SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
1
เทคโนโลยี 3G คืออะไร!!!!
3G หรือ Third Generation เปนเทคโนโลยีการ
สื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณการสื่อสารยุคที่ 3 นั้นจะเปน
อุปกรณที่ผสมผสาน การนําเสนอขอมูล และ เทคโนโลยี
ในปจจุบันเขาดวยกัน เชน PDA โทรศัพทมือถือ
Walkman, กลองถายรูป และ อินเทอรเน็ต
2
3G เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาตอเนื่องจากยุคที่ 2
และ 2.5 ซึ่งเปนยุคที่มีการใหบริการระบบเสียง และ การ
สงขอมูลในขั้นตน ทั้งยังมีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาของ
3G ทําใหเกิดการใชบริการมัลติมีเดีย และ สงผานขอมูล
ในระบบไรสายดวยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น
3
ลักษณะการทํางานของ 3G
เมื่อเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แลว
3G มีชองสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับสงขอมูล
ที่มากกวา ทําใหประสิทธิภาพในการรับสงขอมูล
แอพพลิเคชั่น รวมทั้งบริการระบบเสียงดีขึ้น พรอมทั้ง
สามารถใช บริการมัลติมีเดียไดเต็มที่ และ สมบูรณแบบ
ขึ้น เชน บริการสงแฟกซ, โทรศัพทตางประเทศ ,รับ-สง
ขอความที่มีขนาดใหญ ,ประชุมทางไกลผานหนาจอ
อุปกรณสื่อสาร, ดาวนโหลดเพลง, ชมภาพยนตรแบบ
สั้นๆ
4
เทคโนโลยี 3G นาสนใจอยางไร
จากการที่ 3G สามารถรับสงขอมูลในความเร็วสูง
ทําใหการติดตอสื่อสารเปนไปได อยางรวดเร็ว และ มี
รูปแบบใหมๆ มากขึ้น ประกอบกับอุปกรณสื่อสารไร
สายในระบบ 3G สามารถใหบริการระบบเสียง และ
แอพพลิเคชั่นรูปแบบใหม เชน จอแสดงภาพสี, เครื่องเลน
mp3, เครื่องเลนวีดีโอ การดาวนโหลดเกม, แสดงกราฟฟก
และ การแสดงแผนที่ตั้งตางๆ ทําใหการสื่อสารเปนแบบ
อินเตอรแอคทีฟ ที่สรางความสนุกสนาน และ สมจริงมาก
ขึ้น
5
ชวยใหชีวิตประจําวันสะดวกสบาย และคลองตัว
ขึ้น โดย โทรศัพทเคลื่อนที่เปรียบเสมือน คอมพิวเตอร
แบบพกพา, วิทยุสวนตัว และแมแตกลองถายรูป ผูใช
สามารถเช็คขอมูลใน account สวนตัว เพื่อใชบริการตางๆ
ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน self-care (ตรวจสอบคาใช
บริการ), แกไขขอมูลสวนตัว และ ใชบริการขอมูลตางๆ
เชน ขาวเกาะติดสถานการณ, ขาวบันเทิง, ขอมูลดาน
การเงิน, ขอมูลการทองเที่ยว และ ตารางนัดหมายสวนตัว
“Always On”
6
คุณสมบัติหลักของ 3G คือ มีการเชื่อมตอกับ
ระบบเครือขายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปด
เครื่องโทรศัพท (always on) นั่นคือไมจําเปนตองตอ
โทรศัพทเขาเครือขาย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใชบริการ
รับสงขอมูล ซึ่งการเสียคาบริการแบบนี้ จะเกิดขึ้นเมื่อมี
การเรียกใชขอมูลผานเครือขายเทานั้น โดยจะตางจาก
ระบบทั่วไป ที่จะเสียคาบริการตั้งแตเราล็อกอินเขาใน
ระบบเครือขาย
7
อุปกรณสื่อสารไรสายระบบ 3G
สําหรับ 3G อุปกรณสื่อสารไมไดจํากัดอยูเพียงแค
โทรศัพทเทานั้น แตยังปรากฏในรูปแบบของอุปกรณ
สื่อสารอื่น เชน Palmtop, Personal Digital Assistant
(PDA), Laptop และ PC
8
เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในอนาคต
ไมโครคอมพิวเตอรมีพัฒนาการ มาจากการ
ทดลองของนักอิเล็กทรอนิกสสมัครเลน ในยุคศตวรรษที่
1970 ไมโครคอมพิวเตอรมีขีดความสามารถที่จํากัด แตก็
ทาทายความสามารถ มีการประกอบเปนคิตใหนักพัฒนา
นําไปสรางเอง เชน ไมโครคอมพิวเตอรยี่หอ MITS และ
IMSAI เปนตน
9
รูปแบบของไมโครคอมพิวเตอรเริ่มเดนชัดปลาย
ศตวรรษที่ 1970 เมื่อบริษัท แอปเปลคอมพิวเตอร ผลิต
แอปเปลทู โดยมีเปาหมายเปนเครื่องคอมพิวเตอรสวน
บุคคล และหลังจากนั้นในศตวรรษ 1980 ไอบีเอ็มก็เปด
ศักราชของการใชคอมพิวเตอร สวนบุคคล โดยเฉพาะมี
โปรแกรมสําเร็จรูปออกมามากมายใหเลือกใชงาน
ครั้นถึงยุคศตวรรษ 1990 พีซีมีบทบาทที่สําคัญยิ่ง
ตอชีวิตประจําวัน ขณะเดียวกันพัฒนาการทางพีซีทําใหขีด
ความสามารถเชิงการคํานวณสูงขึ้น มีการใชซีพียูที่เปน
ไมโครโปรเซสเซอรในอุปกรณและงานอื่น ๆ มากมาย
เมื่อพีซีมีขนาดจากที่วางอยูบนโตะ ลดขนาดลงมาวางอยูที่
10
ตัก (แลบท็อป) และเล็กจนมีน้ําหนักเบาขนาดเทากับ
กระดาษ A4 ที่มีความหนาประมาณหนึ่งนิ้ว เรียกวาโนต
บุค และสับโนตบุค จนในที่สุดมีขนาดเล็กเปนปาลมท็อป
และใสกระเปาไดเรียกวา พ็อกเก็ตคอมพิวเตอร
การใชคอมพิวเตอรพีซี ยังตองมีการพัฒนา
เทคโนโลยีทางดานเครือขาย เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงการ
ทํางาน การสรางเครือขายแลนที่ตองการอุปกรณสวิตชและ
11
เราเตอร เพื่อใหขอมูลขาวสารเดินทางไปถึงเปาหมายได
ถูกตองและรวดเร็ว หลังจาก ป 1990 เปนตนมา พัฒนาการ
ทางดานอุปกรณเชื่อมโยงและเครือขายเปนไปอยางรวดเร็ว
ขีดความสามารถในเรื่องการขนสงขอมูลจํานวนมาก และ
การคัดแยก หรือสวิตชขอมูลเพิ่มความเร็วอยางตอเนื่อง
พัฒนาการทางดาน เทคโนโลยีพอที่จะเขียนเปน
ไดอะแกรมไดดังรูป
พัฒนาการทางเทคโนโลยี
เครือขายคอมพิวเตอรมีรากฐานที่สําคัญมาจากเครือขาย IP พัฒนาการทุกอยางใน
ขณะนี้จึงใหความสําคัญที่จะวิ่งอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ตนี้ แมแตเครือขายไรสาย
อยางเชนโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีรากฐานมาจากโทรศัพทเดิม
12
ความเปนมาของโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร
อเล็กซานเดอรเกร แฮม เบล เปนผูวางรากฐาน
ระบบโทรศัพทไวตั้งแตป พ.ศ. 2419 หรือประมาณรอยป
เศษแลว โทรศัพทมีพัฒนาการคอนขางชา เริ่มจากการ
สวิตชดวยคน มาเปนการใชระบบสวิตชแบบอัตโนมัติ
ดวยกลไกทางแมเหล็กไฟฟาจําพวกรีเลย จนในที่สุดเปน
ระบบครอสบาร
ครั้นเขาสูยุค ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกสและ
คอมพิวเตอร ระบบโทรศัพทที่ใชไดเปลี่ยนแปลงวิธีการ
สวิตชมาเปนแบบดิจิตอล มีการแปลงสัญญาณเสียงใหเปน
13
ดิจิตอล โดยแถบเสียงขนาด 4 กิโลเฮิรทซตอวินาที ใช
อัตราสุม 8,000 ครั้งตอวินาที ไดสัญญาณดิจิตอลขนาด 64
กิโลบิตตอวินาที แถบเสียงแบบดิจิตอลจึงเปนขอมูลที่มี
การรับสงกันมากที่สุดในโลกอยูขณะนี้
จนประมาณป 1983 ระบบเซลลูลารเริ่มพัฒนาขึ้น
ใชงาน ระบบแรกที่พัฒนามาใชงานเรียกวา ระบบ AMPS
(Analog Advance Mobile Phone Service) ระบบดังกลาว
สงสัญญาณไรสายแบบอะนาล็อก โดยใชคลื่นความถี่ที่
824-894 เมกะเฮิรทซ โดยใชหลักการแบงชองทางความถี่
หรือที่เรียกวา FDMA - Frequency Division Multiple
Access
14
ตอมาประมาณป 1990 กลุมผูพัฒนาระบบ
เซลลูลารไดพัฒนามาตรฐานใหมโดยใหชื่อวา ระบบ
GSM-Global System for Mobile Communication โดย
เนนระบบเชื่อมโยงติดตอกันไดทั่วโลก ระบบดังกลาวนี้
ใชวิธีการเขาถึงชองสัญญาณดวยระบบ TDMA-Time
Division Multiple Access โดยใชความถี่ในการติดตอกับ
สถานีเบสที่ 890-960 เมกะเฮิรทซ
15
สําหรับในสหรัฐอเมริกาเองก็มีการพัฒนาระบบ
ของตนขึ้นมาใชในป 1991 โดยใหชื่อวา IS - 54 - Interim
Standard - 54 ระบบดังกลาวใชวิธีการเขาสูชองสัญญาณ
ดวยระบบ TDMA เชนกัน แตใชชวงความถี่ 824-894
เมกะเฮิรทซ และในป 1993 ก็ไดพัฒนาตอเปนระบบ IS-
95 โดยใชระบบ CDMA ที่มีชองความถี่มากขึ้นคือ 824-
894 และ 1,850-1,980 เมกะเฮิรทซ ซึ่งเปนระบบที่ใช
รวมกับระบบ AMPS เดิมได
16
พัฒนาการของโทรศัพทแบบเซลลูลารแบงออกเปนยุค
ตามรูปของการพัฒนาเทคโนโลยีไดดังนี้
ยุค 1G เปนยุคแรกของการพัฒนาระบบโทรศัพท
แบบเซลลูลาร การรับสงสัญญาณใชวิธีการมอดูเลต
สัญญาณอะนาล็อกเขาชองสื่อสารโดยใชการแบงความถี่
ออกมาเปนชองเล็ก ๆ ดวยวิธีการนี้มีขอจํากัดในเรื่อง
จํานวนชองสัญญาณ และการใชไมเต็มประสิทธิภาพ จึง
ติดขัดเรื่องการขยายจํานวนเลขหมาย และการขยายแถบ
ความถี่ ประจวบกับระบบเครื่องรับสงสัญญาณวิทยุ
กําหนดขนาดของเซล และความแรงของสัญญาณเพื่อให
เขาถึงสถานีเบสได ตัวเครื่องโทรศัพทเซลลูลารยังมีขนาด
ใหญ ใชกําลังงานไฟฟามาก ในภายหลังจึงเปลี่ยนมาเปน
ระบบดิจิตอล และการเขาชองสัญญาณแบบแบงเวลา
โทรศัพทเคลื่อนที่แบบ 1G จึงใชเฉพาะในยุคแรกเทานั้น
17
ยุค2G เปนยุคที่พัฒนาตอมา โดยการเขารหัส
สัญญาณเสียง โดยบีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิตอล
ใหมีขนาดจํานวนขอมูลนอยลงเหลือเพียงประมาณ 9
กิโลบิตตอวินาที ตอชองสัญญาณ การติดตอจากสถานีลูก
หรือตัวโทรศัพทเคลื่อนที่กับสถานีเบส ใชวิธีการสอง
แบบคือ TDMA คือการแบงชองเวลาออกเปนชองเล็ก ๆ
และแบงกันใช ทําใหใชชองสัญญาณความถี่วิทยุได
เพิ่มขึ้นจากเดิมอีกมาก กับอีกแบบหนึ่งเปนการแบงการ
เขาถึงตามการเขารหัส และการถอดรหัสโดยใส
แอดเดรสหมือน IP เราเรียกวิธีการนี้วา CDMA - Code
Division Multiple Access ในยุค 2G จึงเปนการรับสง
สัญญาณโทรศัพทแบบดิจิตอลหมดแลว
18
ยุค 3G เปนยุคแหงอนาคตอันใกล โดยสราง
ระบบใหมใหรองรับระบบเกาได และเรียกวา Universal
Mobile Telecommunication Systems (UMTS) โดย
มุงหวังวา การเขาถึงเครือขายแบบไรสาย สามารถกระทํา
ไดดวยอุปกรณหลากหลาย เชน จากคอมพิวเตอร จาก
เครื่องใชไฟฟาอื่น ระบบยังคงใชการเขาชองสัญญาณเปน
แบบ CDMA ซึ่งสามารถบรรจุชองสัญญาณเสียงได
มากกวา แตใชแบบแถบกวาง (wideband) ในระบบนี้จึง
เรียกอีกอยางหนึ่งวา WCDMA
19
นอกจากนี้ยังมีกลุมบริษัทบางบริษัทแยกการ
พัฒนาในรุน 3G เปนแบบ CDMA เชนกัน แตเรียกวา
CDMA2000 กลุมบริษัทนี้พัฒนารากฐานมาจาก IS95 ซึ่ง
ใชในสหรัฐอเมริกา และยังขยายรูปแบบเปนการรับสงใน
ชองสัญญาณที่ไดอัตราการรับสงสูง (HDR-High Data
Rate) การพัฒนาในยุคที่สามนี้ยังตองการความเกี่ยวโยง
กับการใชงานรวมในเทคโนโลยีเกาอีกดวย โดยเฉพาะใน
สหรัฐอเมริกาที่ยังคงใหใชงานไดทั้งแบบ 1G และ 2G
20
โดยเรียกรูปแบบใหมเพื่อการสงเปนแพ็กเก็ตวา GPRS-
General Packet Radio Service ซึ่งสงดวยอัตราความเร็ว
ตั้งแต 9.06, 13.4, 15.6 และ 21.4 กิโลบิตตอวินาที โดยใน
การพัฒนาตอจาก GPRS ใหเปนระบบ 3G เรียกระบบ
ใหมวา EDGE-Enhanced Data Rate for GSM Evolution
ในยุค 3G นี้ เนนการรับสงแบบแพ็กเก็ต และตอง
ขยายความเร็วของการรับสงใหสูงขึ้น โดยสามารถสงรับ
ดวยความเร็วขอมูล 384 กิโลบิตตอวินาที เมื่อผูใชกําลัง
เคลื่อนที่ และหากอยูกับที่จะสงรับไดดวยอัตราความเร็ว
ถึง 2 เมกะบิตตอวินาที
21
แสดงการพัฒนาของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่
ระบบ ปที่เริ่ม โปรโตคอลเขา
ชองสัญญาณ
ความถี่ การบริการ
AMPS 1983 FDMA 824-894 เสียง, ขอมูลผาน
โมเด็ม
GSM 1990 TDMA/FDMA 890-960 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง
IS54 1991 TDMA/FDMA 824-894 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง
IS95 1993 CDMA 824-894
1850-1980
เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง
DCS1900 1994 TDMA/FDMA 1840-1990 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง
WCMA
(CDMA2000)
IMT2000
หลังป
2000
WCDMA 1885-2025
2100-2200
มัลติมีเดีย, วิดีโอ,
เสียง, ขอมูล
22
ปญหาสําคัญของระบบไรสาย
การที่พัฒนาการของการสื่อสารไรสายและระบบ
ติดตามตัวยังไปไดไมทันใจ ทั้งนี้เพราะมีอุปสรรคและ
ปญหาที่สําคัญ ซึ่งเปนปญหาหลักสี่ประการคือ
1. ระบบไรสายใชอัตราการรับสงขอมูลไดต่ํา
2. คาบริการคอนขางแพง
3. โมเด็มรับสงแบบคลื่นวิทยุ ใชกําลังงานไฟฟาสูง
23
4. ระบบยูสเซอรอินเตอรเฟสที่ใชกับระบบติดตามตัว
ยังไมดี ไมเหมาะกับการใชงานขณะเคลื่อนที่
ปญหาเหลานี้เปนปญหาที่ระบบไรสายในยุค 3G
ตองแกไขใหไดใหหมด โดยเฉพาะระบบ
โทรศัพทเคลื่อนที่ที่ตองเพิ่มอัตราการรับสงขอมูล
ใหไดมาก เพื่อจะสงรูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหว
ได ตองมีอัตราคาใชบริการที่ถูกลง และเครื่องที่ใช
ตองใชกําลังงานต่ําเพื่อจะใชไดนาน สวนระบบ
การเชื่อมตอในปจจุบันก็กาวมาในรูปแบบ WAP -
Wireless Application Protocol หรือที่เรียก ยอ ๆ
วา WAP
24
รูปแบบของการเอาชนะปญหาสี่ขอเปนเรื่องที่ทาทายและ
จะตองทําใหได ระบบ 3G ที่กําลังจะเกิดขึ้นในเร็ววันนี้ได
ตั้งเปาหมายไวเรียบรอยแลว

Contenu connexe

Tendances

พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)Worawut Thongchan
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mo Taengmo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์wutichai koedklang
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Guide Krittika
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Guide Krittika
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 

Tendances (17)

คอม
คอมคอม
คอม
 
6
66
6
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 

En vedette

En vedette (6)

Oriente patrimonios de-la_humanidad
Oriente patrimonios de-la_humanidadOriente patrimonios de-la_humanidad
Oriente patrimonios de-la_humanidad
 
4 g
4 g        4 g
4 g
 
Kamu Lodge in Top 5 Camping Grounds, Vietnam Traveller Magazine
Kamu Lodge in Top 5 Camping Grounds, Vietnam Traveller MagazineKamu Lodge in Top 5 Camping Grounds, Vietnam Traveller Magazine
Kamu Lodge in Top 5 Camping Grounds, Vietnam Traveller Magazine
 
All About Laos
All About LaosAll About Laos
All About Laos
 
Laos
LaosLaos
Laos
 
Laos Presentation
Laos PresentationLaos Presentation
Laos Presentation
 

Similaire à 3 g

ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3jeabjeabloei
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Aqilla Madaka
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายThanapong Wasanasati
 

Similaire à 3 g (20)

ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานไทย
งานไทย งานไทย
งานไทย
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
4 g
4 g4 g
4 g
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
7
77
7
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่าย
 

3 g

  • 1. 1 เทคโนโลยี 3G คืออะไร!!!! 3G หรือ Third Generation เปนเทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณการสื่อสารยุคที่ 3 นั้นจะเปน อุปกรณที่ผสมผสาน การนําเสนอขอมูล และ เทคโนโลยี ในปจจุบันเขาดวยกัน เชน PDA โทรศัพทมือถือ Walkman, กลองถายรูป และ อินเทอรเน็ต
  • 2. 2 3G เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาตอเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเปนยุคที่มีการใหบริการระบบเสียง และ การ สงขอมูลในขั้นตน ทั้งยังมีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาของ 3G ทําใหเกิดการใชบริการมัลติมีเดีย และ สงผานขอมูล ในระบบไรสายดวยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น
  • 3. 3 ลักษณะการทํางานของ 3G เมื่อเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แลว 3G มีชองสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับสงขอมูล ที่มากกวา ทําใหประสิทธิภาพในการรับสงขอมูล แอพพลิเคชั่น รวมทั้งบริการระบบเสียงดีขึ้น พรอมทั้ง สามารถใช บริการมัลติมีเดียไดเต็มที่ และ สมบูรณแบบ ขึ้น เชน บริการสงแฟกซ, โทรศัพทตางประเทศ ,รับ-สง ขอความที่มีขนาดใหญ ,ประชุมทางไกลผานหนาจอ อุปกรณสื่อสาร, ดาวนโหลดเพลง, ชมภาพยนตรแบบ สั้นๆ
  • 4. 4 เทคโนโลยี 3G นาสนใจอยางไร จากการที่ 3G สามารถรับสงขอมูลในความเร็วสูง ทําใหการติดตอสื่อสารเปนไปได อยางรวดเร็ว และ มี รูปแบบใหมๆ มากขึ้น ประกอบกับอุปกรณสื่อสารไร สายในระบบ 3G สามารถใหบริการระบบเสียง และ แอพพลิเคชั่นรูปแบบใหม เชน จอแสดงภาพสี, เครื่องเลน mp3, เครื่องเลนวีดีโอ การดาวนโหลดเกม, แสดงกราฟฟก และ การแสดงแผนที่ตั้งตางๆ ทําใหการสื่อสารเปนแบบ อินเตอรแอคทีฟ ที่สรางความสนุกสนาน และ สมจริงมาก ขึ้น
  • 5. 5 ชวยใหชีวิตประจําวันสะดวกสบาย และคลองตัว ขึ้น โดย โทรศัพทเคลื่อนที่เปรียบเสมือน คอมพิวเตอร แบบพกพา, วิทยุสวนตัว และแมแตกลองถายรูป ผูใช สามารถเช็คขอมูลใน account สวนตัว เพื่อใชบริการตางๆ ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน self-care (ตรวจสอบคาใช บริการ), แกไขขอมูลสวนตัว และ ใชบริการขอมูลตางๆ เชน ขาวเกาะติดสถานการณ, ขาวบันเทิง, ขอมูลดาน การเงิน, ขอมูลการทองเที่ยว และ ตารางนัดหมายสวนตัว “Always On”
  • 6. 6 คุณสมบัติหลักของ 3G คือ มีการเชื่อมตอกับ ระบบเครือขายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปด เครื่องโทรศัพท (always on) นั่นคือไมจําเปนตองตอ โทรศัพทเขาเครือขาย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใชบริการ รับสงขอมูล ซึ่งการเสียคาบริการแบบนี้ จะเกิดขึ้นเมื่อมี การเรียกใชขอมูลผานเครือขายเทานั้น โดยจะตางจาก ระบบทั่วไป ที่จะเสียคาบริการตั้งแตเราล็อกอินเขาใน ระบบเครือขาย
  • 7. 7 อุปกรณสื่อสารไรสายระบบ 3G สําหรับ 3G อุปกรณสื่อสารไมไดจํากัดอยูเพียงแค โทรศัพทเทานั้น แตยังปรากฏในรูปแบบของอุปกรณ สื่อสารอื่น เชน Palmtop, Personal Digital Assistant (PDA), Laptop และ PC
  • 8. 8 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในอนาคต ไมโครคอมพิวเตอรมีพัฒนาการ มาจากการ ทดลองของนักอิเล็กทรอนิกสสมัครเลน ในยุคศตวรรษที่ 1970 ไมโครคอมพิวเตอรมีขีดความสามารถที่จํากัด แตก็ ทาทายความสามารถ มีการประกอบเปนคิตใหนักพัฒนา นําไปสรางเอง เชน ไมโครคอมพิวเตอรยี่หอ MITS และ IMSAI เปนตน
  • 9. 9 รูปแบบของไมโครคอมพิวเตอรเริ่มเดนชัดปลาย ศตวรรษที่ 1970 เมื่อบริษัท แอปเปลคอมพิวเตอร ผลิต แอปเปลทู โดยมีเปาหมายเปนเครื่องคอมพิวเตอรสวน บุคคล และหลังจากนั้นในศตวรรษ 1980 ไอบีเอ็มก็เปด ศักราชของการใชคอมพิวเตอร สวนบุคคล โดยเฉพาะมี โปรแกรมสําเร็จรูปออกมามากมายใหเลือกใชงาน ครั้นถึงยุคศตวรรษ 1990 พีซีมีบทบาทที่สําคัญยิ่ง ตอชีวิตประจําวัน ขณะเดียวกันพัฒนาการทางพีซีทําใหขีด ความสามารถเชิงการคํานวณสูงขึ้น มีการใชซีพียูที่เปน ไมโครโปรเซสเซอรในอุปกรณและงานอื่น ๆ มากมาย เมื่อพีซีมีขนาดจากที่วางอยูบนโตะ ลดขนาดลงมาวางอยูที่
  • 10. 10 ตัก (แลบท็อป) และเล็กจนมีน้ําหนักเบาขนาดเทากับ กระดาษ A4 ที่มีความหนาประมาณหนึ่งนิ้ว เรียกวาโนต บุค และสับโนตบุค จนในที่สุดมีขนาดเล็กเปนปาลมท็อป และใสกระเปาไดเรียกวา พ็อกเก็ตคอมพิวเตอร การใชคอมพิวเตอรพีซี ยังตองมีการพัฒนา เทคโนโลยีทางดานเครือขาย เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงการ ทํางาน การสรางเครือขายแลนที่ตองการอุปกรณสวิตชและ
  • 11. 11 เราเตอร เพื่อใหขอมูลขาวสารเดินทางไปถึงเปาหมายได ถูกตองและรวดเร็ว หลังจาก ป 1990 เปนตนมา พัฒนาการ ทางดานอุปกรณเชื่อมโยงและเครือขายเปนไปอยางรวดเร็ว ขีดความสามารถในเรื่องการขนสงขอมูลจํานวนมาก และ การคัดแยก หรือสวิตชขอมูลเพิ่มความเร็วอยางตอเนื่อง พัฒนาการทางดาน เทคโนโลยีพอที่จะเขียนเปน ไดอะแกรมไดดังรูป พัฒนาการทางเทคโนโลยี เครือขายคอมพิวเตอรมีรากฐานที่สําคัญมาจากเครือขาย IP พัฒนาการทุกอยางใน ขณะนี้จึงใหความสําคัญที่จะวิ่งอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ตนี้ แมแตเครือขายไรสาย อยางเชนโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีรากฐานมาจากโทรศัพทเดิม
  • 12. 12 ความเปนมาของโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร อเล็กซานเดอรเกร แฮม เบล เปนผูวางรากฐาน ระบบโทรศัพทไวตั้งแตป พ.ศ. 2419 หรือประมาณรอยป เศษแลว โทรศัพทมีพัฒนาการคอนขางชา เริ่มจากการ สวิตชดวยคน มาเปนการใชระบบสวิตชแบบอัตโนมัติ ดวยกลไกทางแมเหล็กไฟฟาจําพวกรีเลย จนในที่สุดเปน ระบบครอสบาร ครั้นเขาสูยุค ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอร ระบบโทรศัพทที่ใชไดเปลี่ยนแปลงวิธีการ สวิตชมาเปนแบบดิจิตอล มีการแปลงสัญญาณเสียงใหเปน
  • 13. 13 ดิจิตอล โดยแถบเสียงขนาด 4 กิโลเฮิรทซตอวินาที ใช อัตราสุม 8,000 ครั้งตอวินาที ไดสัญญาณดิจิตอลขนาด 64 กิโลบิตตอวินาที แถบเสียงแบบดิจิตอลจึงเปนขอมูลที่มี การรับสงกันมากที่สุดในโลกอยูขณะนี้ จนประมาณป 1983 ระบบเซลลูลารเริ่มพัฒนาขึ้น ใชงาน ระบบแรกที่พัฒนามาใชงานเรียกวา ระบบ AMPS (Analog Advance Mobile Phone Service) ระบบดังกลาว สงสัญญาณไรสายแบบอะนาล็อก โดยใชคลื่นความถี่ที่ 824-894 เมกะเฮิรทซ โดยใชหลักการแบงชองทางความถี่ หรือที่เรียกวา FDMA - Frequency Division Multiple Access
  • 14. 14 ตอมาประมาณป 1990 กลุมผูพัฒนาระบบ เซลลูลารไดพัฒนามาตรฐานใหมโดยใหชื่อวา ระบบ GSM-Global System for Mobile Communication โดย เนนระบบเชื่อมโยงติดตอกันไดทั่วโลก ระบบดังกลาวนี้ ใชวิธีการเขาถึงชองสัญญาณดวยระบบ TDMA-Time Division Multiple Access โดยใชความถี่ในการติดตอกับ สถานีเบสที่ 890-960 เมกะเฮิรทซ
  • 15. 15 สําหรับในสหรัฐอเมริกาเองก็มีการพัฒนาระบบ ของตนขึ้นมาใชในป 1991 โดยใหชื่อวา IS - 54 - Interim Standard - 54 ระบบดังกลาวใชวิธีการเขาสูชองสัญญาณ ดวยระบบ TDMA เชนกัน แตใชชวงความถี่ 824-894 เมกะเฮิรทซ และในป 1993 ก็ไดพัฒนาตอเปนระบบ IS- 95 โดยใชระบบ CDMA ที่มีชองความถี่มากขึ้นคือ 824- 894 และ 1,850-1,980 เมกะเฮิรทซ ซึ่งเปนระบบที่ใช รวมกับระบบ AMPS เดิมได
  • 16. 16 พัฒนาการของโทรศัพทแบบเซลลูลารแบงออกเปนยุค ตามรูปของการพัฒนาเทคโนโลยีไดดังนี้ ยุค 1G เปนยุคแรกของการพัฒนาระบบโทรศัพท แบบเซลลูลาร การรับสงสัญญาณใชวิธีการมอดูเลต สัญญาณอะนาล็อกเขาชองสื่อสารโดยใชการแบงความถี่ ออกมาเปนชองเล็ก ๆ ดวยวิธีการนี้มีขอจํากัดในเรื่อง จํานวนชองสัญญาณ และการใชไมเต็มประสิทธิภาพ จึง ติดขัดเรื่องการขยายจํานวนเลขหมาย และการขยายแถบ ความถี่ ประจวบกับระบบเครื่องรับสงสัญญาณวิทยุ กําหนดขนาดของเซล และความแรงของสัญญาณเพื่อให เขาถึงสถานีเบสได ตัวเครื่องโทรศัพทเซลลูลารยังมีขนาด ใหญ ใชกําลังงานไฟฟามาก ในภายหลังจึงเปลี่ยนมาเปน ระบบดิจิตอล และการเขาชองสัญญาณแบบแบงเวลา โทรศัพทเคลื่อนที่แบบ 1G จึงใชเฉพาะในยุคแรกเทานั้น
  • 17. 17 ยุค2G เปนยุคที่พัฒนาตอมา โดยการเขารหัส สัญญาณเสียง โดยบีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิตอล ใหมีขนาดจํานวนขอมูลนอยลงเหลือเพียงประมาณ 9 กิโลบิตตอวินาที ตอชองสัญญาณ การติดตอจากสถานีลูก หรือตัวโทรศัพทเคลื่อนที่กับสถานีเบส ใชวิธีการสอง แบบคือ TDMA คือการแบงชองเวลาออกเปนชองเล็ก ๆ และแบงกันใช ทําใหใชชองสัญญาณความถี่วิทยุได เพิ่มขึ้นจากเดิมอีกมาก กับอีกแบบหนึ่งเปนการแบงการ เขาถึงตามการเขารหัส และการถอดรหัสโดยใส แอดเดรสหมือน IP เราเรียกวิธีการนี้วา CDMA - Code Division Multiple Access ในยุค 2G จึงเปนการรับสง สัญญาณโทรศัพทแบบดิจิตอลหมดแลว
  • 18. 18 ยุค 3G เปนยุคแหงอนาคตอันใกล โดยสราง ระบบใหมใหรองรับระบบเกาได และเรียกวา Universal Mobile Telecommunication Systems (UMTS) โดย มุงหวังวา การเขาถึงเครือขายแบบไรสาย สามารถกระทํา ไดดวยอุปกรณหลากหลาย เชน จากคอมพิวเตอร จาก เครื่องใชไฟฟาอื่น ระบบยังคงใชการเขาชองสัญญาณเปน แบบ CDMA ซึ่งสามารถบรรจุชองสัญญาณเสียงได มากกวา แตใชแบบแถบกวาง (wideband) ในระบบนี้จึง เรียกอีกอยางหนึ่งวา WCDMA
  • 19. 19 นอกจากนี้ยังมีกลุมบริษัทบางบริษัทแยกการ พัฒนาในรุน 3G เปนแบบ CDMA เชนกัน แตเรียกวา CDMA2000 กลุมบริษัทนี้พัฒนารากฐานมาจาก IS95 ซึ่ง ใชในสหรัฐอเมริกา และยังขยายรูปแบบเปนการรับสงใน ชองสัญญาณที่ไดอัตราการรับสงสูง (HDR-High Data Rate) การพัฒนาในยุคที่สามนี้ยังตองการความเกี่ยวโยง กับการใชงานรวมในเทคโนโลยีเกาอีกดวย โดยเฉพาะใน สหรัฐอเมริกาที่ยังคงใหใชงานไดทั้งแบบ 1G และ 2G
  • 20. 20 โดยเรียกรูปแบบใหมเพื่อการสงเปนแพ็กเก็ตวา GPRS- General Packet Radio Service ซึ่งสงดวยอัตราความเร็ว ตั้งแต 9.06, 13.4, 15.6 และ 21.4 กิโลบิตตอวินาที โดยใน การพัฒนาตอจาก GPRS ใหเปนระบบ 3G เรียกระบบ ใหมวา EDGE-Enhanced Data Rate for GSM Evolution ในยุค 3G นี้ เนนการรับสงแบบแพ็กเก็ต และตอง ขยายความเร็วของการรับสงใหสูงขึ้น โดยสามารถสงรับ ดวยความเร็วขอมูล 384 กิโลบิตตอวินาที เมื่อผูใชกําลัง เคลื่อนที่ และหากอยูกับที่จะสงรับไดดวยอัตราความเร็ว ถึง 2 เมกะบิตตอวินาที
  • 21. 21 แสดงการพัฒนาของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ ปที่เริ่ม โปรโตคอลเขา ชองสัญญาณ ความถี่ การบริการ AMPS 1983 FDMA 824-894 เสียง, ขอมูลผาน โมเด็ม GSM 1990 TDMA/FDMA 890-960 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง IS54 1991 TDMA/FDMA 824-894 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง IS95 1993 CDMA 824-894 1850-1980 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง DCS1900 1994 TDMA/FDMA 1840-1990 เสียง, ขอมูล, เพ็จจิ้ง WCMA (CDMA2000) IMT2000 หลังป 2000 WCDMA 1885-2025 2100-2200 มัลติมีเดีย, วิดีโอ, เสียง, ขอมูล
  • 22. 22 ปญหาสําคัญของระบบไรสาย การที่พัฒนาการของการสื่อสารไรสายและระบบ ติดตามตัวยังไปไดไมทันใจ ทั้งนี้เพราะมีอุปสรรคและ ปญหาที่สําคัญ ซึ่งเปนปญหาหลักสี่ประการคือ 1. ระบบไรสายใชอัตราการรับสงขอมูลไดต่ํา 2. คาบริการคอนขางแพง 3. โมเด็มรับสงแบบคลื่นวิทยุ ใชกําลังงานไฟฟาสูง
  • 23. 23 4. ระบบยูสเซอรอินเตอรเฟสที่ใชกับระบบติดตามตัว ยังไมดี ไมเหมาะกับการใชงานขณะเคลื่อนที่ ปญหาเหลานี้เปนปญหาที่ระบบไรสายในยุค 3G ตองแกไขใหไดใหหมด โดยเฉพาะระบบ โทรศัพทเคลื่อนที่ที่ตองเพิ่มอัตราการรับสงขอมูล ใหไดมาก เพื่อจะสงรูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหว ได ตองมีอัตราคาใชบริการที่ถูกลง และเครื่องที่ใช ตองใชกําลังงานต่ําเพื่อจะใชไดนาน สวนระบบ การเชื่อมตอในปจจุบันก็กาวมาในรูปแบบ WAP - Wireless Application Protocol หรือที่เรียก ยอ ๆ วา WAP
  • 24. 24 รูปแบบของการเอาชนะปญหาสี่ขอเปนเรื่องที่ทาทายและ จะตองทําใหได ระบบ 3G ที่กําลังจะเกิดขึ้นในเร็ววันนี้ได ตั้งเปาหมายไวเรียบรอยแลว