SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  39
บทที่ 5
การวิเคราะห์อัลกอ
ริทึม
(Algorithm
Analysis)
• การวิเคราะห์อัลกอริทึม มีเป้าหมายเพื่อหา
ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม นั่นคือการประมาณ
ค่าทรัพยากรที่จำาเป็นต้องใช้ในการทำางาน เช่น
เวลา หรือ หน่วยความจำา อัลกอริทึมส่วนใหญ่ถูก
ออกแบบมาเพื่อให้สามารถรองรับจำานวนอินพุท
ได้ไม่จำากัด ปกติแล้วประสิทธิภาพ หรือความซับ
ซ้อนของอัลกอริทึมจะวัดจากความสัมพันธ์ของ
จำานวนอินพุทกับเวลาที่ใช้ในการทำางาน หรือ
พื้นที่หน่วยความจำาที่ใช้ (ในระยะหลังเรื่องของ
พื้นที่ไม่ถูกพิจารณามากนักเนื่องจากความ
ก้าวหน้าในการพัฒนาหน่วยความจำา)
• การออกแบบอัลกอริทึมเพื่อแก้ปัญหาใด ๆ
Asymptotic notationAsymptotic notation
เครื่องหมายที่ใช้อธิบายการเติบโตของฟัง
ก์ชั่น โดยในการวิเคราะห์อัลกอริทึมจะนำา
เครื่องหมายนี้มาใช้ในการระบุ
ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม มีหลาย
สัญลักษณ์ ดังนี้
Big-O NotationBig-O Notation
• เครื่องหมาย บิ๊ก-โอ ใช้ในการระบุ
ทรัพยากรที่ใช้ในการทำางานของอัลกอริ
ทึมเมื่อขนาดของอินพุทเปลี่ยนไป
• ปกติแล้วทรัพยากรดังกล่าวจะหมายถึง
เวลา นั่นคือ ความสัมพันธ์ระหว่าง เวลา
กับ ขนาดของอินพุท
• อาจกล่าวง่าย ๆ ว่า หากอินพุทมีขนาดใด
ขนาดหนึ่ง เวลาที่ใช้ในการทำางานมาก
ที่สุด (upper bound) จะเป็นเท่าใด บิ๊ก-
โอ เป็นฟังก์ชั่นที่นิยมใช้มากที่สุดในการ
• ตัวอย่าง
• ความหมายของ O(n) คือ ฟังก์ชั่นนั้น ๆ ใช้
เวลาทำางานช้าที่สุด ≤ n
• เช่น อัลกอริทึม a1 มีประสิทธิภาพเป็น O(n2
)
ถ้า n = 10 แล้ว a1 จะใช้เวลาทำางานช้าที่สุด
100 หน่วยเวลา (รับประกันว่าไม่ช้าไปกว่านี้ -
แต่อาจจะเร็วกว่านี้ได้)
• เขียนได้ว่า f(n) є O(g(n)) เพื่อบอกว่า f(n) เป็น
ฟังก์ชันที่ไม่โตเร็วกว่า g(n)
•
Big-O NotationBig-O Notation
f(n) є O(g(n))
f(n) ≤(g(n))
Big-O NotationBig-O Notation
Big-O NotationBig-O Notation
โอเมก้าใหญ่ (Big-Omega
notation : Ω)
• โอเมก้าใหญ่ จะใช้สำาหรับบอกถึงเวลาที่ใช้
น้อยที่สุด(lower bound) เมื่ออัลกอริทึมนั้น
ๆ ทำางานกับอินพุทขนาดใดขนาดหนึ่ง
• ตัวอย่าง
• ความหมายของ Ω(n) คือ ฟังก์ชั่นนั้น ๆ ใช้
เวลาทำางานเร็วที่สุด ≥ n
• เช่น อัลกอริทึม a1 มีประสิทธิภาพเป็น Ω(n)
ถ้า n = 10 แล้ว a1 จะใช้เวลาทำางานเร็ว
ที่สุด 10 หน่วยเวลา (รับประกันว่าไม่เร็วไป
กว่านี้ - แต่อาจจะช้ากว่านี้ได้)
• เขียนได้ว่า f(n) є Ω(g(n)) เพื่อบอกว่า f(n)
เป็นฟังก์ชันที่ไม่โตไม่ช้ากว่า g(n)
• เราสามารถหาค่าคงตัวบวก C ที่ Cg(n) ≤
f(n)
โอเมก้าใหญ่ (Big-Omega
notation : Ω)
f(n) є Ω(g(n))
Cg(n) ≤ f(n)
โอเมก้าใหญ่ (Big-Omega
notation : Ω)
เตต้าใหญ่ (Big-Teta notation :
Ө)
• f(n) = Ө(g(n)) ก็ต่อเมื่อ f(n) = O(g(n)) และ
f(n) = Ω(g(n))
• นั่นคือขอบบนและขอบล่างเป็นฟังก์ชั่นเดียวกัน
เตต้าใหญ่ (Big-Teta notation :
Ө)
f(n) є Ө(g(n))
C1g(n) ≤ f(n) ≤ C2g(n)
รูป 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้ กับจำานวน
อินพุท ของฟังก์ชั่น 10n ฟังก์ชั่น 5n+4 และ 3n
สังเกตว่า ขอบบน กับ ขอบล่าง เป็นฟังก์ชั่นเดียวกัน
สัมประสิทธิ์ต่างกัน ความหมายของเตต้าคือ ใช้เวลา
เตต้าใหญ่ (Big-Teta notation :
Ө)
โอเล็ก (Little-o : o)
•Little-o คือฟังก์ชั่นที่ไม่แตะขอบบน นั่น
คือ ฟังก์ชั่นนี้ ทำางานช้าที่สุด < n
•คือ o(g(n)) คือเซตของฟังก์ชันที่โต
ช้ากว่า g(n)
•เช่น หากเรามี t(n) = n0.98 + 0.05√n
เราสามารถเขียนได้เป็น O(n) หรือ o(n)
• แต่หากระบุเป็น Little-o จะเน้นให้เห็น
ชัดว่าไม่ถึง n (เพราะค่ากำาลังของ n คือ
โอเมก้าเล็ก (Little-omega : ω)
Little-omega คือฟังก์ชั่นที่ไม่แตะขอบ
ล่าง
นั่นคือ ฟังก์ชั่นนี้ทำางานเร็วที่สุด > n
คือ ω(g(n)) คือเซตของฟังก์ชันที่โต
เร็วกว่า g(n)
เปรียบเทียบ ลักษณะของฟังก์ชั่
นของแต่ละสัญลักษณ์
2 สรุปเชิงเปรียบเทียบ ลักษณะของฟังก์ชั่นของแต่ละสัญล
≤ n
<n
≥ n
>n
การหาเทอมที่โตเร็วที่สุดในฟัง
ก์ชั่น
• คือ อัตราการเจริญเติบโตของ
ฟังก์ชัน ที่แทนประสิทธิภาพของอัลกอริ
ทึม
• รูปแบบของฟังก์ชั่นที่มักพบบ่อยได้แก่
• exponential อยู่ในรูป an
• polynomial อยู่ในรูป na
(n ยก
กำาลังค่าคงที่) เช่น n3
• Linear อยู่ในรูป n
• logarithmic อยู่ในรูป logan
• ทั้ง 4 รูปแบบ จะมีอัตราการเติบโตเรียง
จากมากไปหาน้อย
n a
อัตราการเจริญเติบโตของ
ฟังก์ชัน
0
10
20
30
40
50
60
70
1 2 3 4 5 6
n
2^n
n^2
log 2 n
2n
n2
n
log2n
รูป 2.3 กราฟแสดงการเติบโตของฟังก์ชั่น
อัตราการเจริญเติบโตของ
ฟังก์ชัน
อัตราการเติบโตของฟังก์ชัน
อัตราการเติบโตของฟังก์ชัน
• ตามประสิทธิภาพของอัลกอริธึมจากมากสุด(คือใช้
เวลาน้อยที่สุด)
ไปหาน้อยสุด
• C > logN > Log2
N > √N > N > N log N >
N2
> N3
…Nk
> 2n
, cn
> N!
อัตราการเจริญเติบโตของ
ฟังก์ชัน
•ตย1
•จงเรียงลำาดับฟังก์ชันต่อไปนี้ตาม
อัตราการเจริญเติบโต
•0.5n
, 1 , log n , n , 10n
•จะได้ว่า
•0.5n
< 1 < log n < n < 10n
•ตย 2
•จงเปรียบเทียบอัตราการเจริญ
เติบโตของ n10
, 2n
•จะได้ว่า
•n10
< 2n
อัตราการเจริญเติบโตของ
ฟังก์ชัน
ตาราง 2.1 เปรียบเทียบเวลาการ
ทำางานกับจำานวนอินพุท
พิจารณาตารางจะพบว่า O(1) เป็นฟังก์ชั่นที่ให้
ประสิทธิภาพดีที่สุด นั่นคือ เวลาที่ใช้ในการทำางานไม่ขึ้น
กับจำานวนอินพุท ในขณะที่ O(n) จะให้ประสิทธิภาพใน
ระดับกลาง นั่นคือ อัตราการเติบโตของเวลาจะเป็นเส้น
ตรง เมื่ออินพุทมากขึ้น ก็จะใช้เวลามากขึ้น ในสัดส่วนที่เท่า
2
ประสิทธิ
ภาพสูง
ตำ่า
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพขอ
งอัลกอริทึม
• เราสามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพได้จาก
ปริมาณคำาสั่งที่ถูกใช้งานในโปรแกรม อาศัย
เครื่องหมายที่กล่าวมาข้างต้นเป็นตัวกำากับ โดย
การนับคำาสั่งทั้งที่เป็นคำาสั่งมูลฐาน และคำาสั่ง
มาตรเวลา ซึ่งจะทำาให้ได้ฟังก์ชั่นที่มีความ
ละเอียดสูง จากนั้นจะค่อย ๆ ลดความซับซ้อนลง
โดยดูจากเทอมที่ใหญ่ที่สุดของฟังก์ชั่น
ในกรณีที่ต้องการกำากับด้วย บิ๊ก-โอ
Ө(n2
)
Ө(n log n)
เวลาในการทำางานทั้งหมดถูก
กำาหนดโดยส่วนที่ 1 เพราะมัน
โตเร็วกว่า
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพขอ
งอัลกอริทึม
f(n) = O(n)f(n) = O(n)
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพขอ
งอัลกอริทึม
•ตย
•อัลกอริทึม 1
Sum := 0;
for I:=1 to n do
Sum := Sum+I;
f(n) = O(1)f(n) = O(1)
• ตย.
• อัลกอริทึม 3
Sum := (1+n)*n/2;
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพขอ
งอัลกอริทึม
n4
+ n2
+ n
n4
O(f(n)) =O(f(n)) =
การหาค่า Big-Oh
• หาได้โดยนำา f(n) มากระทำาดังนี้
1. ตัดสัมประสิทธิ์ของแต่ละเทอมทิ้ง
2. เลือกเทอมที่ใหญ่สุดเก็บไว้เป็นคำาตอบ
• ตัวอย่างเช่น
f(n) = 3n4
+ 2n2
+ n
เมื่อพิจารณาจาก f(n) จะพบว่า
• อัลกอริทึม 1
f(n) = n
• อัลกอริทึม 2
f(n) = n-1
• อัลกอริทึม 3
f(n) = 1
ประสิทธิภาพประสิทธิภาพตำ่าสุดตำ่าสุด
ประสิทธิภาพประสิทธิภาพดีสุดดีสุด
การหาค่า Big-Oh
•ตย จงหาค่า Big-o ของ n3
+2n3
+10
• 1. ตัดสัมประสิทธิ์ของแต่ละเทอมทิ้ง
จะได้ n3
+n3
• 2. เลือกเทอมที่ใหญ่สุดเก็บไว้เป็นคำาตอบ
O(f(n)) =O(f(n)) = OO((n3
))
การหาค่า Big-Oh
• ตย จงหาค่า Big-o ของ 100
•F(n) = 100
• O(f(n)) =O(f(n)) = O(O(1)1)
• ตย จงหาค่า Big-o ของ 100N+1
•F(n) = 100N+1
• O(f(n)) =O(f(n)) = O(O(N)N)
การหาค่า Big-Oh
• ตย จงหาค่า Big-o ของ
20nlogn+5n = O(nlogn)
•F(n) = 20nlogn+5n
•F(n) = nlogn+n
• O(f(n)) =O(f(n)) = = O(nlogn)
• สมมติให้แต่ละโปรแกรมใช้เวลาในการทำางาน
เป็นดังนี้
• prg1 = 3n2
+2n
• prg2 = 2log2n+6n+n
• prg3 = n+nlog2n+4n+9
• จงแสดง Big-O ของแต่ละโปรแกรมพร้อมทั้ง
เรียงลำาดับประสิทธิภาพของโปรแกรมจากดีสุด
ไปหาช้าสุด
• 2Log2n < nlog2n < 3n2
• จะได้ 1. prg2 2. prg3 3.prg1
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพขอ
งอัลกอริทึม
แบบฝึกหัด
1. ให้ลำาดับอัตราการเติบโตของ
ฟังก์ชันจากน้อยไปมาก
•n log n, n3
, 2n
, n, n!, log n,
100, n2
2.จงหาค่า Big-o ของ
12nlogn+0.05n2
3. จงหาค่า Big-o ของ n1/2
+3nlogn
4. ให้ลำาดับอัตราการเติบโตของฟังก์ชัน
5. จงวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม
ดังต่อไปนี้
for (j=1; j<n;j++){
sum = sum + j;
print sum;
}
for (i=1; i<n;i++){
for (j=1; j<n;j++){
sum = sum + j;
}
print sum;
}
6. จงวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม
ดังต่อไปนี้
For i = 1 To n
i = i + 1
Next i
For j = 1 To n
j = j + 1
Next j
คำาคมสำาหรับวันนี้

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 

Tendances (20)

2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 

En vedette

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)tumetr
 
การเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉา
การเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉาการเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉา
การเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉาNantana Neangmutcha
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมwaradakhantee
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมwaradakhantee
 
การค้นหาข้อมูล (searching)
การค้นหาข้อมูล (searching)การค้นหาข้อมูล (searching)
การค้นหาข้อมูล (searching)tumetr
 
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-treetumetr
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 
03 data abstraction
03 data abstraction03 data abstraction
03 data abstractionOpas Kaewtai
 
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้tumetr
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์waradakhantee
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 

En vedette (20)

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
 
การเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉา
การเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉาการเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉา
การเรียงข้อมูลแบบMerge sort นันทนา เนื่องมัจฉา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
 
Data struct is_chapter1
Data struct is_chapter1Data struct is_chapter1
Data struct is_chapter1
 
การค้นหาข้อมูล (searching)
การค้นหาข้อมูล (searching)การค้นหาข้อมูล (searching)
การค้นหาข้อมูล (searching)
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
 
Sorting
SortingSorting
Sorting
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
03 data abstraction
03 data abstraction03 data abstraction
03 data abstraction
 
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
 
รหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo codeรหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo code
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
Wongnai Engineering Story
Wongnai Engineering StoryWongnai Engineering Story
Wongnai Engineering Story
 

Similaire à การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)

การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguestc3a629f6
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguest5ec5625
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีSaranyu Srisrontong
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น-
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766CUPress
 

Similaire à การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis) (20)

การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
22
2222
22
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
1
11
1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
04 basic measurement
04 basic measurement04 basic measurement
04 basic measurement
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 

Plus de tumetr

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebooktumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_ptumetr
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)tumetr
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectstumetr
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introductiontumetr
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffmantumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพtumetr
 
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)tumetr
 
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)tumetr
 

Plus de tumetr (20)

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
 
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
 

การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)