช. สนช. – รอง ผอ.กนผ.บก.สปท. ผอ.กนผ.บก.สปท.
  • 3. ขอบเขตการนําเสนอ • ความขัดแย้ งระหว่างประเทศ • เรื่ องของสงคราม • การขัดกันด้ วยอาวุธ • ระเบียบวาระเพื่อสันติภาพ • แนวทางในการลดความขัดแย้ งของไทย 3
  • 4. 4
  • 5. Ongoing Armed Conflicts Worldwide on 12 S t b 2007 September http://commons.wikimedia.org/wiki/Image: 2007August_Map_of_sites_of_ongoing_armed_conflicts_worldwide.png 5
  • 6. ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (1) • ในหนังสือ “ความขัดแย้ งระหว่างประเทศ”** ได้ กล่าวถึง ผลการวิจยของ ั เอดเวด อี เอซาร์ (Ed d E. A ) ซงเปนผู้ เชยวชาญทางดาน ็ ิ (Edward E Azar) ึ่ ป็ ี่ ้ การศึกษาความขัดแย้ งระหว่างประเทศ ที่ทําการวิจยเหตุการณ์ ทัง้ ั การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การทหาร และวัฒนธรรม รวม 135 ประเทศ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2488 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ซึง ่ สามารถแบ่งระดับความขัดแย้ งออกเป็ น 15 ระดับ โดยเรี ยงลําดังความ ขดแยงนอยทสุ (ความรวมมอ) ไปถงรุนแรงทสุ ดงตอไปน ขัดแย้ งน้ อยที่สด (ความร่วมมือ) ไปถึงรนแรงที่สด ดังต่อไปนี ้ 6 ** อภิญญา รัตนมงคลมาศ, 2538, หน้ า 70
  • 7. ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (2) 1. รวมตัวเป็ นประเทศเดียวกันด้ วยความสมัครใจ (Voluntary Unification into One Nation) 2. เป็ นพันธมิตรสําคัญด้ านยุทธศาสตร์ ทงระดับภูมิภาคหรื อระดับประเทศ ั้ (Major Strategic Alliance Region or International) 3. ให้ ความสนับสนนทางการทหาร เศรษฐกิจ และยทธศาสตร์ (Military ใหความสนบสนุนทางการทหาร เศรษฐกจ และยุทธศาสตร Economic and Strategic Support) 4. การทํําความตกลงทางเศรษฐกิิจ เทคโนโลยีี และอุตสาหกรรมที่ีไม่่ โ โ เกี่ยวข้ องทางทหาร (Non-military, Economic, Technological and Industrial Agreement) 7
  • 8. ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (3) 5. ทําความตกลงและให้ การสนับสนุนทางวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ อน ั ไมเกยวของกบยุ ศ ส (Cultural d S i tifi A ไ ่ ี่ ้ ั ทธศาสตร์ (C lt l and Scientific Agreementt and d Support – Non Strategic) 6. การใช้ ถ้อยคําสนับสนุนเปาหมาย ค่านิยมและรัฐบาลอย่างเป็ นทางการ ้ (Official Verbal Support of Goal Values and Regime) Goal, 7. การแลกเปลี่ยน การเจรจา และแสดงนโยบายต่างประเทศอย่างเป็ น ทางการ แต่ไม่มีความสํําคัญมาก (Minor Official Exchange, Talks, ่ ่ ั and Policy Expression: Mild Verbal Support) 8
  • 9. ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (4) 8. การกระทําที่เป็ นกลางหรื อกระทําการที่ไม่มีความสําคัญต่อสถานการณ์ ระหวางชาติ (N t l or Non-significantt Acts for the Inter-nations) ่ (Neutral N i ifi A t f th I t ti ) 9. การใช้ ถ้อยคํารุนแรงแสดงความไม่พอใจในการปฏิสมพันธ์ตอกัน (Mild ฏ ั ่ Verbal Expression Displaying Discord in the Interaction) 10. ใชถอยคารุนแรงแสดงความกาวราวในการสรางปฏสมพนธตอกน 10 ใช้ ถ้อยคํารนแรงแสดงความก้ าวร้ าวในการสร้ างปฏิสมพันธ์ตอกัน ั ่ (Strong Verbal Expression Displaying Hostility in Interaction) 11. การกระทําการรุนแรงทางการทูตและเศรษฐกิจ (Diplomatic-economic Hostile Actions)) 9
  • 10. ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (5) 12. การกระทําการรุนแรงทางการเมืองและการทหาร (Political-Military Hostile A ti ) H til Actions) 13. การปฏิบติการขนาดย่อม (Small Scale Military Acts) ฏ ั 14. สงครามจํากัด (Limited War Acts) 15. สงครามขนาดใหญ่่ท่ีก่อให้้ เกิิดการเสียชีีวิต พลัดที่ีอยูอาศัยและ ใ ใ ี ั ่ ั สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายทางยุทธศาสตร์ สง (Extensive War Acts Causing ู Death Dislocation and High Strategic Costs) 10
  • 11. ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ (5) • ระดับ 1 ถึงระดับ 8 จะเป็ นระดับของความร่วมมือ • ระดับ 9 ถึงระดับ 15 จะเป็ นระดับของความขัดแย้ งที่เรี ยงลําดับจาก น้ อยสุดไปยังรุนแรงสุด ซึงนําไปสูความรุนแรงที่ทําให้ เกิดการบาดเจ็บ ่ ่ ล้ มตายจํานวนมาก 11
  • 12. สงคราม • มีผ้ ให้ คําจํากัดความที่แตกต่างกันมากมาย เช่น ในหนังสือ The ู IInternationall Relationship Dictionary (Jack C. Plano and Roy t ti R l ti hi Di ti (J k C Pl dR Olton, 1969, p.77) ได้ ให้ ความหมายว่า “ความเป็ นศัตรู ระหว่ าง ประเทศหรื อภายในประเทศที่ มีการใช้ กาลังทหาร” ํ • ซึงจะสอดคล้ องกับแนวความคิดของ เลวิส โคเซอร์ (Lewis A. Coser) ที่ ซงจะสอดคลองกบแนวความคดของ เลวส โคเซอร ่ A ท กล่าวไว้ ในหนังสือ The Functions of Social Conflict (Lewis A. Coser, 1969 p.3) “การส้ รบเพื่อให้ ได้ มาซึ่งผลประโยชน์ ตําแหน่ ง C 1969, 3) “การสู บเพอใหไดมาซงผลประโยชน ตาแหนง อํานาจ และทรั พยากร ต่ าง ๆ โดยการสู้รบทําให้ ต้องวางตัวเป็ น กลาง ไ ้ รับบาดเจ็บหรื อถูกกําจัดออกไป” ได้ ็ ไ 12
  • 13. ความหมายของสงคราม • สงคราม คือ ความขัดแย้ งเป็ นวงกว้ าง และก่อให้ เกิดผลกระทบอย่าง รายแรง ส ้ สงครามนนเกดขนเมอเกดความขดแยงและไมสามารถแกไข ั ้ ิ ึ ื่ ิ ั ้ ไ ส่ ้ไ ด้ วยวิธีสนติ สุดท้ ายจึงลงเอยด้ วยการทําสงครามหรื อการใช้ กําลัง ั สงครามนันเกิดขึ ้นตลอดช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติ ้ ้ สงครามนันมีตงแต่ระดับ รัฐ ชาติและจักรวรรดิ แต่ในปั จจุบน คําว่า ้ ั้ ุ ั "สงคราม" ได้ เปลี่ยนเป็ นการเรี ยกการต่อสู้ทกชนิด (ซึงเปลี่ยนจาก ุ ่ ความหมายเดม) อยางเชน สงครามกวาดลางยาเสพตด หรอ ความหมายเดิม) อย่างเช่น สงครามกวาดล้ างยาเสพติด หรื อ สงคราม กวาดล้ างกลุมผู้ก่อการร้ าย ่ 13 http://th.wikipedia.org/wiki/สงคราม
  • 14. องค์ ประกอบของสงคราม (1) • อย่างไรก็ดีการความขัดแย้ งระหว่างประเทศไม่จําเป็ นเสมอไปว่าจะเป็ น การนาไปสูการเกดขนสงครามทุกครง ํ ไปส่ ิ ึ้ ส ั้ • ในบทความ “Conceptualizing “War” Consequences for Theory and Research”** ของ Benjamin A. Most และ Harvey Starr กล่าวถึง องคประกอบของสงครามวาจะตองประกอบไปดวยองคประกอบขอใด องค์ประกอบของสงครามว่าจะต้ องประกอบไปด้ วยองค์ประกอบข้ อใด อย่างน้ อยข้ อหนึงดังต่อไปนี ้ ่ 14 ** ตีพมพ์ในวารสาร Journal of Conflict Resolution (Vol.27 No.1, 1983, p.140) ิ
  • 15. องค์ ประกอบของสงคราม (2) • จะต้ องมีสองฝ่ ายประกอบเป็ นคูปรปั กษ์ โดยที่ฝ่ายหนึงที่มีสถานะเป็ น ่ ่ รฐชาติ ส่ ี ฝ่ ั สวนอกฝายอาจะไมจาเปนตองมสถานะเปนรฐชาติ ดงตวอยาง ไ ่ ํ ป็ ้ ีส ป็ ั ั ั ่ ของการก่อการร้ าย • คูปรปั กษ์ จะต้ องมีเปาหมายที่ขดแข้ งกัน ่ ้ ั • ค่ปรปั กษ์ ตางทราบดีวาแต่ละฝ่ ายมีเปาหมายขัดแย้ งกัน คู รปกษตางทราบดวาแตละฝายมเปาหมายขดแยงกน ่ ่ ้ • คูปรปั กษ์ ตางพยายามหาทางบรรลุเปาหมายของตนทัง้ ๆ ที่ร้ ูวาการประ ่ ่ ้ ่ ทํานันจะขัดแย้ งกับความต้ องการของอีกฝ่ ายหนึง ้ ่ 15
  • 16. องค์ ประกอบของสงคราม (3) • มีสถานการณ์ที่แสดงให้ เห็นว่าอย่างน้ อยที่สดอีกฝ่ ายหนึงมีเจตนาที่จะ ุ ่ ใชกาลงทหารเพอบรรลุเป ใ้ ํ ั ื่ ปาหมายของตน ้ • มีสถานการณ์ที่แสดงให้ เห็นว่าอย่างน้ อยอีกฝ่ ายมีความสามารถที่จะ ต่อต้ านการใช้ กําลังทหารอย่างเปิ ดเผยของอีกฝ่ ายเพื่อที่จะหลีกเลี่ยง ความพายแพอยางฉบพลน ความพ่ายแพ้ อย่างฉับพลัน • มีสถานการณ์ที่แสดงให้ เห็นว่ามีฝ่ายหนึงฝ่ ายใดเต็มใจจะใช้ กําลังทาง ่ ทหารอย่างเปิ ดเผย เพืื่อบรรลุเปาหมายของตนแม้้ เพีียงครัังเดีียวหรืื อใช้้ ่ ปิ ้ ้ ใ กําลังอย่างต่อเนื่อง จนทําให้ เกิดการไล่โจมตีกนตลอดเวลา ั 16
  • 17. สาเหตุของสงคราม • โครงสร้ างของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ • ความเชื่อของคนในชาติ • ความเปนมนุษย ความเป็ นมนษย์ • การแข่งขันทางเศรษฐกิจ • การสะสมอาวุธและกําลังทหาร • ความเขาใจผดระหวางรฐ ความเข้ าใจผิดระหว่างรัฐ • การต่อสู้เพื่ออํานาจ 17
  • 18. ผลดีและผลเสี ยของสงคราม ผลดของสงคราม ผลดีของสงคราม ี ผลเสยของสงคราม ผลเสยของสงคราม - เป็ นเครื่ องมือในการสร้ างชาติ - สญเสียชีวต ูญ ิ - ส่ งเสริมการค้ นคว้ า/คิดค้ น เทคโนโลยีใหม่ ๆ - สินเปลืองค่ าใช่ จ่าย ้ - ส่ งเสริมความเชื่อมั่นภายในรัฐ - ทําลายวัฒนธรรม/อารยะธรรม - ก่ อให้ เกิดความร่ วมมือระหว่ างประเทศ - ก่ อให้ เกิดปั ญหาสังคมตามมา 18
  • 19. การขัดกันด้ วยอาวุธ • การขัดแย้ งสมัยก่อนจะเป็ นการทําสงคราม มีการประกาศ สงคราม และกระทํําได้้ ภายใต้้ หลักกฎหมายระหว่างประเทศ ไ ใ ั ่ ป • ต่อมากฎบัตรสหประชาชาติระบว่าการทําสงครามเป็ นสิงผิด ตอมากฎบตรสหประชาชาตระบุวาการทาสงครามเปนสงผด ่ กฎหมาย รัฐสามารถทําได้ เพียงปองกันตนเองเมื่อถูกโจมตีด้วย ้ กํําลังอาวุธก่อน ั • การขัดแย้ งที่มีการใช้ อาวธอาจจะไม่ได้ ทําในรปแบบของสงคราม การขดแยงทมการใชอาวุธอาจจะไมไดทาในรูปแบบของสงคราม แบบดังเดิมก็ได้ เช่น การยึดครองอาณาเขตบางส่วนหรื อทังหมด้ แม้ การยึดครองนันจะไม่ได้ รับการต่อต้ านด้ วยอาวุธก็ตาม ้ 19
  • 20. ระเบียบวาระเพือสั นติภาพ ่ บูโทรส กาลี (Boutros – Gali, 1992) ได้ จําแนกระเบียบวาระเพื่อ สันติิภาพ (Agenda for Peace) ออกเป็ น 4 ลักษณะ คืือ ั ป็ ั 1. การทูตเชงปองกน 1 การทตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) ้ 2. การสร้ างสันติภาพ (Peace – Making) 3. การรักษาสันติภาพ (Peace – Keeping) 4. การฟืื นฟูสนติภาพภายหลังความขัดแย้้ ง ้ ั (Peace Building Post Conflict) 20
  • 21. การทูตเชิงปองกัน ้ • การทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) ประกอบ ้ ไปด้ วยการปฏิบติการทางการทูตที่กดดันไปล่วงหน้ า ั กอนทวกฤตการณททานายไวจะเกดขน ทังนี ้ก็เพื่อปองกัน ก่อนที่วิกฤติการณ์ที่ทํานายไว้ จะเกิดขึ ้น ทงนกเพอปองกน ้ ้ หรื อจํากัดความรุนแรงของวิกฤตการณ์ไว้ ฤ 21
  • 22. การดําเนินการของการทูตเชิงป้ องกัน • ทําการปองกันข้ อพิพาทที่จะเกิดขึ ้นระหว่างคูกรณี ้ ่ • ทําการปองกันข้ อพิพาทที่จะขยายตัวไปสูความขัดแย้ ง ้ ่ • ทําการปองกันการขยายตัวของข้ อพิพาทที่เกิดขึ ้น ทาการปองกนการขยายตวของขอพพาททเกดขน ้ ตัวอย่าง • มาตรการสร้ างความเนื ้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures-CBM) 22
  • 23. มาตรการสร้ างความไว้ เนือเชื่อใจ ้ • มาตรการสร้ างความไว้ เนื ้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures: CBMs ) เป็ นมาตรการเพื่ือสร้้ างความไว้้ เนืือเชืื่อใ ป็ ไ ้ ใจ ระหว่างรัฐ/เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ทังด้ านการเมือง ความมันคง และ ้ ่ การทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ ง และสร้ าง ความมนใจระหวางสองฝายหรอหลาย ฝ่ าย อนจะเปนการ ความมันใจระหว่างสองฝ่ ายหรื อหลาย ๆ ฝาย อันจะเป็ นการ ่ ส่งเสริ มการทูตเชิงปองกัน ทังนี ้ CBMs เป็ นกระบวนการที่สําคัญ ้ ้ ในกรอบการประชุม ARF 23
  • 24. แนวทางสู่มาตรการสร้ างความไว้ เนือเชื่อใจ ้ 1. Demonstrate a willingness to talk. 2. Demonstrate a willingness to listen. 3. Demonstrate a willingness to meet the needs of the other party party. 4. Demonstrate a willingness to improve the long- g p g term relationship with the other party. 24
  • 25. การสร้ างสันติภาพ • เป็ นมาตรการที่ใช้ การดําเนินการทางการทูต ตังแต่ความขัดแย้ ง ้ เริิ่ มต้้ นขึน โ งหวังให้้ เกิิดการหยุดยิิง (Establishing cease-fire) ึ ้ โดยมุ่ ั ใ และหันกลับไปสูการแก้ ปัญหาอย่างสันติ (Peaceful Settlement) ู่ การทําให้ เกิดสันติภาพสามารถปฏิบตได้ ตงแต่ "การแต่งตัง้ ั ิ ั้ เจาหนาท: Provision เจ้ าหน้ าที่ P i i off good officers", "การไกลเกลย: d ffi " "การไกล่เกลี่ย Mediation", "การประนีประนอม: Conciliation", "การกดดันทางการ ทูต: Diplomatic Pressure", "การโดดเดี่ยว: Isolation" และ "การ ลงโทษ: Sanctions" Sanctions 25
  • 26. การรักษาสันติภาพ • การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้ าหน้ าที่ทงฝ่ าย ั้ ทหารและพลเรืื อนในนามของสหประชาชาติิ หรืื อกลุมป ใ ป ่ ประเทศ หรืื อ องค์กรอิสระ เข้ าไปในพื ้นที่ที่มีความขัดแย้ งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง เพื่อทําหน้ าที่ดแลให้ มีการปฏิบตตามข้ อตกลง ู ัิ หยุดยง หรอความตกลงสนตภาพ หรอกระบวนการแกไขปญหาโดย หยดยิง หรื อความตกลงสันติภาพ หรื อกระบวนการแก้ ไขปั ญหาโดย วิถีทาง การเมือง 26
  • 27. การฟื ้ นฟูสันติภาพภายหลังความขัดแย้ ง • การปฏิบตการภายหลังการยุตความขัดแย้ ง โดยใช้ การ ัิ ิ ดํําเนิินการด้้ านการทูตและด้้ านเศรษฐกิิจ เป็ นเครื่ื องมืือหลัก เพื่ือ ป็ ั เสริ มสร้ างและฟื นฟูความแข็งแกร่งของโครงสร้ างพื ้นฐานในการ ้ ู ฐ บริ หารประเทศ และสถาบันที่จําเป็ นต่อการปกครองขึ ้นมาใหม่ เพื่อ หลกเลยงการกลบไปสู วามขัดแย้ งอีก หลีกเลี่ยงการกลับไปส่ความขดแยงอก 27
  • 28. แนวทางในการส่ งเสริมสันติภาพ • การธํารงรักษา ปกปอง และส่งเสริ มสันติภาพที่มีอยูแล้ วให้ มนคง และ ้ ่ ั่ ถาวรยงขน ถาวรยิ่งขึ ้น • การระงับข้ อพิพาทโดยวิธีสนติวิธีตามแนวของหลักกฎหมายระหว่าง ั ประเทศ • การเสนอให้ สหประชาชาติพิจารณาปั ญหาหรื อสถานการณ์ใด ๆ ที่ การเสนอใหสหประชาชาตพจารณาปญหาหรอสถานการณใด ท กระทบต่อสันติภาพระหว่างประเทศ • การใช้ หน่วยงานในระดับภูมิภาค หรื อกระทําความตกลงระดับภูมิภาค • การลดอาวธ การลดอาวุธ 28
  • 29. แนวทางในการลดความขัดแย้ งของไทย • มียทธศาสตร์ ชาติที่ชดเจน ุ ั • มีนโยบายการต่างประเทศที่เหมาะสมและดําเนินการอย่าง ่ ื่ ตอเนอง • เพิ่มระดับของการสร้ างมาตรการสร้ างความไว้ เนื ้อเชื่อใจ เพมระดบของการสรางมาตรการสรางความไวเนอเชอใจ • เตรี ยมขีดความสามารถรองรับกับภัยคุคามรููปแบบใหม่ ุ 29
  • 30. ความสั มพันธ์ ระหว่ างหน่ วยงานกับการกําหนดยุทธศาสตร์ 30
  • 31. Forward Engagement • การทูตเชิงรุก หมายถึง ยุทธศาสตร์ กรอบใหญ่ในนโยบายต่างประเทศ ของไทย ที่มีเปาหมายที่จะขยายกรอบความร่วมมือให้ ครอบคลมทกมิติความ ทมเปาหมายทจะขยายกรอบความรวมมอใหครอบคลุมทุกมตความ ้ ร่วมมือกับต่างประเทศ รวมทังการส่งเสริ มและกระชับความสัมพันธ์กบทุก ้ ั ประเทศทัวโ เพืื่อสันติภาพทีี่ยงยืืนและความรุ่งเรืื องทางเศรษฐกิจสํําหรับ ่ โลก ่ั ประชาคมโลก • นโยบายปฏิสมพันธ์ในเชิงรุกนี ้เป็ นแบบก้ าวไปข้ างหน้ า โดยเน้ นเชื่อม ั ความสมพนธกบอาเซยน เอเชยใต เอเชียตะวันออก” โดยใหความสาคญกบ ความสัมพันธ์กบอาเซียน เอเชียใต้ เอเชยตะวนออก โดยให้ ความสําคัญกับ ั ประเทศเพื่อนบ้ าน และเน้ นเรื่ องการสร้ างกลุมประเทศ G ใหม่ขึ ้นมา ่ เพืื่อทีี่จะมาเพิิ่มอํํานาจการต่อรองให้้ กบไ ใ ีเศรษฐกิิจโ ่ ใ ั ไทยในเวที โลก 31
  • 32.
  • 34. ไมมอนาคตในประวตศาสตร ไมมีอนาคตในประวัติศาสตร มแตประวตศาสตรเปนแนวทางของอนาคต มีแตประวัติศาสตรเปนแนวทางของอนาคต 34