SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
Télécharger pour lire hors ligne
สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542

เป็ นการสรุ ปสาระสาคัญเกียวก ับ พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 โดยย่อเพื่อความเข้าใจได้ง่ายครับ โดยแยก
                         ่
เป็ นหมวดๆดังนี้


หมวด 1 บททัวไป ความมุ่งหมายและหลักการ
           ่


พระราชบัญญัติฉบับนี้มีเจตนารมณ์ที่ตองการเน้นย้าว่าการจัดการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น
                                   ้
มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู ้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
สามารถอยูร่วมก ับผูอื่นได้อย่างมีความสุข
         ่         ้


การจัดการศึกษา ให้ยดหลักดังนี้
                   ึ
1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
2) ให้สงคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
       ั
3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง


สาหรับเรื่องการจัดระบบ โครงสร้ างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ ยดหลักดังนี้
                                                              ึ
1) มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบติ
                                               ั
2) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประก ันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและประเภท
4) มีหลักการส่งเสริ มมาตรฐานวิชาชีพและการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
6) การมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอก
ชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น


หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอก ันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่นอยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทัวถึง
                                                           ้                                     ่
และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย


- บุคคล ซึ่งมีความบกพร่ องทางด้านต่าง ๆ หรื อมีร่างกายพิการ หรื อมีความต้องการเป็ นพิเศษ หรื อผูดอยโอกาส
                                                                                                ้้
มีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ นพิเศษ


- บิดามารดา หรื อผูปกครองมีหน้าที่จดให้บุตรหรื อบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาทั้งภาคบังคับ และ
                   ้               ั
นอกเหนือจากภาคบังคับตามความพร้อมของครอบครัว


- บิดามารดา บุคคล ชุมชน องค์กร และสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมที่สนับสนุนหรื อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิ
ได้รับสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี ดงนี้
                                  ั


- การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู ้ ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรหรื อผูซ่ ึงอยูใน
                                                                                        ้ ่
ความดูแล รวมทั้งเงินอุดหนุนสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน


- การลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา


หมวด 3 ระบบการศึกษา


การจัดการศึกษามีสามรู ปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศึกษาจัดได้ท้ งสามรู ปแบบ และให้มีการเทียบโอนผลการเรี ยนที่ผูเ้ รี ยนสะสมไว้ระหว่างรู ปแบบเดียวก ัน
                  ั
หรื อต่างรู ปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็ นผลการเรี ยนจากสถานศึกษาเดียวก ันหรื อไม่กตาม การศึกษาในระบบมีสอง
                                                                          ็
ระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งจัดไม่นอยกว่า 12 ปี ก่อนระดับอุดมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ซึ่งแบ่งเป็ น
                                        ้
ระดับต่ากว่าปริ ญญา และระดับปริ ญญา
ให้มีการศึกษาภาคบังคับเก ้าปี นับจากอายุยางเข้าปี ที่เจ็ด จนอายุยางเข้าปี ที่สิบหก หรื อเมื่อสอบได้ช้ นปี ที่เก ้าของ
                                         ่                       ่                                    ั
การศึกษาภาคบังคับ
- สาหรับเรื่ องสถานศึกษานั้น การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้จดใน
                                                                       ั
1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
2) โรงเรี ยน ได้แก่ โรงเรี ยนของรัฐ เอกชน และโรงเรี ยนที่สงก ัดสถาบันศาสนา
                                                          ั
3) ศูนย์การเรี ยน ได้แก่ สถานที่เรี ยนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรี ยน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร
ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
                            ่
โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็ นผูจด
                                                                   ้ั


- การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้จดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรื อ หน่วยงานทื่เรี ยกชื่ออย่างอื่น
                                   ั
ทั้งนี้ให้เป็ นไปตามกฎหมายที่เกียวข้อง
                                ่


- การจัดการอาชีวศึกษา การฝึ กอบรมวิชาชีพ ให้จดในสถานศึกษาของรัฐ สถาน ศึกษาของเอกชน สถาน
                                             ั
ประกอบการ หรื อโดยความร่ วมมือระหว่างสถานศึกษาก ับสถานประกอบการ กระทรวง ทบวง กรม
รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา เฉพาะทางตามความต้องการและความชานาญของ
หน่วยงานนั้นได้โดยคานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ


หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา


การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด ผูเ้ รี ยนทุกคน สามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้
ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริ มให้ผูเ้ รี ยน ได้พฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการ
                                                          ั
ศึกษาทั้งสามรู ปแบบในหมวด 3 ต้องเน้นทั้งความรู ้ คุณธรรม และ กระบวนการเรี ยนรู ้ ในเรื่ องสาระความรู ้ ให้
บูรณาการความรู ้และทักษะด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมก ับแต่ ละระดับการศึกษา ได้แก่ ด้านความรู ้เกียวก ับตนเอง
                                                                                           ่
และความสัมพันธ์ระหว่างตนเองก ับสังคม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านศาสนา ศิลป วัฒนธรรม การ
กีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ด้านภาษา โดยเฉพาะการใช้ภาษาไทย ด้านคณิ ตศาสตร์ ด้าน
การประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมีความสุข ในเรื่ องการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้จดเนื้อหาสาระและ
                                                                                   ั
กิจกรรมที่สอดคล้องก ับ ความสนใจ ความถนัดของผูเ้ รี ยน และความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งให้ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู ้มาใช้ป้องก ันและแก ้ปั ญหา จัด
กิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนฝึ กปฏิบติจริ ง ผสมผสานสาระความรู ้ดานต่าง ๆ อย่างสมดุล และปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดี
                             ั                           ้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกวิชา นอกจากนั้น ในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ยงต้องส่งเสริ มให้ผูสอน จัด
                                                                       ั                  ้
บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ ใช้การวิจยเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรี ยนรู ้ ผูสอนและ
                                                         ั                                       ้
ผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนรู ้ไปพร้อมก ันจากสื่อและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ จัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุก
สถานที่ มีการประสานความร่ วมมือก ับผูปกครองและชุมชน รวมทั้งส่งเสริ มการดาเนินงาน และการจัดตั้งแหล่ง
                                     ้
การเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตทุกรู ปแบบ การประเมินผลผูเ้ รี ยน ให้สถานศึกษาพิจารณาจากพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ความ
ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรี ยน การร่ วมกิจกรรม และการทดสอบ ส่วนการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษา
ต่อ ให้ใช้วิธีการที่หลากหลายและนาผลการประเมินผูเ้ รี ยนมาใช้ประกอบด้วย หลักสูตรการศึกษาทุกระดับและ
ทุกประเภท ต้องมีความหลากหลาย โดยส่วน กลางจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นความเป็ น
ไทยและความเป็ นพลเมืองดี การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อและให้สถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานจัดทาหลักสูตรในส่วนที่เกียวก ับสภาพปั ญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณลักษณะ
                                    ่
ของสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนสังคมและประเทศชาติ สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิ่มเรื่ อง
การพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการค้นคว้าวิจย เพื่อพัฒนาองค์ความรู ้และสังคมศึกษา
                                              ั


หมวด 5 การบริ หารและการจัดการศึกษา


ส่ วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ


แบ่งเป็ นสามระดับ คือ ระดับชาติ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา เพื่อเป็ นการกระจายอานาจลง
ไปสู่ทองถิ่น และสถานศึกษาให้มากที่สุด
      ้


1.1 ระดับชาติ


ให้มีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอานาจหน้าที่ กาก ับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
รวมทั้ง การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาสนับสนุนทรัพยากร
รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีองค์กรหลักที่เป็ นคณะ บุคคลในรู ปสภาหรื อคณะกรรมการสี่
องค์กร คือ
-สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่ งชาติ
-คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
-คณะกรรมการการอุดมศึกษา
-คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม


-มีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นหรื อให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรี หรื อคณะรัฐ มนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่นตามที่
กฎหมายกาหนด


-ให้สานักงานของทั้งสี่องค์กรเป็ นนิติบุคคล มีคณะกรรมการแต่ละองค์กร ประกอบด้วยกรรมการ โดยตาแหน่ง
จากหน่วยงานที่เกียวข้อง ผูแทนองค์กรเอกชน ผูแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผูแทนองค์กรวิชาชีพ และ
                 ่        ้                ้                             ้
ผูทรงคุณวุฒิซ่ ึงมีจานวนไม่นอยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมก ัน มีเลขาธิการของแต่ละสานัก
  ้                         ้
งาน เป็ นกรรมการและเลขานุการ


-สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่ งชาติ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
ของชาติ นโยบายและแผนด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม การสนับสนุนทรัพยากร การประเมินผลการจัด
การศึกษา การดาเนินการด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการพิจารณากลันกรองกฎหมายและ
                                                                   ่
กฎกระทรวง


-คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องก ับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่ งชาติ การ
สนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน


-คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่
สอดคล้องก ับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงความเป็ นอิสระตามกฎหมายว่าด้วย
การจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่ ง


-คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายและแผนพัฒนาที่สอดคล้องก ับ
แผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการดาเนินการด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สถานศึกษาของรัฐที่จดการศึกษาระดับปริ ญญาเป็ น
                                                                   ั
นิติบุคคล ดาเนินการจัดการศึกษาและอยูภายใต้การกาก ับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง
                                    ่
สถานศึกษานั้น ๆ


1.2 ระดับเขตพืนที่การศึกษา
              ้


การบริ หารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอุดมศึกษาระดับต่า กว่าปริ ญญา ให้ยดเขตพื้นที่การศึกษา
                                                                              ึ
โดยคานึงถึงปริ มาณสถานศึกษา และจานวนประชากรเป็ นหลัก รวมทั้งความเหมาะสมด้านอื่นด้วย ในแต่ละเขต
พื้นที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการและสานักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษา ทาหน้าที่
ในการกาก ับดูแลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริ ญญา ประสานส่งเสริ ม
และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาประสานและส่งเสริ มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้
สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องก ับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริ มและสนับสนุนการจัดการศึกษาของ
บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สังคมอื่นที่จดการศึกษาในรู ปแบบที่หลากหลาย รวมทั้งการกาก ับดูแลหน่วยงานด้านศาสนา ศิลปะและ
             ั
วัฒนธรรมในเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วยผูแทนองค์กรชุมชน ผูแทน
                                                                      ้                ้
องค์กรเอกชน ผูแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผูแทนสมาคมผูประกอบวิชาชีพครู และผูประกอบวิชาชีพ
              ้                             ้         ้                     ้
บริ หารการศึกษา ผูแทนสมาคมผูปกครองและครู ผูนาทางศาสนาและผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา ศาสนา
                  ้         ้              ้              ้          ้
ศิลปวัฒนธรรม โดยให้ผูอานวยการสานักงานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษาเป็ นกรรมการ
                     ้
และเลขานุการของคณะกรรมการ
1.3 ระดับสถานศึกษา


ให้แต่ละสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถานศึกษาอุดมศึกษาระดับ ต่ากว่าปริ ญญา มีคณะกรรมการสถานศึกษา
เพื่อทาหน้าที่กาก ับและส่งเสริ มสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาและจัดทาสาระของหลักสูตรในส่วนที่เกียวก ับ
                                                                                             ่
สภาพปั ญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คณะกรรมการสถานศึกษา
                                        ่
ประกอบด้วย ผูแทน ผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทนองค์กรชุมชน ผูแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผูแทนศิษย์
             ้     ้        ้        ้                ้                             ้
เก่าของสถานศึกษา และผูทรงคุณวุฒิ และให้ผบริ หารสถานศึกษาเป็ นกรรมการและเลขานุการของ
                      ้                 ู้
คณะกรรมการ ทั้งนี้ ให้กระทรวงกระจายอานาจ ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริ หารงานบุคคล และการ
บริ หารทัวไป ไปยังคณะกรรมการและสานักงานการศึกษาฯ เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่
         ่
การศึกษาโดยตรง


ส่ วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น


ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถินจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทตามความพร้อม ความเหมาะสมและ
                         ่
ความต้องการภายในท้องถิ่น เพื่อเป็ นการรองรับสิทธิและการมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ตามที่กาหนดในรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย โดยกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ประเมินความพร้อม รวมทั้งประสานและส่งเสริ มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาได้


ส่ วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน


สถานศึกษาเอกชนเป็ นนิติบุคคลจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท มีคณะกรรมการบริ หาร ประกอบด้วย
ผูบริ หารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองค์กรชุมชน ผูแทนครู ผูแทนศิษย์เก่าและ
  ้                       ้             ้    ้        ้                ้        ้
ผูทรงคุณวุฒิ การบริ หารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็ นอิสระ โดยมีการกาก ับ ติดตาม ประเมิน
  ้
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และต้องปฏิบติตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพและมาตรฐาน
                                          ั
การศึกษาเช่นเดียวก ับสถานศึกษาของรัฐ รวมทั้งรัฐต้องให้การสนับสนุนด้านวิชาการและด้านเงินอุดหนุน การ
ลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษี รวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นตามความเหมาะสม ทั้งนี้ การกาหนดนโยบายและแผนการ
จัดการศึกษาของรัฐของเขตพื้นที่การศึกษา หรื อขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้คานึงถึงผลกระทบต่อการ
จัดการศึกษาของเอกชน โดยให้รับฟังความคิดเห็นของเอกชน และประชาชนประกอบการพิจารณาด้วย ส่วน
สถานศึกษาของเอกชนระดับปริ ญญา ให้ดาเนินกิจการโดยอิสระภายใต้การกาก ับดูแลของสภาสถานศึกษาตาม
กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน


หมวด 6 มาตรฐานและการประก ันคุณภาพการศึกษา


ให้มีระบบการประก ันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประก ันคุณภาพภายใน และระบบการ
ประก ันคุณภาพภายนอก หน่วยงานต้นสังก ัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประก ับคุณภาพภายใน ซึ่งเป็ น
ส่วนหนึ่งของการบริ หาร และจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานที่เกียวข้องและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน ให้
                                                                  ่
มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ งอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี โดยสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็ นองค์การมหาชนทาหน้าที่พฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินและจัดให้
                                                               ั
มีการประเมินดังกล่าว รวมทั้งเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกียวข้องและสาธารณชน ในกรณี ที่ผลการ
                                                             ่
ประเมินภายนอกไม่ได้มาตรฐานให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ จัดทาข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานต้นสังก ัด ให้
สถานศึกษาปรับปรุ ง ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนินการ ให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ รายงานต่อ
คณะกรรมการต้นสังก ัด เพื่อให้ดาเนินการปรับปรุ งแก ้ไขต่อไป


หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา


ให้กระทรวงส่งเสริ มให้มีระบบ กระบวนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มี
คุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมก ับการเป็ นวิชาชีพชั้นสูง โดยรัฐจัดสรรงบประมาณและกองทุนพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอ มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ ฯลฯ ให้มี
องค์กรวิชาชีพครู ผูบริ หารสถานศึกษา และผูบริ หารการศึกษา เป็ นองค์กรอิสระมีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรฐาน
                   ้                     ้
วิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ รวมทั้งกาก ับดูแลการปฏิบติตามมาตรฐานและ
                                                                   ั
จรรยาบรรณของวิชาชีพ
ครู ผูบริ หารสถานศึกษา ผูบริ หารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชน ต้องมีใบอนุญาต
      ้                  ้
ประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ ยกเว้น ผูที่จดการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาในศูนย์การเรี ยน วิทยากรพิเศษ และ
                               ้ ั
ผูบริ หารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
  ้


ให้ขาราชการของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาและระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็ นข้าราชการใน
    ้
สังก ัดองค์กรกลางบริ หารงานบุคคลของข้าราชการครู ตามหลักการกระจายอานาจการบริ หารงานบุคคลสู่เขต
พื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา


การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนามาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ และ
การบริ หารงานบุคคลของข้าราชการหรื อพนักงานของรัฐในสถานศึกษาระดับปริ ญญาที่เป็ นนิติบุคคลให้เป็ นไป
ตามกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษานั้น ๆ


หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา


ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กร ปกครองส่วน
ท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ สถาบันสังคมอื่นและต่างประเทศมาใช้จดการศึกษา โดยให้รัฐและองค์กรปกครองส่วน
                                            ั
ท้องถิ่น ใช้มาตรการภาษีส่งเสริ มและให้แรงจูงใจ รวมทั้งใช้มาตรการลดหย่อน หรื อยกเว้นภาษีตามความ
เหมาะสม


สถานศึกษาของรัฐที่เป็ นนิติบุคคล มีอานาจในการปกครอง ดูแล บารุ งรักษา ใช้และจัดหาผลประโยชน์จาก
ทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็ นที่ราชพัสดุ และที่เป็ นทรัพย์สินอื่น รวมทั้งหารายได้จากบริ การของ
สถานศึกษาที่ไม่ขดก ับภารกิจหลักอสังหาริ มทรัพย์ที่สถานศึกษาของรัฐได้มา ทั้งจากผูอุทิศให้หรื อซื้อหรื อ
                ั                                                               ้
แลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษา ให้เป็ นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา บรรดารายได้และผลประโยชน์ต่าง ๆ
ของสถานศึกษาของรัฐดังกล่าว ไม่เป็ นรายได้ที่ตองส่งกระทรวงการคลัง
                                             ้
ให้สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็ นนิติบุคคล สามารถนารายได้และผลประโยชน์ต่าง ๆ มาจัดสรรเป็ นค่าใช้จ่ายใน
การจัดการศึกษาของสถาบันนั้น ๆ ได้ตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกาหนด


ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้ก ับการศึกษา โดยจัดสรรให้ผูเ้ รี ยนและสถานศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชน ใน
รู ปแบบต่าง ๆ เช่น ในรู ปเงินอุดหนุนทัวไปเป็ นค่าใช้จ่ายรายบุคคล กองทุนประเภทต่าง ๆ และทุนการศึกษา
                                      ่
รวมทั้งให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบ
ประมาณการจัดการศึกษาด้วย


หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา


รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนาและโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุ
โทรคมนาคม และการสื่อสารในรู ปอื่นเพื่อประโยชน์สาหรับการศึกษา การทะนุบารุ ง ศาสนา ศิลปะและ
วัฒนธรรมตามความจาเป็ น รัฐส่งเสริ มสนับสนุนให้มีการวิจยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาแบบเรี ยน ตารา สื่อ
                                                      ั
สิ่งพิมพ์อ่น วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยจัดให้มีเงินสนับสนุนและเปิ ดให้มีการแข่งขันโดย
           ื
เสรี อย่างเป็ นธรรม รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา


ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผูผลิตและผูใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ผูเ้ รี ยนได้พฒนาขีดความสามารถ
                              ้        ้                                               ั
ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ อันจะนาไปสู่การแสวงหาความรู ้ได้ดวยตนเองอย่าง
                                                                                  ้
ต่อเนื่องตลอดชีวิต


ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทานและผล
กาไรที่ได้จากการดาเนินกิจการ ด้านสื่อสารมวลชขน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ ายที่
เกียวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน รวมทั้งให้มีการลดอัตราค่าบริ การเป็ นพิเศษในการใช้
   ่
เทคโนโลยี


ให้มีหน่วยงานกลาง ทาหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริ ม และประสานการวิจย การพัฒนาและการใช้
                                                                          ั
รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา


บทเฉพาะกาล


1. นับแต่วันที่พระราชบัญญัตนใช้ บงคับ
                           ิ ี้ ั
- ให้กฏหมาย ข้อบังคับ คาสัง ฯลฯ เกียวก ับการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒน ธรรมเดิมที่ใช้อยูยงคงใช้บงคับ ได้
                          ่        ่                                                  ่ั      ั
ต่อไป จนกว่าจะมีการปรับปรุ งแก ้ไขตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินห้าปี
- ให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษาที่มีอยู่ ยังคงมี ฐานะและอานาจหน้าที่เช่นเดิม
จนกว่าจะจัดระบบการบริ หารและการจัดการศึกษาใหม่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินสามปี
- ให้ดาเนินการออกกฎกระทรวง เพื่อแบ่งระดับและประเภทการศึกษาของการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งการแบ่ง
ระดับหรื อการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรื อการศึกษาตามอัธยาศัยให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี .


2. ในวาระเริ่มแรก มิให้ นา
- บทบัญญัติเกียวก ับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสิบสองปี และการศึกษาภาค บังคับเก ้าปี มาใช้บงคับ จนกว่าจะ
              ่                                                                          ั
มีการดาเนินการให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินห้าปี นับจากวันที่รัฐธรรมนูญใช้บงคับ และ
                                                                                            ั
ภายในหกปี ให้กระทรวงจัดให้สถานศึกษาทุกแห่ ง มีการประเมินผลภายนอกครั้งแรก
- นาบทบัญญัติในหมวด 5 การบริ หารและการจัดการศึกษา และหมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ
ศึกษามาใช้บงคับจนกว่าจะมีการดาเนินการให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินสามปี
           ั
- ทั้งนี้ขณะที่การจัดตั้งกระทรวงยังไม่แล้วเสร็จให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ
รัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้ออกกฎกระทรวงระเบียบ และ
ประกาศเพื่อปฏิรูปตามพระราชบัญญัติน้ ีในส่วนที่เกียวก ับอานาจหน้าที่ของตน รวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการ
                                                 ่
ทบวงมหาวิทยาลัย และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ ทาหน้าที่กระทรวงการศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรมในส่วนที่เกียวข้องแล้วแต่กรณี
                    ่


3. ให้ จัดตั้งสานักงานปฏิรูปการศึกษา เป็ นองค์ การมหาชนเฉพาะกิจ ทาหน้ าที่
- เสนอการจัดโครงสร้าง องค์กร การแบ่งส่วนงาน ตามสาระบัญญัติในหมวดที่ว่า ด้วยการบริ หารและการจัด
การศึกษา การจัดระบบครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การจัดระบบทรัพยากร และการลงทุนเพื่อ
การศึกษา
- เสนอร่ างกฎหมาย และปรับปรุ งแก ้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ และคาสัง ในส่วนที่เกียวก ับการจัด
                                                                       ่             ่
โครงสร้างและระบบต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นเพื่อให้สอดคล้องก ับพระราชบัญญัติน้ ี
- ตามอานาจหน้าที่อื่นที่กาหนดในกฎหมายองค์การมหาชน


4. คณะกรรมการบริหารสานักงานปฏิรูปการศึกษามีเก้ าคน ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการ ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู ้ ความสามารถ มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญ ด้านการบริ หาร
                         ้
การศึกษา การบริ หารรัฐกิจ การบริ หารงานบุคคล การงบประมาณการเงินและการคลัง กฎหมายมหาชน และ
กฎหมายการศึกษา ทั้งนี้ ต้องมีผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งมิใช่ขาราชการหรื อผูปฎิบติงานในหน่วยงานของรัฐ ไม่นอยกว่า
                               ้                    ้             ้ ั                           ้
สามคน ให้เลขาธิการสานักงานปฏิรูปการศึกษา เป็ นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการและเลขาธิการมี
วาระการตาแหน่งวาระเดียว เป็ นเวลาสามปี


ทั้งนี้ ให้มีคณะกรรมการสรรหา จานวนสิบห้าคน ทาหน้าที่เสนอชื่อบุคคลที่สมควร เป็ นคณะกรรมการบริ หาร
สานักงานปฏิรูปการศึกษา จานวนสิบแปดคนเพื่อให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาแต่งตั้งเป็ นคณะกรรมการบริ หาร
สานักงานปฏิรูป จานวนเก ้าคน
แนวข้อสอบครู ผช่วย
              ู้



1. ถ้าเปรี ยบงานครู เหมือนปลูกต้นไม้กจกรรมใดตรงก ับบทบาทของครู มากที่สุด
                                     ิ

ก. เตรี ยมดินเพื่อปลูกกล้า

ข. บารุ งรักษากล้า รดน้ า พรวนดิน ใส่ปุ๋ย

ค. กาจัดศัครู พืชให้ออกดอกงอกงาม

ง. เก็บผลผลิตและแปรรู ปเพื่อให้ได้ราคา

เฉลย ก.

2. ทุกวันนี้การปฏิบติงานของครู บางหมู่ รู ้วึกทัวก ันว่า ครู ไม่ค่อยห่ วงประโยชน์ที่ควรห่ วงไปห่ วง ยศ ตาแหน่ง
                   ั                            ่
สิทธิ รายได้ ท่านมทีความคิดเห็นอย่างไร

ก. เป็ นธรรมดาที่คนเรามักนึกถึงตนเอง

ข. เศราฐกิจในปั จจุบนผลักดันให้ครู บางคนต้องทาเช่นนั้น
                    ั

ค.ครู ที่อุทิศตนเพื่องานครู โดยแท้มีนอย
                                     ้

ง. การทางานของผูประกอบอาชีพอื่นบางกลุ่มก็เป็ นแบบเดียวก ัน
                ้

เฉลย ค.

3.ท่านคิดว่าความสาเร็จในการสอบคัดเลือกของท่านมีปัจจัยใดเป็ นสิ่งสาคัญ

ก. ตั้งใจจริ งที่จะเป็ นครู

ข. กาลังใจที่ท่านได้รับจากผูใกล้ชิด
                            ้

ค. การที่ท่านเอาใจใส่ต่อการเรี ยนอย่างสมาเสมอ
ง. ข้อแนะนาที่ได้รับจากอาจารย์แนะแนว

เฉลย ก

4. ใครเป็ นผูมีวินย
             ้ ั

ก. สมศรี ทาความเคารพครู ทุกครั้งเมื่อเดินสวนก ับครู

ข. มารศรี แต่งกายตามระเบียบของโรงเรี ยน

ค. มนัสลอกการบ้านเพื่อนก่อนส่งครู ตามที่ครู กาหนด

ง. สมศักดิ์ช่วยลบกระดานให้ครู

เฉลย ข

5. ข้อใดเป็ นวิธีการรักษาวินยที่ดีที่สุด
                            ั

ก. วินยที่ใช้เหตุผลส่วนตัว
      ั

ข. วินยต่อหมู่คณะ
      ั

ค. วินยที่ใช้อานาจเฉี ยบขาด
      ั

ง.ถูกทุกข้อ

เฉลย ข

6.ข้อใดคือสาเหตุที่ทาให้นกเรี ยนผิดวินย
                         ั            ั

ก. สภาพแวดล้อมเกียวก ับตัวนักเรี ยน
                 ่

ข. สภาพสิ่งแวดล้อม

ค.ครู
ง.ถูกทุกข้อ

เฉลย ง

7.ความรู ้ข้ นสูงสุดคือข้อใด
             ั

ก. ข้อมูล

ข.สารสนเทศ

ค.ความรู ้

ง. ปั ญญา

เฉลย ง

8.การจัดการความรู ้ มาจากคาว่า

ก. IT

ข.IM

ค. KM

ง. KI

เฉลย ง

9. ในความรู ้สึกของท่าน ครู เปรี ยบเหมือนอะไร

ก. แหล่งสะสมความรู ้

ข. แหล่งให้คาปรึ กษา

ค. แหล่งพักพิง
ง. แหล่งรวมนาใจ

เฉลย ข

10.ภาระหน้าที่ของครู ในปั จจุบนควรเน้นการปฏิบติตรามข้อใดมากที่สุด
                              ั              ั

ก. ถ่ายทอดความรู ้

ข. สนับสนุนให้นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
               ั

ค. ค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติมให้ทนสมัยอยูเ่ สมอ
                                 ั

ง. เป็ นแบบอย่างที่ดี

เฉลย ข




Create Date : 20 กรกฎาคม 2554

3 comment

Last Update : 20 กรกฎาคม 2554 20:15:47 น.



สังคม เศรษฐกิจการเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบน
                                        ั



1. ข้อใดหมายถึง เจตคติ

ก. ATTITUDA
ข. ATTITUDE

ค. ATTITUGE

ง. ATTITDUE

2. ข้อใดคือความหมายของเจตคติ

ก. ความรู ้สึก ความคิดเห็น หรื อความโน้มเอียง

ข. ความเชื่อของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

ค. สถานการณ์ ซึ่งสามารถประเมินค่าออกมาในทางบวกและทางลบ

ง. ถูกทุกข้อ

3. ท่านคิดว่าใครเป็ นผูที่มีเจตคติต่อวิชาชีพครู
                       ้

ก. สมศักดิ์อยากเป็ นครู เหมือนพ่อ

ข. สมชายไม่อยากเป็ นครู เพราะราคาญเด็ก

ค. สมศรี เห็นว่าวิชาชีพครู เป็ นวิชาชีพชั้นสูง

ง. ถูกทุกข้อ

4. ข้อใดไม่ถูกต้องเกียวก ับเจตคติ
                     ่

ก. แนวทางที่เราคิดรู ้สึก หรื อมีท่าทีที่จะกระทาต่อบางสิ่งบางอย่าง

ข. แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก ับวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่ง

ค. เป็ นความรู ้สึกนึกคิดที่กอสร้างขึ้นจากการเรี ยนรู ้
                             ่

ง. เป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นติดตัวมาแต่กาเนิด
5. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของเจตคติ

ก. พุทธิปัญญา

ข. ความรู ้สึก

ค. ความพอใจ

ง. การปฏิบติ
          ั

6. ท่านคิดว่าปั จจุบนข้อใดคือปั ญหาที่สาคัญที่สุดเกียวก ับข้าราชการครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                    ั                               ่

ก. ปั ญหาครู ไปยุงเกียวก ับการเมือง
                 ่ ่

ข. ปั ญหาเกียวก ับความรู ้ความสามารถของครู
            ่

ค. ปั ญหาเกียวก ับการขาดแคลนอัตรากาลังครู
            ่

ง. ปั ญหาการที่ครู ใช้เวลาสอนทาผลงานทางวิชาการ

7. ข้อใดไม่คุณสมบัติผขอรับใบอนุญาตเป็ นผูประกอบวิชาชีพควบคุม
                     ู้                  ้

ก. อายุไม่ต่ากว่ายีสิบปี
                   ่

ข. มีวุฒิปริ ญญาทางการศึกษา

ค. ปฏิบติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาทางการศึกษาไม่นอยกว่า 1ปี
       ั                                                   ้

ง. ถูกทุกข้อ

8. ข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพมีกมาตรฐาน
                                    ี่

ก. 2 มาตรฐาน

ข. 3 มาตรฐาน
ค. 4 มาตรฐาน

ง. 5 มาตรฐาน

9. ข้อใดคือมาตรฐานความรู ้ผประกอบวิชาชีพครู
                           ู้

ก. ปริ ญญาทางการศึกษา

ข. ปริ ญญาตรี ทางการศึกษา

ค. ไม่ต่ากว่าปริ ญญาทางการศึกษา

ง. ไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี ทางการศึกษา

10. ข้อใดไม่ใช่มาตรฐานวิชาชีพ

ก. จรรยาบรรณวิชาชีพ

ข. มาตรฐานการปฏิบติงาน
                 ั

ค. มาตรฐานความรู ้และประสบการณ์วิชาชีพ

ง. ถูกทุกข้อ

11. ผูประสงค์ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ให้ยนต่อผูใด
      ้                                                   ื่    ้

ก. เลขาธิการคุรุสภา

ข. คณะกรรมการคุรุสภา

ค. ผูอานวยการสถานศึกษา
     ้

ง. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

12. กรณี ที่มีผประกอบวิชาชีพ ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้อใดไม่ถูกต้อง
               ู้
ก. ผูได้รับความเสียยืนข้อกล่าวหาต่อคุรุสภา
     ้               ่

ข. พ้น 1 ปี ไม่มีสิทธิในการกล่าวหา กล่าวโทษ

ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเป็ นผูพิจารณา
                                  ้

ง. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็ นผูมีอานาจในการลงโทษ
                                    ้

13. คาวินิจฉัยในกรณี ผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีกกรณี
                                                  ี่

ก. 4 สถาน

ข. 5 สถาน

ค. 6 สถาน

ง. 7 สถาน

14. ข้อใดไม่ใช่คาวินิจฉัยกรณี ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

ก. ยกข้อกล่าวหา

ข. ตักเตือน

ค. ภาคทัณฑ์

ง. พักใช้ใบอนุญาต

16. หากถูกพักใช้ใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์ภายในกีวน
                                             ่ั

ก. ภายใน 7 วัน

ข. ภายใน 15 วัน

ค. ภายใน 30 วัน
ง. ภายใน 45 วัน

17. พระบิดาของครู ไทย หมายถึงข้อใด

ก. ม.ล.ปิ่ น มาลากุล

ข. กรมพระยาดารงราชานุภาพ

ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว
                                    ่

ง. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช
                         ่

18. กรณี ขาราชการครู ในโรงเรี ยนถูกเพิกถอนใบอนุญาต ข้อใดกล่าวถูกต้อง
          ้

ก. อานวยการโรงเรี ยนอาจเสนอให้เปลี่ยนตาแหน่งได้

ข. อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา เป็ นผูพิจารณาการเปลี่ยนตาแหน่ง
                                     ้

ค. ต้องดาเนินการเปลี่ยนตาแหน่งให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน

ง. ถูกทุกข้อ

19. ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตรงก ับข้อใด

ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ข. ผูทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการเลือกก ันเอง
     ้

ค. คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูทรงคุณวุฒิ
                            ้

ง. รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูทรงคุณวุฒิใน คณะกรรมการคุรุสภา
                         ้

20. ข้อใดไม่ใช่เป็ นลักษณะสาคัญของวิชาชีพครู

ก. มีองค์กรวิชาชีพ
ข. กฎหมายเกียวก ับวิชาชีพ
            ่

ค. มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู

ง. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

21 จากสภาพเศรษฐกิจในปั จจุบน ในฐานะที่เราเป็ นครู เราควรนาเอาหลักธรรมในข้อใด
                           ั

มายึดถือปฎิบติ
            ั

ก. สังคหวัตถุ

ข. อิทธิบาท

ค. พรหมวิหาร

ง. สัปปุริสธรรม

22.ก ัลยาณมิตร 7 ข้อใดหมายถึง ความมีเหตุผล

ก. ปิ โย

ข. วัตตา

ค. ภาวนีโย

ง. คัมภีรังกถังกตา

23. ครู ที่ลงโทษนักเรี ยนด้วยวิธีการที่รุนแรง ไม่เป็ นไป ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

ว่าด้วยการลงโทษ แสดงว่าขาดคุณธรรมข้อใดมากที่สุด

ก. ความเมตตา

ข. สติสมปปั สชัญญะ
       ั
ค. หิ ริ โอตัปปะ

ง. ขันติ โสรัจจะ

24. “ผูที่ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติ ปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี
       ้                                           ั

ทั้งทางกาย วาจา และ จิตใจ” หมายถึงจรรยาบรรณด้านใด

ก. จรรยาบรรณต่อตนเอง

ข. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

ค. จรรยาบรรณต่อผูรับบริ การ
                 ้

ง. จรรยาบรรณต่อสังคม

25. ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณต่อผูรับบริ การ
                             ้

ก. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริ ม ให้กาลังใจแก่ศิษย์

ข. ต้องส่งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ ทักษะและนิสยที่ ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผูรับบริ การ
                                                ั                             ้

ค. ต้องให้บริ การด้วยความจริ งใจและเสมอภาค

ง. ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือ เกือกูลซึ่งก ันและก ัน อย่างสร้างสรรค์
                                            ้

26. ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณต่อสังคมของผูประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา
                                     ้

ก. ยึดมันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
        ่                                              ์

ข. โดยยึดมันในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคี ในหมู่ให้เกิดขึ้นในสังคม
           ่

ค. พึงประพฤติปฏิบติตนเป็ นผูนาในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
                 ั          ้

ง. รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม
27. KM ย่อมาจากข้อใด

ก. KNOWLEDGE MANAGER

ข. KNOWLEDGE MANAGATION

ค. KNOWLEDGE MANAGEMENT

ง. KNOWLEDGE MANAGAMAIL

28. “คลังความรู ้ หรื อ ขุมความรู ้ ” อยูในส่วนใดของโมเดลปลาทู
                                         ่

ก. KV

ข. KA

ค. KS

ง. KP

29. ข้อใดคือชั้นปิ รามิดความรู ้( HIDEO YAMAZAKI) ที่ถูกต้อง

ก. ปั ญญา - ความรู ้ - ข้อมูล - สารสนเทศ

ข. ข้อมูล - ความรู ้ - ปั ญญา - สารสนเทศ

ค. สารสนเทศ - ข้อมูล - ความรู ้ - ปั ญญา

ง. ข้อมูล - สารสนเทศ - ความรู ้ - ปั ญญา

30. ความรู ้ชดแจ้งหรื อความรู ้เด่นชัด ตรงก ับข้อใด
             ั

ก. KNOWLEDGE

ข. EXPLICIT KNOWLEDGE
ค. TACIT KNOWLEDGE

ง. KNOWLEDGE MANAGER

31. ข้อใดคือเว็ปไซด์การจัดการความรู ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                    ้

ก. แมงมุม

ข. นกนางนวล

ค. ทางสายใหม่

ง. มุมวิชาการ

32. ข้อใดสอดคล้องก ับการจัดการความรู ภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                     ้

ก. เครื อข่ายการศึกษาไทย ก ้าวไกลทุกถิ่น

ข. เครื อข่ายความคิด พันธมิตรก ้าวหน้า

ค. เครื อข่ายความคิด พันธมิตรความรู ้

ง. เครื อข่ายพันธมิตร ความคิดความรู ้

33. ครู มลจูงแขนเด็กนักเรี ยนเดินข้ามถนน แสดงว่าครู มลมีคุณธรรมตามข้อใด

ก. เมตตา

ข. กรุ ณา

ค. มุฑิตา

ง. อุเบกขา

34. ขั้นตอนแรกในกระบวนการจัดการความรู ้ตรงก ับข้อใด
ก. จัดระบบความรู ้

ข. แสวงหาความรู ้

ค. บ่งชี้ความรู ้

ง. สร้างความรู ้

35. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่ตองมีการจัดการความรู ้
                        ้

ก. องค์กรต้องมีการปรับตัวก ับการเปลี่ยนแปลง

ข. ยุคเทคโนโลยีเข้าครอบคลุมหน่วยงาน

ค. ให้มีความรู ้ที่หลากหลายในหน่วยงานอื่น

ง. ต้องการตอบสนองนโยบายผูบงคับบัญชา
                         ้ ั

36. ลักธรรมที่ทาให้เกิดความสาเร็จในการทางาน เรี ยกว่าหลักธรรมในข้อใด

ก. สังคหวัตถุ 4

ข. อิทธิบาท 4

ค. หิ ริ โอตัปปะ

ง. พรหมวิหาร

37. การประสานงานควรจะประสานข้อใดก่อนเป็ นอันดับแรก

ก. ประสานคน

ข. ประสานวางแผนงาน

ค. ประสานความรู ้
ง. ประสานเนื้อหา

38. ข้อใดคือเป้ าหมายของการจัดการความรู ้ในองค์กร

ก. พัฒนาคน พัฒนางาน ประสานสัมพันธ์

ข. พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาสังคม

ค. พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กร

ง. ถูกทุกข้อ

39. ข้อใดเป็ นความหมายของมนุษยสัมพันธ์

ก. การยอมรับนับถือและเต็มใจที่จะทางานร่ วมก ัน

ข. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหนึ่งหรื อหลายคน

ค. เป็ นศิลปะที่จะทาตัวให้เข้าก ับคนอื่นได้ดี

ง. เป็ นการเสริ มสร้างความรู ้ในองค์กร

40. ความเป็ นผูนา มีความเกียวข้องก ับข้อใดมากที่สุด
               ้           ่

ก. การใช้ศิลปะในการจูงใจคนให้ร่วมมือก ับตน

ข. การใช้ศิลปะในการทางาน

ค. การใช้ศิลปะในการนากลุ่ม

ง. การใช้อานาจในกลุ่ม

41. ผูอานวยการหัสดี เป็ นคนที่สามารถเข้าก ับชุมชนได้ดี
      ้

ทาให้ชุมชนรักและยกย่อง แสดงว่ามีคุณธรรมข้อใด
ก. ปริ สญํุตา
        ั

ข. อัตตัญํุตา

ค. ปุคคลปโรปรัญํุตา

ง. กาลัญํุตา

42. ตาแหน่งครู ในสถานศึกษาถูกลงโทษทางวินยไม่ร้ายแรงต้องขออุทธรณ์ก ับข้อใด
                                        ั

ก. ผูอานวยการสถานศึกษา
     ้

ข. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

ค. ก.ค.ศ.

ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
     ้

43. การอุทธรณ์คาสังโทษทางวินยต้องดาเนินการภายในกีวนนับแต่วนได้รบแจ้งคาสัง
                  ่         ั                    ่ั       ั ั           ่

ก. 15 วัน

ข. 20 วัน

ค. 30 วัน

ง. 40 วัน

44. ตาแหน่งครู ในสถานศึกษาถูกลงโทษทางวินยร้ายแรงต้องขออุทธรณ์ก ับข้อใด
                                        ั

ก. ผูอานวยการสถานศึกษา
     ้

ข. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

ค. ก.ค.ศ.
ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
     ้

45. วินยและการรักษาวินยของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษากาหนด
       ั              ั

ไว้ในกฎหมายใด

ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อน 2551

ข. พระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546

ค. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542

ง. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

46. ข้อใดมีความสาคัญต่อการประสานงานมากที่สุด

ก. ความสามารถในการปฏิบติ
                      ั

ข. ความสามารถในการรับฟัง

ค. ความสามารถในการโน้มน้าวจิติใจ

ง. ความรู ้ความเข้าใจในงาน/โครงการ

47. ลักษณะความผิดทางวินยข้าราชการ ข้อใดถูกต้อง
                       ั

ก. ไม่มีมีอายุความ

ข. ไม่สามารถยอมความก ันได้

ค. ชดใช้ดวยเงินเพื่อลบล้างความผิดได้
         ้

ง. ถูกทุกข้อ

48. ใครเป็ นคนแต่งตั้งกรรมการสอบสวนกรณี ขาราชการครู ในโรงเรี ยนถูกกล่าวว่า
                                         ้
กระทาผิดวินยไม่ร้ายแรง
           ั

ก. ก.ค.ศ.

ข. อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา

ค. ผูอานวยการโรงเรี ยน
     ้

ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
     ้

49. นางสาวปุ้ ย ตาแหน่งครู ผช่วย ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินยร้างแรง
                            ู้                           ั

ใครเป็ นแต่งตั้งกรรมการสอบสอบ

ก. ก.ค.ศ.

ข. อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา

ค. ผูอานวยการโรงเรี ยน
     ้

ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
     ้

50. ข้าราชการครู ในโรงเรี ยนเห็นว่าตนเองไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากการประเมิน

ความดีความชอบของคณะกรรมการระดับโรงเรี ยนที่ผูอานวยการแต่งตั้ง
                                             ้

มีสิทธิที่จะร้องทุกข์ตามข้อใด

ก. ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ.

ข. ร้องทุกข์ต่อ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา

ค. ร้องทุกข์ต่อ ผูอานวยการโรงเรี ยน
                  ้

ง. ร้องทุกข์ต่อผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่
                 ้
เฉลยแบบทดสอบ

1 ข 11 ก 21 ง 31 ก 41 ก

2 ค 12 ง 22 ข 32 ค 42 ข

3 ง 13 ก 23 ข 33 ข 43 ค

4 ง 14 ก 24 ค 34 ค 44 ค

5 ค 15 - 25 ง 35 ก 45 ง

6 ค 16 ค 26 ข 36 ข 46 ง

7 ก 17 ง 27 ค 37 ก 47 ค

8 ข 18 ง 28 ข 38 ค 48 ค

9 ง 19 ง 29 ง 39 ค 49 ค

10 ก 20 ค 30 ข 40 ก 50 ข

1.ค่านิยมที่ราชการครู พึงยึดปฏิบติมี 5 ประการ ยกเว้น
                                ั

ก. การรู ้จกพึ่งตนเอง
           ั

ข.การรู ้จกละวางความชัว *
          ั           ่

ค. การปฏิบติตามคุณธรรมศาสนา
          ั

ง. การรักษาระเบียบวินย เคารพกฏหมาย
                     ั

2. ค่านิยมหมายถึง

ก. การยึดถือว่าสิ่งใดดี ชัว
                          ่
ข. เกณฑ์ที่ระบุว่าควรประพฤติอย่างไร

ค.การประกอบความดีตามสภาพแวดล้อม

ง. ความเห็นเกียวก ับชีวิตและความประพฤติด *
              ่

3. ค่านิยมมีความสาคัญต่อการมีชีวิตของมนุษย์อย่างไร

ก.เป็ นแบบขนบประเพณี

ข.เป็ นแนวทางในการดาเนินชีวติมนุษย์*

ค. เป็ นแบบอย่างของสังคมที่ผคนควรยึดถือเป็ นแบบอย่าง
                            ู้

ง.เป็ นหลักในการประเมินค่าของความประพฤติของคนในสังคม

4.ข้อใดมิใช่สุขขั้นพื้นฐานที่อท้จริ งของมนุษย์

ก. สุขอันเกิดจากการได้ชิมรสอาหารอร่ อย*

ข. สุขอันเกิดจากการมีทรัพย์

ค.สุขอันเกิดจากการไม่มีหนี้

ง.สุขอันเกิดแต่การประกอบงานที่ไม่มีโทษ

5. ข้อใดเป็ นลักษณะของค่านิยมที่แท้จริ ง

ก. การแต่งกายตามสมัยนิยม

ข. การเท่าทันโลกเหตการณื

ค. การพูดจากริ ยาเรี ยบร้อย*

ง. การเป็ นคนมีเกียรติในสังคม
6. ข้อใดมีอิทธิพลต่อการเกิดค่านิยมของคนในชาติมาที่สุด

ก. การเอาอย่างเพื่อน

ข. ความต้องการของรัฐ

ค. การเรี ยนรู ้จากตารา บทเรี ยน

ง. ความรักความพอใจในสิ่งที่ตนชอบ*

7.คุณธรรมที่ช่วยพัฒนาสังคมข้อใดมีส่วนช่วยพัฒนาจิตใจในบุคคล

ก. การมีวินย*
           ั

ข. การไม่เบียดเบียน

ค. การเคารพความคิดเห็นของผูอื่น
                           ้

ง. การกล้าคัดค้านความเห็นที่ผิด ๆ

8.การที่เรามีจริ ยธรรมจะได้ประโยชน์อะไร

ก. ทาให้อิ่มกาย

ข. ทาให้อิ่มใจ*

ค. ทาให้อิ่มเกียรติ

ง. ทาให้สมบูรณ์ท้ งกายและใจ
                  ั

9. คุณธรรมที่เป็ นหลักปฏิบติให้ถึงความสาเร็จ
                          ั

ก. สังคหวัตถุ 4

ข. พรมวิหาร 4
ค. อิทธิบาท 4 *

ง. ทิศ 6

10.สละที่นงบนรถเมลให้ก ับสตรี เด็ก และคนชรา แสงดถึงวัฒนาธรรมใด
          ่ั

ก. คติธรรม

ข. สหธรรม*

ค. วัตถุธรรม

ง. เนติธรรม



ข้อที่ * คือคาตอบ ใครมีแนวข้อสอบอีกก็เอามาแบ่งปั นก ันนะ
สรุ ปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551



สรุ ปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551

สอบ ป.โท



สรุ ปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551



การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของชาติ ถือเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อสร้างคนให้เป็ น
คนดี มีปัญญา มีความสุข และมีศกยภาพพร้อมที่จะแข่งขันในเวทีโลก ไม่ว่าจะหลักสูตรใดก็ตาม หากนาไปใช้
                             ั
แล้วพบว่ามีขอจาก ัดบางประการก็จาเป็ นต้องมีการปรับปรุ ง หรื อเปลี่ยนแปลงหลักสูตรที่มีอยูให้ดีข้ ึน
            ้                                                                           ่
เช่นเดียวก ับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หลังการนาไปใช้ระยะหนึ่ง จากการศึกษาวิจย
                                                                                               ั
พบว่า มีปัญหาบางประการ เช่น ด้านตัวชี้วดหรื อคุณลักษณะความรู ้ความสามารถของผูเ้ รี ยนภายหลังจากเรี ยน
                                       ั
จบแต่ละช่วงชั้นแล้วยังขาดความชัดเจน อีกทั้งครู ผูสอนโดยเฉพาะครู ในโรงเรี ยนขนาดเล็กซึ่งมีอยูจานวนมาก
                                                 ้                                          ่
ไม่สามารถออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกาหนดไว้ได้



หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 จัดทาขึ้นเพื่อใหเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานระดับ
ท้องถิ่นและสถานศึกษานาไปเปนกรอบและทิศทางพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรี ยนการสอน จากข้อค้นพบ
ในการศึกษาวิจยและติดตามผล การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่กล่าวถึง ประกอบก ับ
             ั
ข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 10 เกียวก ับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และ
                                                        ่
จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 1 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มี
ความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้ าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมพัฒนา
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ

Contenu connexe

Tendances

แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 

Tendances (20)

อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 

Similaire à สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์Krusupharat
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 

Similaire à สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่
 

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ

  • 1. สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 เป็ นการสรุ ปสาระสาคัญเกียวก ับ พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 โดยย่อเพื่อความเข้าใจได้ง่ายครับ โดยแยก ่ เป็ นหมวดๆดังนี้ หมวด 1 บททัวไป ความมุ่งหมายและหลักการ ่ พระราชบัญญัติฉบับนี้มีเจตนารมณ์ที่ตองการเน้นย้าว่าการจัดการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น ้ มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู ้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยูร่วมก ับผูอื่นได้อย่างมีความสุข ่ ้ การจัดการศึกษา ให้ยดหลักดังนี้ ึ 1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน 2) ให้สงคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา ั 3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง สาหรับเรื่องการจัดระบบ โครงสร้ างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ ยดหลักดังนี้ ึ 1) มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบติ ั 2) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประก ันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและประเภท 4) มีหลักการส่งเสริ มมาตรฐานวิชาชีพและการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา 6) การมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอก ชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
  • 2. บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอก ันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่นอยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทัวถึง ้ ่ และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย - บุคคล ซึ่งมีความบกพร่ องทางด้านต่าง ๆ หรื อมีร่างกายพิการ หรื อมีความต้องการเป็ นพิเศษ หรื อผูดอยโอกาส ้้ มีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ นพิเศษ - บิดามารดา หรื อผูปกครองมีหน้าที่จดให้บุตรหรื อบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาทั้งภาคบังคับ และ ้ ั นอกเหนือจากภาคบังคับตามความพร้อมของครอบครัว - บิดามารดา บุคคล ชุมชน องค์กร และสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมที่สนับสนุนหรื อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิ ได้รับสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี ดงนี้ ั - การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู ้ ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรหรื อผูซ่ ึงอยูใน ้ ่ ความดูแล รวมทั้งเงินอุดหนุนสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน - การลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา หมวด 3 ระบบการศึกษา การจัดการศึกษามีสามรู ปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาจัดได้ท้ งสามรู ปแบบ และให้มีการเทียบโอนผลการเรี ยนที่ผูเ้ รี ยนสะสมไว้ระหว่างรู ปแบบเดียวก ัน ั หรื อต่างรู ปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็ นผลการเรี ยนจากสถานศึกษาเดียวก ันหรื อไม่กตาม การศึกษาในระบบมีสอง ็ ระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งจัดไม่นอยกว่า 12 ปี ก่อนระดับอุดมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ซึ่งแบ่งเป็ น ้ ระดับต่ากว่าปริ ญญา และระดับปริ ญญา ให้มีการศึกษาภาคบังคับเก ้าปี นับจากอายุยางเข้าปี ที่เจ็ด จนอายุยางเข้าปี ที่สิบหก หรื อเมื่อสอบได้ช้ นปี ที่เก ้าของ ่ ่ ั
  • 3. การศึกษาภาคบังคับ - สาหรับเรื่ องสถานศึกษานั้น การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้จดใน ั 1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2) โรงเรี ยน ได้แก่ โรงเรี ยนของรัฐ เอกชน และโรงเรี ยนที่สงก ัดสถาบันศาสนา ั 3) ศูนย์การเรี ยน ได้แก่ สถานที่เรี ยนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรี ยน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ ่ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็ นผูจด ้ั - การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้จดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรื อ หน่วยงานทื่เรี ยกชื่ออย่างอื่น ั ทั้งนี้ให้เป็ นไปตามกฎหมายที่เกียวข้อง ่ - การจัดการอาชีวศึกษา การฝึ กอบรมวิชาชีพ ให้จดในสถานศึกษาของรัฐ สถาน ศึกษาของเอกชน สถาน ั ประกอบการ หรื อโดยความร่ วมมือระหว่างสถานศึกษาก ับสถานประกอบการ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา เฉพาะทางตามความต้องการและความชานาญของ หน่วยงานนั้นได้โดยคานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด ผูเ้ รี ยนทุกคน สามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้ ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริ มให้ผูเ้ รี ยน ได้พฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการ ั ศึกษาทั้งสามรู ปแบบในหมวด 3 ต้องเน้นทั้งความรู ้ คุณธรรม และ กระบวนการเรี ยนรู ้ ในเรื่ องสาระความรู ้ ให้ บูรณาการความรู ้และทักษะด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมก ับแต่ ละระดับการศึกษา ได้แก่ ด้านความรู ้เกียวก ับตนเอง ่ และความสัมพันธ์ระหว่างตนเองก ับสังคม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านศาสนา ศิลป วัฒนธรรม การ กีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ด้านภาษา โดยเฉพาะการใช้ภาษาไทย ด้านคณิ ตศาสตร์ ด้าน การประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมีความสุข ในเรื่ องการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้จดเนื้อหาสาระและ ั กิจกรรมที่สอดคล้องก ับ ความสนใจ ความถนัดของผูเ้ รี ยน และความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งให้ฝึกทักษะ
  • 4. กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู ้มาใช้ป้องก ันและแก ้ปั ญหา จัด กิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนฝึ กปฏิบติจริ ง ผสมผสานสาระความรู ้ดานต่าง ๆ อย่างสมดุล และปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดี ั ้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกวิชา นอกจากนั้น ในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ยงต้องส่งเสริ มให้ผูสอน จัด ั ้ บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ ใช้การวิจยเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรี ยนรู ้ ผูสอนและ ั ้ ผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนรู ้ไปพร้อมก ันจากสื่อและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ จัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุก สถานที่ มีการประสานความร่ วมมือก ับผูปกครองและชุมชน รวมทั้งส่งเสริ มการดาเนินงาน และการจัดตั้งแหล่ง ้ การเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตทุกรู ปแบบ การประเมินผลผูเ้ รี ยน ให้สถานศึกษาพิจารณาจากพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ความ ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรี ยน การร่ วมกิจกรรม และการทดสอบ ส่วนการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษา ต่อ ให้ใช้วิธีการที่หลากหลายและนาผลการประเมินผูเ้ รี ยนมาใช้ประกอบด้วย หลักสูตรการศึกษาทุกระดับและ ทุกประเภท ต้องมีความหลากหลาย โดยส่วน กลางจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นความเป็ น ไทยและความเป็ นพลเมืองดี การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อและให้สถานศึกษา ขั้นพื้นฐานจัดทาหลักสูตรในส่วนที่เกียวก ับสภาพปั ญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณลักษณะ ่ ของสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนสังคมและประเทศชาติ สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิ่มเรื่ อง การพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการค้นคว้าวิจย เพื่อพัฒนาองค์ความรู ้และสังคมศึกษา ั หมวด 5 การบริ หารและการจัดการศึกษา ส่ วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ แบ่งเป็ นสามระดับ คือ ระดับชาติ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา เพื่อเป็ นการกระจายอานาจลง ไปสู่ทองถิ่น และสถานศึกษาให้มากที่สุด ้ 1.1 ระดับชาติ ให้มีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอานาจหน้าที่ กาก ับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมทั้ง การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาสนับสนุนทรัพยากร
  • 5. รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีองค์กรหลักที่เป็ นคณะ บุคคลในรู ปสภาหรื อคณะกรรมการสี่ องค์กร คือ -สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่ งชาติ -คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน -คณะกรรมการการอุดมศึกษา -คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม -มีหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นหรื อให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรี หรื อคณะรัฐ มนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่นตามที่ กฎหมายกาหนด -ให้สานักงานของทั้งสี่องค์กรเป็ นนิติบุคคล มีคณะกรรมการแต่ละองค์กร ประกอบด้วยกรรมการ โดยตาแหน่ง จากหน่วยงานที่เกียวข้อง ผูแทนองค์กรเอกชน ผูแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผูแทนองค์กรวิชาชีพ และ ่ ้ ้ ้ ผูทรงคุณวุฒิซ่ ึงมีจานวนไม่นอยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมก ัน มีเลขาธิการของแต่ละสานัก ้ ้ งาน เป็ นกรรมการและเลขานุการ -สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่ งชาติ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา ของชาติ นโยบายและแผนด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม การสนับสนุนทรัพยากร การประเมินผลการจัด การศึกษา การดาเนินการด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการพิจารณากลันกรองกฎหมายและ ่ กฎกระทรวง -คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องก ับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่ งชาติ การ สนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน -คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่
  • 6. สอดคล้องก ับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงความเป็ นอิสระตามกฎหมายว่าด้วย การจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่ ง -คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายและแผนพัฒนาที่สอดคล้องก ับ แผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลการดาเนินการด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สถานศึกษาของรัฐที่จดการศึกษาระดับปริ ญญาเป็ น ั นิติบุคคล ดาเนินการจัดการศึกษาและอยูภายใต้การกาก ับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง ่ สถานศึกษานั้น ๆ 1.2 ระดับเขตพืนที่การศึกษา ้ การบริ หารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอุดมศึกษาระดับต่า กว่าปริ ญญา ให้ยดเขตพื้นที่การศึกษา ึ โดยคานึงถึงปริ มาณสถานศึกษา และจานวนประชากรเป็ นหลัก รวมทั้งความเหมาะสมด้านอื่นด้วย ในแต่ละเขต พื้นที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการและสานักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษา ทาหน้าที่ ในการกาก ับดูแลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริ ญญา ประสานส่งเสริ ม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาประสานและส่งเสริ มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องก ับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริ มและสนับสนุนการจัดการศึกษาของ บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สังคมอื่นที่จดการศึกษาในรู ปแบบที่หลากหลาย รวมทั้งการกาก ับดูแลหน่วยงานด้านศาสนา ศิลปะและ ั วัฒนธรรมในเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วยผูแทนองค์กรชุมชน ผูแทน ้ ้ องค์กรเอกชน ผูแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผูแทนสมาคมผูประกอบวิชาชีพครู และผูประกอบวิชาชีพ ้ ้ ้ ้ บริ หารการศึกษา ผูแทนสมาคมผูปกครองและครู ผูนาทางศาสนาและผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา ศาสนา ้ ้ ้ ้ ้ ศิลปวัฒนธรรม โดยให้ผูอานวยการสานักงานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษาเป็ นกรรมการ ้ และเลขานุการของคณะกรรมการ
  • 7. 1.3 ระดับสถานศึกษา ให้แต่ละสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถานศึกษาอุดมศึกษาระดับ ต่ากว่าปริ ญญา มีคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อทาหน้าที่กาก ับและส่งเสริ มสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาและจัดทาสาระของหลักสูตรในส่วนที่เกียวก ับ ่ สภาพปั ญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คณะกรรมการสถานศึกษา ่ ประกอบด้วย ผูแทน ผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทนองค์กรชุมชน ผูแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผูแทนศิษย์ ้ ้ ้ ้ ้ ้ เก่าของสถานศึกษา และผูทรงคุณวุฒิ และให้ผบริ หารสถานศึกษาเป็ นกรรมการและเลขานุการของ ้ ู้ คณะกรรมการ ทั้งนี้ ให้กระทรวงกระจายอานาจ ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริ หารงานบุคคล และการ บริ หารทัวไป ไปยังคณะกรรมการและสานักงานการศึกษาฯ เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่ ่ การศึกษาโดยตรง ส่ วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถินจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทตามความพร้อม ความเหมาะสมและ ่ ความต้องการภายในท้องถิ่น เพื่อเป็ นการรองรับสิทธิและการมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามที่กาหนดในรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย โดยกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินความพร้อม รวมทั้งประสานและส่งเสริ มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาได้ ส่ วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน สถานศึกษาเอกชนเป็ นนิติบุคคลจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท มีคณะกรรมการบริ หาร ประกอบด้วย ผูบริ หารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองค์กรชุมชน ผูแทนครู ผูแทนศิษย์เก่าและ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ผูทรงคุณวุฒิ การบริ หารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็ นอิสระ โดยมีการกาก ับ ติดตาม ประเมิน ้ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และต้องปฏิบติตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพและมาตรฐาน ั การศึกษาเช่นเดียวก ับสถานศึกษาของรัฐ รวมทั้งรัฐต้องให้การสนับสนุนด้านวิชาการและด้านเงินอุดหนุน การ ลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษี รวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นตามความเหมาะสม ทั้งนี้ การกาหนดนโยบายและแผนการ
  • 8. จัดการศึกษาของรัฐของเขตพื้นที่การศึกษา หรื อขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้คานึงถึงผลกระทบต่อการ จัดการศึกษาของเอกชน โดยให้รับฟังความคิดเห็นของเอกชน และประชาชนประกอบการพิจารณาด้วย ส่วน สถานศึกษาของเอกชนระดับปริ ญญา ให้ดาเนินกิจการโดยอิสระภายใต้การกาก ับดูแลของสภาสถานศึกษาตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน หมวด 6 มาตรฐานและการประก ันคุณภาพการศึกษา ให้มีระบบการประก ันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประก ันคุณภาพภายใน และระบบการ ประก ันคุณภาพภายนอก หน่วยงานต้นสังก ัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประก ับคุณภาพภายใน ซึ่งเป็ น ส่วนหนึ่งของการบริ หาร และจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานที่เกียวข้องและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน ให้ ่ มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ งอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี โดยสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็ นองค์การมหาชนทาหน้าที่พฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินและจัดให้ ั มีการประเมินดังกล่าว รวมทั้งเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกียวข้องและสาธารณชน ในกรณี ที่ผลการ ่ ประเมินภายนอกไม่ได้มาตรฐานให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ จัดทาข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานต้นสังก ัด ให้ สถานศึกษาปรับปรุ ง ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนินการ ให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ รายงานต่อ คณะกรรมการต้นสังก ัด เพื่อให้ดาเนินการปรับปรุ งแก ้ไขต่อไป หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้กระทรวงส่งเสริ มให้มีระบบ กระบวนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มี คุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมก ับการเป็ นวิชาชีพชั้นสูง โดยรัฐจัดสรรงบประมาณและกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอ มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ ฯลฯ ให้มี องค์กรวิชาชีพครู ผูบริ หารสถานศึกษา และผูบริ หารการศึกษา เป็ นองค์กรอิสระมีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรฐาน ้ ้ วิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ รวมทั้งกาก ับดูแลการปฏิบติตามมาตรฐานและ ั จรรยาบรรณของวิชาชีพ
  • 9. ครู ผูบริ หารสถานศึกษา ผูบริ หารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชน ต้องมีใบอนุญาต ้ ้ ประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ ยกเว้น ผูที่จดการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาในศูนย์การเรี ยน วิทยากรพิเศษ และ ้ ั ผูบริ หารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา ้ ให้ขาราชการของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาและระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็ นข้าราชการใน ้ สังก ัดองค์กรกลางบริ หารงานบุคคลของข้าราชการครู ตามหลักการกระจายอานาจการบริ หารงานบุคคลสู่เขต พื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนามาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ และ การบริ หารงานบุคคลของข้าราชการหรื อพนักงานของรัฐในสถานศึกษาระดับปริ ญญาที่เป็ นนิติบุคคลให้เป็ นไป ตามกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษานั้น ๆ หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ สถาบันสังคมอื่นและต่างประเทศมาใช้จดการศึกษา โดยให้รัฐและองค์กรปกครองส่วน ั ท้องถิ่น ใช้มาตรการภาษีส่งเสริ มและให้แรงจูงใจ รวมทั้งใช้มาตรการลดหย่อน หรื อยกเว้นภาษีตามความ เหมาะสม สถานศึกษาของรัฐที่เป็ นนิติบุคคล มีอานาจในการปกครอง ดูแล บารุ งรักษา ใช้และจัดหาผลประโยชน์จาก ทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็ นที่ราชพัสดุ และที่เป็ นทรัพย์สินอื่น รวมทั้งหารายได้จากบริ การของ สถานศึกษาที่ไม่ขดก ับภารกิจหลักอสังหาริ มทรัพย์ที่สถานศึกษาของรัฐได้มา ทั้งจากผูอุทิศให้หรื อซื้อหรื อ ั ้ แลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษา ให้เป็ นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา บรรดารายได้และผลประโยชน์ต่าง ๆ ของสถานศึกษาของรัฐดังกล่าว ไม่เป็ นรายได้ที่ตองส่งกระทรวงการคลัง ้
  • 10. ให้สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็ นนิติบุคคล สามารถนารายได้และผลประโยชน์ต่าง ๆ มาจัดสรรเป็ นค่าใช้จ่ายใน การจัดการศึกษาของสถาบันนั้น ๆ ได้ตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกาหนด ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้ก ับการศึกษา โดยจัดสรรให้ผูเ้ รี ยนและสถานศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชน ใน รู ปแบบต่าง ๆ เช่น ในรู ปเงินอุดหนุนทัวไปเป็ นค่าใช้จ่ายรายบุคคล กองทุนประเภทต่าง ๆ และทุนการศึกษา ่ รวมทั้งให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบ ประมาณการจัดการศึกษาด้วย หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนาและโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุ โทรคมนาคม และการสื่อสารในรู ปอื่นเพื่อประโยชน์สาหรับการศึกษา การทะนุบารุ ง ศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรมตามความจาเป็ น รัฐส่งเสริ มสนับสนุนให้มีการวิจยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาแบบเรี ยน ตารา สื่อ ั สิ่งพิมพ์อ่น วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยจัดให้มีเงินสนับสนุนและเปิ ดให้มีการแข่งขันโดย ื เสรี อย่างเป็ นธรรม รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผูผลิตและผูใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ผูเ้ รี ยนได้พฒนาขีดความสามารถ ้ ้ ั ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ อันจะนาไปสู่การแสวงหาความรู ้ได้ดวยตนเองอย่าง ้ ต่อเนื่องตลอดชีวิต ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทานและผล กาไรที่ได้จากการดาเนินกิจการ ด้านสื่อสารมวลชขน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ ายที่ เกียวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน รวมทั้งให้มีการลดอัตราค่าบริ การเป็ นพิเศษในการใช้ ่ เทคโนโลยี ให้มีหน่วยงานกลาง ทาหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริ ม และประสานการวิจย การพัฒนาและการใช้ ั
  • 11. รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา บทเฉพาะกาล 1. นับแต่วันที่พระราชบัญญัตนใช้ บงคับ ิ ี้ ั - ให้กฏหมาย ข้อบังคับ คาสัง ฯลฯ เกียวก ับการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒน ธรรมเดิมที่ใช้อยูยงคงใช้บงคับ ได้ ่ ่ ่ั ั ต่อไป จนกว่าจะมีการปรับปรุ งแก ้ไขตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินห้าปี - ให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษาที่มีอยู่ ยังคงมี ฐานะและอานาจหน้าที่เช่นเดิม จนกว่าจะจัดระบบการบริ หารและการจัดการศึกษาใหม่ตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินสามปี - ให้ดาเนินการออกกฎกระทรวง เพื่อแบ่งระดับและประเภทการศึกษาของการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งการแบ่ง ระดับหรื อการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรื อการศึกษาตามอัธยาศัยให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี . 2. ในวาระเริ่มแรก มิให้ นา - บทบัญญัติเกียวก ับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสิบสองปี และการศึกษาภาค บังคับเก ้าปี มาใช้บงคับ จนกว่าจะ ่ ั มีการดาเนินการให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินห้าปี นับจากวันที่รัฐธรรมนูญใช้บงคับ และ ั ภายในหกปี ให้กระทรวงจัดให้สถานศึกษาทุกแห่ ง มีการประเมินผลภายนอกครั้งแรก - นาบทบัญญัติในหมวด 5 การบริ หารและการจัดการศึกษา และหมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ ศึกษามาใช้บงคับจนกว่าจะมีการดาเนินการให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี ซึ่งต้องไม่เกินสามปี ั - ทั้งนี้ขณะที่การจัดตั้งกระทรวงยังไม่แล้วเสร็จให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ รัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้ออกกฎกระทรวงระเบียบ และ ประกาศเพื่อปฏิรูปตามพระราชบัญญัติน้ ีในส่วนที่เกียวก ับอานาจหน้าที่ของตน รวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการ ่ ทบวงมหาวิทยาลัย และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ ทาหน้าที่กระทรวงการศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมในส่วนที่เกียวข้องแล้วแต่กรณี ่ 3. ให้ จัดตั้งสานักงานปฏิรูปการศึกษา เป็ นองค์ การมหาชนเฉพาะกิจ ทาหน้ าที่ - เสนอการจัดโครงสร้าง องค์กร การแบ่งส่วนงาน ตามสาระบัญญัติในหมวดที่ว่า ด้วยการบริ หารและการจัด
  • 12. การศึกษา การจัดระบบครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การจัดระบบทรัพยากร และการลงทุนเพื่อ การศึกษา - เสนอร่ างกฎหมาย และปรับปรุ งแก ้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ และคาสัง ในส่วนที่เกียวก ับการจัด ่ ่ โครงสร้างและระบบต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นเพื่อให้สอดคล้องก ับพระราชบัญญัติน้ ี - ตามอานาจหน้าที่อื่นที่กาหนดในกฎหมายองค์การมหาชน 4. คณะกรรมการบริหารสานักงานปฏิรูปการศึกษามีเก้ าคน ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการ ซึ่ง คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูมีความรู ้ ความสามารถ มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญ ด้านการบริ หาร ้ การศึกษา การบริ หารรัฐกิจ การบริ หารงานบุคคล การงบประมาณการเงินและการคลัง กฎหมายมหาชน และ กฎหมายการศึกษา ทั้งนี้ ต้องมีผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งมิใช่ขาราชการหรื อผูปฎิบติงานในหน่วยงานของรัฐ ไม่นอยกว่า ้ ้ ้ ั ้ สามคน ให้เลขาธิการสานักงานปฏิรูปการศึกษา เป็ นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการและเลขาธิการมี วาระการตาแหน่งวาระเดียว เป็ นเวลาสามปี ทั้งนี้ ให้มีคณะกรรมการสรรหา จานวนสิบห้าคน ทาหน้าที่เสนอชื่อบุคคลที่สมควร เป็ นคณะกรรมการบริ หาร สานักงานปฏิรูปการศึกษา จานวนสิบแปดคนเพื่อให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาแต่งตั้งเป็ นคณะกรรมการบริ หาร สานักงานปฏิรูป จานวนเก ้าคน
  • 13. แนวข้อสอบครู ผช่วย ู้ 1. ถ้าเปรี ยบงานครู เหมือนปลูกต้นไม้กจกรรมใดตรงก ับบทบาทของครู มากที่สุด ิ ก. เตรี ยมดินเพื่อปลูกกล้า ข. บารุ งรักษากล้า รดน้ า พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ค. กาจัดศัครู พืชให้ออกดอกงอกงาม ง. เก็บผลผลิตและแปรรู ปเพื่อให้ได้ราคา เฉลย ก. 2. ทุกวันนี้การปฏิบติงานของครู บางหมู่ รู ้วึกทัวก ันว่า ครู ไม่ค่อยห่ วงประโยชน์ที่ควรห่ วงไปห่ วง ยศ ตาแหน่ง ั ่ สิทธิ รายได้ ท่านมทีความคิดเห็นอย่างไร ก. เป็ นธรรมดาที่คนเรามักนึกถึงตนเอง ข. เศราฐกิจในปั จจุบนผลักดันให้ครู บางคนต้องทาเช่นนั้น ั ค.ครู ที่อุทิศตนเพื่องานครู โดยแท้มีนอย ้ ง. การทางานของผูประกอบอาชีพอื่นบางกลุ่มก็เป็ นแบบเดียวก ัน ้ เฉลย ค. 3.ท่านคิดว่าความสาเร็จในการสอบคัดเลือกของท่านมีปัจจัยใดเป็ นสิ่งสาคัญ ก. ตั้งใจจริ งที่จะเป็ นครู ข. กาลังใจที่ท่านได้รับจากผูใกล้ชิด ้ ค. การที่ท่านเอาใจใส่ต่อการเรี ยนอย่างสมาเสมอ
  • 14. ง. ข้อแนะนาที่ได้รับจากอาจารย์แนะแนว เฉลย ก 4. ใครเป็ นผูมีวินย ้ ั ก. สมศรี ทาความเคารพครู ทุกครั้งเมื่อเดินสวนก ับครู ข. มารศรี แต่งกายตามระเบียบของโรงเรี ยน ค. มนัสลอกการบ้านเพื่อนก่อนส่งครู ตามที่ครู กาหนด ง. สมศักดิ์ช่วยลบกระดานให้ครู เฉลย ข 5. ข้อใดเป็ นวิธีการรักษาวินยที่ดีที่สุด ั ก. วินยที่ใช้เหตุผลส่วนตัว ั ข. วินยต่อหมู่คณะ ั ค. วินยที่ใช้อานาจเฉี ยบขาด ั ง.ถูกทุกข้อ เฉลย ข 6.ข้อใดคือสาเหตุที่ทาให้นกเรี ยนผิดวินย ั ั ก. สภาพแวดล้อมเกียวก ับตัวนักเรี ยน ่ ข. สภาพสิ่งแวดล้อม ค.ครู
  • 15. ง.ถูกทุกข้อ เฉลย ง 7.ความรู ้ข้ นสูงสุดคือข้อใด ั ก. ข้อมูล ข.สารสนเทศ ค.ความรู ้ ง. ปั ญญา เฉลย ง 8.การจัดการความรู ้ มาจากคาว่า ก. IT ข.IM ค. KM ง. KI เฉลย ง 9. ในความรู ้สึกของท่าน ครู เปรี ยบเหมือนอะไร ก. แหล่งสะสมความรู ้ ข. แหล่งให้คาปรึ กษา ค. แหล่งพักพิง
  • 16. ง. แหล่งรวมนาใจ เฉลย ข 10.ภาระหน้าที่ของครู ในปั จจุบนควรเน้นการปฏิบติตรามข้อใดมากที่สุด ั ั ก. ถ่ายทอดความรู ้ ข. สนับสนุนให้นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ ั ค. ค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติมให้ทนสมัยอยูเ่ สมอ ั ง. เป็ นแบบอย่างที่ดี เฉลย ข Create Date : 20 กรกฎาคม 2554 3 comment Last Update : 20 กรกฎาคม 2554 20:15:47 น. สังคม เศรษฐกิจการเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบน ั 1. ข้อใดหมายถึง เจตคติ ก. ATTITUDA
  • 17. ข. ATTITUDE ค. ATTITUGE ง. ATTITDUE 2. ข้อใดคือความหมายของเจตคติ ก. ความรู ้สึก ความคิดเห็น หรื อความโน้มเอียง ข. ความเชื่อของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ค. สถานการณ์ ซึ่งสามารถประเมินค่าออกมาในทางบวกและทางลบ ง. ถูกทุกข้อ 3. ท่านคิดว่าใครเป็ นผูที่มีเจตคติต่อวิชาชีพครู ้ ก. สมศักดิ์อยากเป็ นครู เหมือนพ่อ ข. สมชายไม่อยากเป็ นครู เพราะราคาญเด็ก ค. สมศรี เห็นว่าวิชาชีพครู เป็ นวิชาชีพชั้นสูง ง. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใดไม่ถูกต้องเกียวก ับเจตคติ ่ ก. แนวทางที่เราคิดรู ้สึก หรื อมีท่าทีที่จะกระทาต่อบางสิ่งบางอย่าง ข. แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก ับวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่ง ค. เป็ นความรู ้สึกนึกคิดที่กอสร้างขึ้นจากการเรี ยนรู ้ ่ ง. เป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นติดตัวมาแต่กาเนิด
  • 18. 5. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของเจตคติ ก. พุทธิปัญญา ข. ความรู ้สึก ค. ความพอใจ ง. การปฏิบติ ั 6. ท่านคิดว่าปั จจุบนข้อใดคือปั ญหาที่สาคัญที่สุดเกียวก ับข้าราชการครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ั ่ ก. ปั ญหาครู ไปยุงเกียวก ับการเมือง ่ ่ ข. ปั ญหาเกียวก ับความรู ้ความสามารถของครู ่ ค. ปั ญหาเกียวก ับการขาดแคลนอัตรากาลังครู ่ ง. ปั ญหาการที่ครู ใช้เวลาสอนทาผลงานทางวิชาการ 7. ข้อใดไม่คุณสมบัติผขอรับใบอนุญาตเป็ นผูประกอบวิชาชีพควบคุม ู้ ้ ก. อายุไม่ต่ากว่ายีสิบปี ่ ข. มีวุฒิปริ ญญาทางการศึกษา ค. ปฏิบติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาทางการศึกษาไม่นอยกว่า 1ปี ั ้ ง. ถูกทุกข้อ 8. ข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพมีกมาตรฐาน ี่ ก. 2 มาตรฐาน ข. 3 มาตรฐาน
  • 19. ค. 4 มาตรฐาน ง. 5 มาตรฐาน 9. ข้อใดคือมาตรฐานความรู ้ผประกอบวิชาชีพครู ู้ ก. ปริ ญญาทางการศึกษา ข. ปริ ญญาตรี ทางการศึกษา ค. ไม่ต่ากว่าปริ ญญาทางการศึกษา ง. ไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี ทางการศึกษา 10. ข้อใดไม่ใช่มาตรฐานวิชาชีพ ก. จรรยาบรรณวิชาชีพ ข. มาตรฐานการปฏิบติงาน ั ค. มาตรฐานความรู ้และประสบการณ์วิชาชีพ ง. ถูกทุกข้อ 11. ผูประสงค์ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ให้ยนต่อผูใด ้ ื่ ้ ก. เลขาธิการคุรุสภา ข. คณะกรรมการคุรุสภา ค. ผูอานวยการสถานศึกษา ้ ง. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12. กรณี ที่มีผประกอบวิชาชีพ ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้อใดไม่ถูกต้อง ู้
  • 20. ก. ผูได้รับความเสียยืนข้อกล่าวหาต่อคุรุสภา ้ ่ ข. พ้น 1 ปี ไม่มีสิทธิในการกล่าวหา กล่าวโทษ ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเป็ นผูพิจารณา ้ ง. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็ นผูมีอานาจในการลงโทษ ้ 13. คาวินิจฉัยในกรณี ผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีกกรณี ี่ ก. 4 สถาน ข. 5 สถาน ค. 6 สถาน ง. 7 สถาน 14. ข้อใดไม่ใช่คาวินิจฉัยกรณี ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ก. ยกข้อกล่าวหา ข. ตักเตือน ค. ภาคทัณฑ์ ง. พักใช้ใบอนุญาต 16. หากถูกพักใช้ใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์ภายในกีวน ่ั ก. ภายใน 7 วัน ข. ภายใน 15 วัน ค. ภายใน 30 วัน
  • 21. ง. ภายใน 45 วัน 17. พระบิดาของครู ไทย หมายถึงข้อใด ก. ม.ล.ปิ่ น มาลากุล ข. กรมพระยาดารงราชานุภาพ ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว ่ ง. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ่ 18. กรณี ขาราชการครู ในโรงเรี ยนถูกเพิกถอนใบอนุญาต ข้อใดกล่าวถูกต้อง ้ ก. อานวยการโรงเรี ยนอาจเสนอให้เปลี่ยนตาแหน่งได้ ข. อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา เป็ นผูพิจารณาการเปลี่ยนตาแหน่ง ้ ค. ต้องดาเนินการเปลี่ยนตาแหน่งให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน ง. ถูกทุกข้อ 19. ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตรงก ับข้อใด ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข. ผูทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการเลือกก ันเอง ้ ค. คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูทรงคุณวุฒิ ้ ง. รัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูทรงคุณวุฒิใน คณะกรรมการคุรุสภา ้ 20. ข้อใดไม่ใช่เป็ นลักษณะสาคัญของวิชาชีพครู ก. มีองค์กรวิชาชีพ
  • 22. ข. กฎหมายเกียวก ับวิชาชีพ ่ ค. มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู ง. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 21 จากสภาพเศรษฐกิจในปั จจุบน ในฐานะที่เราเป็ นครู เราควรนาเอาหลักธรรมในข้อใด ั มายึดถือปฎิบติ ั ก. สังคหวัตถุ ข. อิทธิบาท ค. พรหมวิหาร ง. สัปปุริสธรรม 22.ก ัลยาณมิตร 7 ข้อใดหมายถึง ความมีเหตุผล ก. ปิ โย ข. วัตตา ค. ภาวนีโย ง. คัมภีรังกถังกตา 23. ครู ที่ลงโทษนักเรี ยนด้วยวิธีการที่รุนแรง ไม่เป็ นไป ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษ แสดงว่าขาดคุณธรรมข้อใดมากที่สุด ก. ความเมตตา ข. สติสมปปั สชัญญะ ั
  • 23. ค. หิ ริ โอตัปปะ ง. ขันติ โสรัจจะ 24. “ผูที่ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติ ปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ้ ั ทั้งทางกาย วาจา และ จิตใจ” หมายถึงจรรยาบรรณด้านใด ก. จรรยาบรรณต่อตนเอง ข. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ค. จรรยาบรรณต่อผูรับบริ การ ้ ง. จรรยาบรรณต่อสังคม 25. ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณต่อผูรับบริ การ ้ ก. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริ ม ให้กาลังใจแก่ศิษย์ ข. ต้องส่งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ ทักษะและนิสยที่ ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผูรับบริ การ ั ้ ค. ต้องให้บริ การด้วยความจริ งใจและเสมอภาค ง. ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือ เกือกูลซึ่งก ันและก ัน อย่างสร้างสรรค์ ้ 26. ข้อใดไม่ใช่จรรยาบรรณต่อสังคมของผูประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา ้ ก. ยึดมันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ่ ์ ข. โดยยึดมันในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคี ในหมู่ให้เกิดขึ้นในสังคม ่ ค. พึงประพฤติปฏิบติตนเป็ นผูนาในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ั ้ ง. รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม
  • 24. 27. KM ย่อมาจากข้อใด ก. KNOWLEDGE MANAGER ข. KNOWLEDGE MANAGATION ค. KNOWLEDGE MANAGEMENT ง. KNOWLEDGE MANAGAMAIL 28. “คลังความรู ้ หรื อ ขุมความรู ้ ” อยูในส่วนใดของโมเดลปลาทู ่ ก. KV ข. KA ค. KS ง. KP 29. ข้อใดคือชั้นปิ รามิดความรู ้( HIDEO YAMAZAKI) ที่ถูกต้อง ก. ปั ญญา - ความรู ้ - ข้อมูล - สารสนเทศ ข. ข้อมูล - ความรู ้ - ปั ญญา - สารสนเทศ ค. สารสนเทศ - ข้อมูล - ความรู ้ - ปั ญญา ง. ข้อมูล - สารสนเทศ - ความรู ้ - ปั ญญา 30. ความรู ้ชดแจ้งหรื อความรู ้เด่นชัด ตรงก ับข้อใด ั ก. KNOWLEDGE ข. EXPLICIT KNOWLEDGE
  • 25. ค. TACIT KNOWLEDGE ง. KNOWLEDGE MANAGER 31. ข้อใดคือเว็ปไซด์การจัดการความรู ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ ก. แมงมุม ข. นกนางนวล ค. ทางสายใหม่ ง. มุมวิชาการ 32. ข้อใดสอดคล้องก ับการจัดการความรู ภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ ก. เครื อข่ายการศึกษาไทย ก ้าวไกลทุกถิ่น ข. เครื อข่ายความคิด พันธมิตรก ้าวหน้า ค. เครื อข่ายความคิด พันธมิตรความรู ้ ง. เครื อข่ายพันธมิตร ความคิดความรู ้ 33. ครู มลจูงแขนเด็กนักเรี ยนเดินข้ามถนน แสดงว่าครู มลมีคุณธรรมตามข้อใด ก. เมตตา ข. กรุ ณา ค. มุฑิตา ง. อุเบกขา 34. ขั้นตอนแรกในกระบวนการจัดการความรู ้ตรงก ับข้อใด
  • 26. ก. จัดระบบความรู ้ ข. แสวงหาความรู ้ ค. บ่งชี้ความรู ้ ง. สร้างความรู ้ 35. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่ตองมีการจัดการความรู ้ ้ ก. องค์กรต้องมีการปรับตัวก ับการเปลี่ยนแปลง ข. ยุคเทคโนโลยีเข้าครอบคลุมหน่วยงาน ค. ให้มีความรู ้ที่หลากหลายในหน่วยงานอื่น ง. ต้องการตอบสนองนโยบายผูบงคับบัญชา ้ ั 36. ลักธรรมที่ทาให้เกิดความสาเร็จในการทางาน เรี ยกว่าหลักธรรมในข้อใด ก. สังคหวัตถุ 4 ข. อิทธิบาท 4 ค. หิ ริ โอตัปปะ ง. พรหมวิหาร 37. การประสานงานควรจะประสานข้อใดก่อนเป็ นอันดับแรก ก. ประสานคน ข. ประสานวางแผนงาน ค. ประสานความรู ้
  • 27. ง. ประสานเนื้อหา 38. ข้อใดคือเป้ าหมายของการจัดการความรู ้ในองค์กร ก. พัฒนาคน พัฒนางาน ประสานสัมพันธ์ ข. พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาสังคม ค. พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กร ง. ถูกทุกข้อ 39. ข้อใดเป็ นความหมายของมนุษยสัมพันธ์ ก. การยอมรับนับถือและเต็มใจที่จะทางานร่ วมก ัน ข. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหนึ่งหรื อหลายคน ค. เป็ นศิลปะที่จะทาตัวให้เข้าก ับคนอื่นได้ดี ง. เป็ นการเสริ มสร้างความรู ้ในองค์กร 40. ความเป็ นผูนา มีความเกียวข้องก ับข้อใดมากที่สุด ้ ่ ก. การใช้ศิลปะในการจูงใจคนให้ร่วมมือก ับตน ข. การใช้ศิลปะในการทางาน ค. การใช้ศิลปะในการนากลุ่ม ง. การใช้อานาจในกลุ่ม 41. ผูอานวยการหัสดี เป็ นคนที่สามารถเข้าก ับชุมชนได้ดี ้ ทาให้ชุมชนรักและยกย่อง แสดงว่ามีคุณธรรมข้อใด
  • 28. ก. ปริ สญํุตา ั ข. อัตตัญํุตา ค. ปุคคลปโรปรัญํุตา ง. กาลัญํุตา 42. ตาแหน่งครู ในสถานศึกษาถูกลงโทษทางวินยไม่ร้ายแรงต้องขออุทธรณ์ก ับข้อใด ั ก. ผูอานวยการสถานศึกษา ้ ข. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ค. ก.ค.ศ. ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ 43. การอุทธรณ์คาสังโทษทางวินยต้องดาเนินการภายในกีวนนับแต่วนได้รบแจ้งคาสัง ่ ั ่ั ั ั ่ ก. 15 วัน ข. 20 วัน ค. 30 วัน ง. 40 วัน 44. ตาแหน่งครู ในสถานศึกษาถูกลงโทษทางวินยร้ายแรงต้องขออุทธรณ์ก ับข้อใด ั ก. ผูอานวยการสถานศึกษา ้ ข. อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ค. ก.ค.ศ.
  • 29. ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ 45. วินยและการรักษาวินยของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษากาหนด ั ั ไว้ในกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อน 2551 ข. พระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ค. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ง. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 46. ข้อใดมีความสาคัญต่อการประสานงานมากที่สุด ก. ความสามารถในการปฏิบติ ั ข. ความสามารถในการรับฟัง ค. ความสามารถในการโน้มน้าวจิติใจ ง. ความรู ้ความเข้าใจในงาน/โครงการ 47. ลักษณะความผิดทางวินยข้าราชการ ข้อใดถูกต้อง ั ก. ไม่มีมีอายุความ ข. ไม่สามารถยอมความก ันได้ ค. ชดใช้ดวยเงินเพื่อลบล้างความผิดได้ ้ ง. ถูกทุกข้อ 48. ใครเป็ นคนแต่งตั้งกรรมการสอบสวนกรณี ขาราชการครู ในโรงเรี ยนถูกกล่าวว่า ้
  • 30. กระทาผิดวินยไม่ร้ายแรง ั ก. ก.ค.ศ. ข. อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา ค. ผูอานวยการโรงเรี ยน ้ ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ 49. นางสาวปุ้ ย ตาแหน่งครู ผช่วย ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินยร้างแรง ู้ ั ใครเป็ นแต่งตั้งกรรมการสอบสอบ ก. ก.ค.ศ. ข. อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา ค. ผูอานวยการโรงเรี ยน ้ ง. ผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ 50. ข้าราชการครู ในโรงเรี ยนเห็นว่าตนเองไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากการประเมิน ความดีความชอบของคณะกรรมการระดับโรงเรี ยนที่ผูอานวยการแต่งตั้ง ้ มีสิทธิที่จะร้องทุกข์ตามข้อใด ก. ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ. ข. ร้องทุกข์ต่อ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา ค. ร้องทุกข์ต่อ ผูอานวยการโรงเรี ยน ้ ง. ร้องทุกข์ต่อผูอานวยการสานักงานเขตพื้นที่ ้
  • 31. เฉลยแบบทดสอบ 1 ข 11 ก 21 ง 31 ก 41 ก 2 ค 12 ง 22 ข 32 ค 42 ข 3 ง 13 ก 23 ข 33 ข 43 ค 4 ง 14 ก 24 ค 34 ค 44 ค 5 ค 15 - 25 ง 35 ก 45 ง 6 ค 16 ค 26 ข 36 ข 46 ง 7 ก 17 ง 27 ค 37 ก 47 ค 8 ข 18 ง 28 ข 38 ค 48 ค 9 ง 19 ง 29 ง 39 ค 49 ค 10 ก 20 ค 30 ข 40 ก 50 ข 1.ค่านิยมที่ราชการครู พึงยึดปฏิบติมี 5 ประการ ยกเว้น ั ก. การรู ้จกพึ่งตนเอง ั ข.การรู ้จกละวางความชัว * ั ่ ค. การปฏิบติตามคุณธรรมศาสนา ั ง. การรักษาระเบียบวินย เคารพกฏหมาย ั 2. ค่านิยมหมายถึง ก. การยึดถือว่าสิ่งใดดี ชัว ่
  • 32. ข. เกณฑ์ที่ระบุว่าควรประพฤติอย่างไร ค.การประกอบความดีตามสภาพแวดล้อม ง. ความเห็นเกียวก ับชีวิตและความประพฤติด * ่ 3. ค่านิยมมีความสาคัญต่อการมีชีวิตของมนุษย์อย่างไร ก.เป็ นแบบขนบประเพณี ข.เป็ นแนวทางในการดาเนินชีวติมนุษย์* ค. เป็ นแบบอย่างของสังคมที่ผคนควรยึดถือเป็ นแบบอย่าง ู้ ง.เป็ นหลักในการประเมินค่าของความประพฤติของคนในสังคม 4.ข้อใดมิใช่สุขขั้นพื้นฐานที่อท้จริ งของมนุษย์ ก. สุขอันเกิดจากการได้ชิมรสอาหารอร่ อย* ข. สุขอันเกิดจากการมีทรัพย์ ค.สุขอันเกิดจากการไม่มีหนี้ ง.สุขอันเกิดแต่การประกอบงานที่ไม่มีโทษ 5. ข้อใดเป็ นลักษณะของค่านิยมที่แท้จริ ง ก. การแต่งกายตามสมัยนิยม ข. การเท่าทันโลกเหตการณื ค. การพูดจากริ ยาเรี ยบร้อย* ง. การเป็ นคนมีเกียรติในสังคม
  • 33. 6. ข้อใดมีอิทธิพลต่อการเกิดค่านิยมของคนในชาติมาที่สุด ก. การเอาอย่างเพื่อน ข. ความต้องการของรัฐ ค. การเรี ยนรู ้จากตารา บทเรี ยน ง. ความรักความพอใจในสิ่งที่ตนชอบ* 7.คุณธรรมที่ช่วยพัฒนาสังคมข้อใดมีส่วนช่วยพัฒนาจิตใจในบุคคล ก. การมีวินย* ั ข. การไม่เบียดเบียน ค. การเคารพความคิดเห็นของผูอื่น ้ ง. การกล้าคัดค้านความเห็นที่ผิด ๆ 8.การที่เรามีจริ ยธรรมจะได้ประโยชน์อะไร ก. ทาให้อิ่มกาย ข. ทาให้อิ่มใจ* ค. ทาให้อิ่มเกียรติ ง. ทาให้สมบูรณ์ท้ งกายและใจ ั 9. คุณธรรมที่เป็ นหลักปฏิบติให้ถึงความสาเร็จ ั ก. สังคหวัตถุ 4 ข. พรมวิหาร 4
  • 34. ค. อิทธิบาท 4 * ง. ทิศ 6 10.สละที่นงบนรถเมลให้ก ับสตรี เด็ก และคนชรา แสงดถึงวัฒนาธรรมใด ่ั ก. คติธรรม ข. สหธรรม* ค. วัตถุธรรม ง. เนติธรรม ข้อที่ * คือคาตอบ ใครมีแนวข้อสอบอีกก็เอามาแบ่งปั นก ันนะ
  • 35. สรุ ปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551 สรุ ปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551 สอบ ป.โท สรุ ปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของชาติ ถือเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อสร้างคนให้เป็ น คนดี มีปัญญา มีความสุข และมีศกยภาพพร้อมที่จะแข่งขันในเวทีโลก ไม่ว่าจะหลักสูตรใดก็ตาม หากนาไปใช้ ั แล้วพบว่ามีขอจาก ัดบางประการก็จาเป็ นต้องมีการปรับปรุ ง หรื อเปลี่ยนแปลงหลักสูตรที่มีอยูให้ดีข้ ึน ้ ่ เช่นเดียวก ับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หลังการนาไปใช้ระยะหนึ่ง จากการศึกษาวิจย ั พบว่า มีปัญหาบางประการ เช่น ด้านตัวชี้วดหรื อคุณลักษณะความรู ้ความสามารถของผูเ้ รี ยนภายหลังจากเรี ยน ั จบแต่ละช่วงชั้นแล้วยังขาดความชัดเจน อีกทั้งครู ผูสอนโดยเฉพาะครู ในโรงเรี ยนขนาดเล็กซึ่งมีอยูจานวนมาก ้ ่ ไม่สามารถออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกาหนดไว้ได้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 จัดทาขึ้นเพื่อใหเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานระดับ ท้องถิ่นและสถานศึกษานาไปเปนกรอบและทิศทางพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรี ยนการสอน จากข้อค้นพบ ในการศึกษาวิจยและติดตามผล การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่กล่าวถึง ประกอบก ับ ั ข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 10 เกียวก ับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และ ่ จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 1 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มี ความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้ าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมพัฒนา