SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
Knee Ligament Injuries




May 12,2009                            1
Knee Ligament Injuries

    ข้อเข่าเป็นข้อที่มีโอกาสบาดเจ็บจากการ
    กีฬา หรืออุบติเหตุได้งาย หากไม่สามารถ
                 ั         ่
    วินจฉัยหรือนึกถึงการบาดเจ็บนีได้แต่แรก
       ิ                           ้
    อาจทำาให้ผู้ป่วยเกิดมีทั้งความเสียหายใน
    การใช้ข้อ (disability) และความพิการ (
    morbidity)ตามมา เนื่องจากอาการและ
    อาการแสดงทางคลินิกไม่ชดเจนเหมือน
                                ั
    กลุ่มกระดูกหัก

May 12,2009                                   2
โครงสร้างสำาคัญในข้อเข่าประกอบด้วย
Major ligament 4 เส้นทีสำาคัญ ได้แก่
                       ่
•       Anterior cruciate ligament (ACL)
•       Posterior cruciate ligament (PCL)
•       Medial collateral ligament (MCL)
•       Lateral collateral ligament (LCL)
        นอกจากนียังมีโครงสร้างที่สำาคัญอีก คือ
                   ้
        Posterolateral structures (PLS)
        ช่วยสร้างความมั่นคงให้ข้อเข่าด้านนอก
        และด้านหลัง
        พึงระวังว่าโอกาสบาดเจ็บในข้อเข่าอาจ
        พบร่วมกันได้หลายเส้น
May 12,2009                                      3
Knee ligament




May 12,2009                   4
Diagnosis approach to the injured
knee
    Direction of force สามารถคาดถึง structure ที่
    ได้รับบาดเจ็บ เช่นมี Valgus force ต่อข้อเข่า
    เกิด MCL injury , หากเป็นVarus force บาด
    เจ็บที่ LCL injury , หากมี Valgus force ร่วม
    กับ Rotation บาดเจ็บที่ MCL หรือมี
    Hyperextension ก็จะเกิดการบาดเจ็บต่อ ACL
    Polytrauma โดยมี long bone lower
    extremity fracture ต้องนึกถึงการบาดเจ็บเอ็น
    รอบเข่าด้วย
    Edema ถามถึง onset เกิดเร็วแค่ไหน เกิดทันที
    สงสัย Hemathrosis
    ถ้าได้ยินเสียง pop เนื่องจากมีเอ็นขาดที่พบบ่อย
May 12,2009                                      5
Physical Examination

        ดู (inspection) : บวมรอบๆเข่านอก
        เหนือจากในข้อ มีรอยเขียวชำ้าเหนือหรือ
        รอบเข่าบ่งชีว่ามีการเกิดเลือดออก หรือ
                      ้
        เกิด ligament injury หรือมี Fracture
        การคลำา (palpitation) ขณะตรวจจะต้อง
        ให้ผู้ป่วย relax , ต้องตรวจเข่าข้างที่ดี
        เพื่อเอาไว้เป็น baseline
        การเคลื่อนไหว ควรตรวจพิสัยการ
        เคลื่อนไหวทั้ง extension และ flexion
        ว่ามีความผิดปกติของการเคลื่อนไหวหรือ
May 12,2009                                    6
Physical Examination (ต่อ)
    การตรวจความมั่นคงของข้อ ( stability test ) วิธี
    ตรวจ
    สำาหรับ ligament แต่ละเส้น ได้ดงนี้
                                   ั

    ACL ใช้ lachman’ s test เป็น most sensitive

    PCLตรวจโดย posterior drawer test เป็นmost
    specific

May 12,2009                                  7
Lachman’s test




    วิธีตรวจ : งอเข่า 20-30 องศา ใช้มือหนึ่งกำา
    proximal tibia แล้วดึงมาด้านหน้า ในขณะที่มือ
    อีกข้างยึด distal femur ไว้ให้นิ่งๆขณะตรวจ
    สังเกตถ้ามีการเคลื่อนไหวของ tibia ไปบน
    femur เกิดภาวะกระตุก => Positive sign
May 12,2009                                        8
Posterior drawer test ( PDS )




      เป็นการตรวจหาภาวะ Posterior cruciate ligament
      ( PCL)
วิธตรวจ : งอเข่าทั้งสองข้าง 90 องศา สังเกตว่ามี drop
    ี
      back หรือไม่
ถ้ามีแสดงว่า PCL หย่อน
ทดสอบโดยดึง tibia มาด้านหน้า จากนันดัน tibia ไปข้าง
                                      ้
      หลัง
การแปลผล : ถ้าสามารถดัน tibia ไปข้างหลัง และมี soft
May 12,2009                                            9


      end point (ภาวะเอ็นหลุด) แสดงว่า PDS positive
Investigation
    Plain X-ray จำาเป็นสำาหรับ serious knee injury
    เพื่อ exclude fracture หรือ Avulsion fracture
    หรือดูเงาของ osteochondral fracture
    MRI มีประโยชน์มากใน knee injury สามารถ
    ประเมินได้ถง soft tissue และ ligament และ
                ึ
    meniscus รวมถึง bony lesion และบอกถึง
    severity และการใช้วางแผนการรักษารวมไปถึง
    การบอก prognosis ได้
    Arthroscopy จะทำาให้ได้วินิจฉัยที่ถกต้อง และ
                                       ู
    ใช้รักษาไปได้
    ในคราวเดียวกัน
May 12,2009                                     10
Grading ligamentous injury

    Grade 1 : ไม่มีการฉีกขาดของ Ligament
    ตรวจพบ Swelling, localized
    tenderness
    Grade 2 : Ligament มีการ stretching
    และมี partial tear และตรวจพบ Swelling
    ชัดเจนขึ้น
    Grade 3 : Ligament มีการฉีกขาดแบบ
    complete tear
May 12,2009                             11
Medial Collateral Ligament Injury
(MCL injury ) พบบ่อย
    Signs and Symptoms
    มักพบมีประวัติของ contract valgus หรือ
    มี external rotation ของข้อเข่า หรือมีการ
    กระแทกของ lower lateral thigh หรือ
    upper medial leg อาการบาดเจ็บเกิดขึ้น
    ทันทีหลังบาดเจ็บ การฉีกขาดที่มีความ
    รุนแรงสูงมักไม่ค่อยเจ็บมาก เหมือนพวกที่
    มีความรุนแรงน้อย โดยมากจะมีการเดิน
    กระเพลก พบครึ่งหนึ่งของ MCL grade 3
    ต้องใช้ external support
May 12,2009                                 12
Investigation of MCL injury
    ส่งตรวจ X-rays Ap,lateral view ในราย
    ที่ไม่แน่ชด ส่ง MRI
              ั




May 12,2009                                13
Treatment of MCL injury

    Conservative ไม่นยมผ่าตัด ยกเว้นใน
                        ิ
    รายที่เป็น multiple ligament injuries ,
    MCL grade 3 tear
    หากพบบาดเจ็บของ MCL ร่วมกับ ACL
    ให้รักษา MCL แบบ conservative ~ 4-6
    สัปดาห์ จึง evaluate ว่า ACL จะรักษา
    โดยreconstruction หรือจะ
    conservative treatment

May 12,2009                                   14
Lateral Collateral Ligament Injury

    พบน้อยที่สดในการบาดเจ็บหัวเข่า มักเกิด
                ุ
    กับ cruciate ligament injury เส้นใดเส้น
    หนึง mechanism ในการเกิดการบาดเจ็บ
        ่
    คือการมี hyperextension และมี varus
    load ที่ข้อเข่า
    Diagnosis ตรวจ varus stress ที่ 30
    องศา จะพบมี varus opening หากมี
    posterolateral injury ร่วมด้วยจะมีการ
    เกิดการเพิ่ม posterior translation และ
    varus และ varus และ external rotation
May 12,2009                               15
Treatment LCL injury

    หากบาดเจ็บไม่มาก สามารถแบบ
    conservative
    บาดเจ็บแบบ grade 3 instability ควร
    รักษาโดยการผ่าตัดจะได้ผลดีกว่า และควร
    ทำาภายใน 3 สัปดาห์หลังบาดเจ็บ




May 12,2009                             16
Anterior Cruciate Ligament Injury

หน้าที่สำาคัญของ ACL
• ACL เป็น ligament สำาคัญที่ควบคุม
   anterior displacement ของ tibial
2. ACL ควบคุม varus / valgus
3. ACL ป้องกัน hyperextension ของ
   knee
4. Check to internal / external rotation
   ของ Tibial

May 12,2009                                17
Diagnosis ACL injury

    ส่วนมาก ACL injury มักมีประวัตของ
                                   ิ
    1. twisting injury to the knee
    2. feeling a pop พบได้ 50%
    3. being unable to continue their
    activity
    4. swelling usually develops within
        2 to 3 hours ( hemathrosis พบถึง
    70%)
May 12,2009                                18
Physical Examination ACL injury

       Acute ACL injury มีอาการปวดมาก แต่ไม่พบ
       abrasion , contusion ให้เห็น
       มักทำา aspiration ในรายที่มี effusion ช่วย
       Diagnosis และ Therapeutic มักพบเป็น
       gross hemathrosis




May 12,2009                                19
Physical Examination ACL injury

    Chronic ACL injury ใช้ Lachman’s
    test เป็นการกระทำาให้เกิด passive
    motion test ซึ่งพยายามทำาให้มีการ
    เคลื่อนไหวของ tibial ไปบน femur พบ
    ภาวะกระตุกเกิดขึ้นอย่างเร็ว และนอกจาก
    นี้ควรดูว่ามี locked knee ด้วยหรือไม่
    นอกจากนี้ chronic ACL injury มักมี
    meniscal tear ร่วมด้วย

May 12,2009                             20
Radiography

    ทุกข้อเข่าที่สงสัย ACL damage ควรส่ง
    plain X-ray AP, Lateral view
    ในChronic case ส่ง notch( ริมกระดูก)
    MRI ใช้ในกรณีไม่แน่ใจในการวินจฉัย ซึ่ง
                                  ิ
    บ่งบอกถึง diagnosis ที่แน่นอน ,
    meniscal tear หรือ bone bruise ได้
    sensitivity ของ MRI ในการ detect ACL
    injury พบได้ถึง 90% - 98% แต่
    Specificity ในการแยกแยะpartial กับ
    complete มีไม่ถึง 50%
May 12,2009                              21
Anterior Cruciate Ligament
Injury
    International Knee Documentation
    Committee แบ่ง activity level เป็น 4
    ระดับ
    level 1 jumping, pivoting (football
    ,soccer )
    level 2 heavy manual work or side-to-
    side sports (skiing, tennis)
    level 3 light manual work or
    noncutting sports (jogging, running)
    level 4 sedentary activity without
    sports (งานนั่งโต๊ะ)
May 12,2009                             22
Non operative treatment ACL injury
    เหมาะสมกับผู้ป่วยนักกีฬา level 3 และ
    level 4
    หรือ level 1 หรือ level 2 ที่สามารถ
    เปลี่ยนแปลง sport activity ได้ หรือในผู้
    ป่วยที่ไม่ต้องการทำา reconstruction โดย
    การทำา physical therapy และใช้
    Functional brace
    ในการ rehabilitation มุ่งเน้นฝึกให้มีการ
    เคลื่อนไหวของข้อกลับมาปกติ, ลด
    swelling และ effusion , เพิมความแข็ง
                                 ่
    แรงของ hamstrings muscle ไม่ไห้มี
May 12,2009                                23
Non operative treatment ACL injury

    การใช้ brace สามารถช่วยพยุงในการวิ่ง
    อย่างไรก็ตามทั้ง braceและ physical
    therapy ไม่สามารถ control stability ได้
    ดีพอ
    ในบางครั้งการรักษา conservative อาจ
    ต้องอาศัย minimal surgery ร่วมด้วยเช่น
    debridement of articular cartilage
    defect, trimming or repairing
    meniscus excising ligament stump
    เนืองจาก procedures เหล่านีไม่ขัดขวาง
       ่                        ้
    ต่อการทำา
May 12,2009
                  ligament reconstruction     24
Surgical treatment ACL injury
    วิธีการผ่าตัดที่นิยมในปัจจุบัน คือ การทำา
    intraarticular reconstruction
    การทำาผ่าตัด ACL reconstruction
    ปัจจุบันนิยมใช้ arthroscopic assisted
    ได้แก่ วิธี endoscopic techniques หรือ
    วิธี transfixation technique ซึ่งออกแบบ
    มาสำาหรับ hamstring graft เพื่อที่จะ
    fixation ตรง femoral tunnel ได้แข็งแรง


May 12,2009                                     25
Surgical treatment ACL injury

     การfixation graft สามารถทำาได้โดยการ
     ใช้ interference screw ซึ่งออกแบบมา
     เฉพาะมีทั้งเป็น titanium หรือ
     bioabsorbable screw หรืออาจใช้เป็น
     stable fixation หรือใช้ transfix pin ร่วม
     กับ screw



May 12,2009                                      26
Posterior Cruciate Ligament Injury

    PCL มีหน้าที่หลักควบคุมต่อ posterior
    translation ของ tibia และทำาหน้าที่
    ป้องกันการเกิด varus , valgus และ
    external rotation
    ส่วนใหญ่เกิดจากการปะทะขณะเล่นกีฬา
    หรืออุบัติเหตุยวนยาน



May 12,2009                                27
Diagnosis of PCL injury

    ได้จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
    อาจเป็น Acute หรือ Chronic injury ขึ้น
    อยู่กับระยะเวลาบาดเจ็บ ถามถึง
    mechanism เกิดแบบใด
    อาการแสดง Acute : ข้อเข่าบวม และปวด
    ตึงหลังเข่าและน่องอาจพบ echymosis
    ได้
    การเคลื่อนไหวของข้อเข่ามักมี limit
    motion เพราะปวด
May 12,2009                              28

    อาจพบ Abrasion บริเวณ proximal tibia
Treatment Acute PCL injury

    Nonoperative treatment ใช้รักษากรณี
    PCL injury ทีมี posterior translation
    น้อยกว่า 10 mm. โดยการทำา
    aggressive rehabilitative program
    หาก posterior มากกว่า 10 -15 mm. ควน
    เลือกเป็น surgical reconstruction



May 12,2009                             29
Operative treatment PCL injury
        Indication for operative treatment
        ดังนี้
•       เป็น PCL avulsion
•       มี posterior tibial translation มากกว่า
        10-15 mm เมื่อทำา posterior drawer
        test ที่ Knee flexion 90 องศา
•       พบว่ามี grade 3 MCL หรือ ACL หรือ
        posterolateral injury ร่วมด้วย

May 12,2009                                       30
Operative treatment PCL injury

    วิธีผ่าตัด PCL ที่นยมทำา คือ
                       ิ
    reconstruction โดยสามารถทำาเป็น
    single หรือ double bundle ในปัจจุบัน
    สามารถผ่าตัดแบบ arthroscopic
    technique




May 12,2009                                31

Contenu connexe

Tendances

361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าสายชล ชินชัยพงษ์
 
Case conference (1)
Case conference (1)Case conference (1)
Case conference (1)Toey Sutisa
 
Fifth metatarsal bone fracture
Fifth metatarsal bone fractureFifth metatarsal bone fracture
Fifth metatarsal bone fractureKittin Boat
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guidelineAimmary
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
The modification plain radiographic of pelvis
The modification plain radiographic of pelvisThe modification plain radiographic of pelvis
The modification plain radiographic of pelvisPrapiroon Sridamat
 

Tendances (17)

12
1212
12
 
เข่าเสื่อม
เข่าเสื่อมเข่าเสื่อม
เข่าเสื่อม
 
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
 
Case conference (1)
Case conference (1)Case conference (1)
Case conference (1)
 
Bensita 5502090
Bensita 5502090Bensita 5502090
Bensita 5502090
 
Fifth metatarsal bone fracture
Fifth metatarsal bone fractureFifth metatarsal bone fracture
Fifth metatarsal bone fracture
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
The modification plain radiographic of pelvis
The modification plain radiographic of pelvisThe modification plain radiographic of pelvis
The modification plain radiographic of pelvis
 
Intertrochanteric fracture (2)
Intertrochanteric fracture (2)Intertrochanteric fracture (2)
Intertrochanteric fracture (2)
 
Intertrochanteric Fracture
Intertrochanteric FractureIntertrochanteric Fracture
Intertrochanteric Fracture
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Case conference
Case conferenceCase conference
Case conference
 

Similaire à Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02

Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Utai Sukviwatsirikul
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineUtai Sukviwatsirikul
 
Extern orthopedics conference
Extern orthopedics conferenceExtern orthopedics conference
Extern orthopedics conferenceGene Panaphorn
 
Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60
Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60
Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60Toey Sutisa
 
Conference ortho
Conference orthoConference ortho
Conference orthoToey Sutisa
 
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusExtern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusThanat Lewsirirat
 

Similaire à Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02 (12)

Disc Herniation
Disc HerniationDisc Herniation
Disc Herniation
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
Extern conference. tung[1]
Extern conference. tung[1]Extern conference. tung[1]
Extern conference. tung[1]
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
 
Extern orthopedics conference
Extern orthopedics conferenceExtern orthopedics conference
Extern orthopedics conference
 
Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60
Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60
Ext conference Ext.ภัทรานิษฐ์ ชัยติวร 27 พ.ย. 60
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)
 
Conference ortho
Conference orthoConference ortho
Conference ortho
 
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusExtern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
 

Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02

  • 2. Knee Ligament Injuries ข้อเข่าเป็นข้อที่มีโอกาสบาดเจ็บจากการ กีฬา หรืออุบติเหตุได้งาย หากไม่สามารถ ั ่ วินจฉัยหรือนึกถึงการบาดเจ็บนีได้แต่แรก ิ ้ อาจทำาให้ผู้ป่วยเกิดมีทั้งความเสียหายใน การใช้ข้อ (disability) และความพิการ ( morbidity)ตามมา เนื่องจากอาการและ อาการแสดงทางคลินิกไม่ชดเจนเหมือน ั กลุ่มกระดูกหัก May 12,2009 2
  • 3. โครงสร้างสำาคัญในข้อเข่าประกอบด้วย Major ligament 4 เส้นทีสำาคัญ ได้แก่ ่ • Anterior cruciate ligament (ACL) • Posterior cruciate ligament (PCL) • Medial collateral ligament (MCL) • Lateral collateral ligament (LCL) นอกจากนียังมีโครงสร้างที่สำาคัญอีก คือ ้ Posterolateral structures (PLS) ช่วยสร้างความมั่นคงให้ข้อเข่าด้านนอก และด้านหลัง พึงระวังว่าโอกาสบาดเจ็บในข้อเข่าอาจ พบร่วมกันได้หลายเส้น May 12,2009 3
  • 5. Diagnosis approach to the injured knee Direction of force สามารถคาดถึง structure ที่ ได้รับบาดเจ็บ เช่นมี Valgus force ต่อข้อเข่า เกิด MCL injury , หากเป็นVarus force บาด เจ็บที่ LCL injury , หากมี Valgus force ร่วม กับ Rotation บาดเจ็บที่ MCL หรือมี Hyperextension ก็จะเกิดการบาดเจ็บต่อ ACL Polytrauma โดยมี long bone lower extremity fracture ต้องนึกถึงการบาดเจ็บเอ็น รอบเข่าด้วย Edema ถามถึง onset เกิดเร็วแค่ไหน เกิดทันที สงสัย Hemathrosis ถ้าได้ยินเสียง pop เนื่องจากมีเอ็นขาดที่พบบ่อย May 12,2009 5
  • 6. Physical Examination ดู (inspection) : บวมรอบๆเข่านอก เหนือจากในข้อ มีรอยเขียวชำ้าเหนือหรือ รอบเข่าบ่งชีว่ามีการเกิดเลือดออก หรือ ้ เกิด ligament injury หรือมี Fracture การคลำา (palpitation) ขณะตรวจจะต้อง ให้ผู้ป่วย relax , ต้องตรวจเข่าข้างที่ดี เพื่อเอาไว้เป็น baseline การเคลื่อนไหว ควรตรวจพิสัยการ เคลื่อนไหวทั้ง extension และ flexion ว่ามีความผิดปกติของการเคลื่อนไหวหรือ May 12,2009 6
  • 7. Physical Examination (ต่อ) การตรวจความมั่นคงของข้อ ( stability test ) วิธี ตรวจ สำาหรับ ligament แต่ละเส้น ได้ดงนี้ ั ACL ใช้ lachman’ s test เป็น most sensitive PCLตรวจโดย posterior drawer test เป็นmost specific May 12,2009 7
  • 8. Lachman’s test วิธีตรวจ : งอเข่า 20-30 องศา ใช้มือหนึ่งกำา proximal tibia แล้วดึงมาด้านหน้า ในขณะที่มือ อีกข้างยึด distal femur ไว้ให้นิ่งๆขณะตรวจ สังเกตถ้ามีการเคลื่อนไหวของ tibia ไปบน femur เกิดภาวะกระตุก => Positive sign May 12,2009 8
  • 9. Posterior drawer test ( PDS ) เป็นการตรวจหาภาวะ Posterior cruciate ligament ( PCL) วิธตรวจ : งอเข่าทั้งสองข้าง 90 องศา สังเกตว่ามี drop ี back หรือไม่ ถ้ามีแสดงว่า PCL หย่อน ทดสอบโดยดึง tibia มาด้านหน้า จากนันดัน tibia ไปข้าง ้ หลัง การแปลผล : ถ้าสามารถดัน tibia ไปข้างหลัง และมี soft May 12,2009 9 end point (ภาวะเอ็นหลุด) แสดงว่า PDS positive
  • 10. Investigation Plain X-ray จำาเป็นสำาหรับ serious knee injury เพื่อ exclude fracture หรือ Avulsion fracture หรือดูเงาของ osteochondral fracture MRI มีประโยชน์มากใน knee injury สามารถ ประเมินได้ถง soft tissue และ ligament และ ึ meniscus รวมถึง bony lesion และบอกถึง severity และการใช้วางแผนการรักษารวมไปถึง การบอก prognosis ได้ Arthroscopy จะทำาให้ได้วินิจฉัยที่ถกต้อง และ ู ใช้รักษาไปได้ ในคราวเดียวกัน May 12,2009 10
  • 11. Grading ligamentous injury Grade 1 : ไม่มีการฉีกขาดของ Ligament ตรวจพบ Swelling, localized tenderness Grade 2 : Ligament มีการ stretching และมี partial tear และตรวจพบ Swelling ชัดเจนขึ้น Grade 3 : Ligament มีการฉีกขาดแบบ complete tear May 12,2009 11
  • 12. Medial Collateral Ligament Injury (MCL injury ) พบบ่อย Signs and Symptoms มักพบมีประวัติของ contract valgus หรือ มี external rotation ของข้อเข่า หรือมีการ กระแทกของ lower lateral thigh หรือ upper medial leg อาการบาดเจ็บเกิดขึ้น ทันทีหลังบาดเจ็บ การฉีกขาดที่มีความ รุนแรงสูงมักไม่ค่อยเจ็บมาก เหมือนพวกที่ มีความรุนแรงน้อย โดยมากจะมีการเดิน กระเพลก พบครึ่งหนึ่งของ MCL grade 3 ต้องใช้ external support May 12,2009 12
  • 13. Investigation of MCL injury ส่งตรวจ X-rays Ap,lateral view ในราย ที่ไม่แน่ชด ส่ง MRI ั May 12,2009 13
  • 14. Treatment of MCL injury Conservative ไม่นยมผ่าตัด ยกเว้นใน ิ รายที่เป็น multiple ligament injuries , MCL grade 3 tear หากพบบาดเจ็บของ MCL ร่วมกับ ACL ให้รักษา MCL แบบ conservative ~ 4-6 สัปดาห์ จึง evaluate ว่า ACL จะรักษา โดยreconstruction หรือจะ conservative treatment May 12,2009 14
  • 15. Lateral Collateral Ligament Injury พบน้อยที่สดในการบาดเจ็บหัวเข่า มักเกิด ุ กับ cruciate ligament injury เส้นใดเส้น หนึง mechanism ในการเกิดการบาดเจ็บ ่ คือการมี hyperextension และมี varus load ที่ข้อเข่า Diagnosis ตรวจ varus stress ที่ 30 องศา จะพบมี varus opening หากมี posterolateral injury ร่วมด้วยจะมีการ เกิดการเพิ่ม posterior translation และ varus และ varus และ external rotation May 12,2009 15
  • 16. Treatment LCL injury หากบาดเจ็บไม่มาก สามารถแบบ conservative บาดเจ็บแบบ grade 3 instability ควร รักษาโดยการผ่าตัดจะได้ผลดีกว่า และควร ทำาภายใน 3 สัปดาห์หลังบาดเจ็บ May 12,2009 16
  • 17. Anterior Cruciate Ligament Injury หน้าที่สำาคัญของ ACL • ACL เป็น ligament สำาคัญที่ควบคุม anterior displacement ของ tibial 2. ACL ควบคุม varus / valgus 3. ACL ป้องกัน hyperextension ของ knee 4. Check to internal / external rotation ของ Tibial May 12,2009 17
  • 18. Diagnosis ACL injury ส่วนมาก ACL injury มักมีประวัตของ ิ 1. twisting injury to the knee 2. feeling a pop พบได้ 50% 3. being unable to continue their activity 4. swelling usually develops within 2 to 3 hours ( hemathrosis พบถึง 70%) May 12,2009 18
  • 19. Physical Examination ACL injury Acute ACL injury มีอาการปวดมาก แต่ไม่พบ abrasion , contusion ให้เห็น มักทำา aspiration ในรายที่มี effusion ช่วย Diagnosis และ Therapeutic มักพบเป็น gross hemathrosis May 12,2009 19
  • 20. Physical Examination ACL injury Chronic ACL injury ใช้ Lachman’s test เป็นการกระทำาให้เกิด passive motion test ซึ่งพยายามทำาให้มีการ เคลื่อนไหวของ tibial ไปบน femur พบ ภาวะกระตุกเกิดขึ้นอย่างเร็ว และนอกจาก นี้ควรดูว่ามี locked knee ด้วยหรือไม่ นอกจากนี้ chronic ACL injury มักมี meniscal tear ร่วมด้วย May 12,2009 20
  • 21. Radiography ทุกข้อเข่าที่สงสัย ACL damage ควรส่ง plain X-ray AP, Lateral view ในChronic case ส่ง notch( ริมกระดูก) MRI ใช้ในกรณีไม่แน่ใจในการวินจฉัย ซึ่ง ิ บ่งบอกถึง diagnosis ที่แน่นอน , meniscal tear หรือ bone bruise ได้ sensitivity ของ MRI ในการ detect ACL injury พบได้ถึง 90% - 98% แต่ Specificity ในการแยกแยะpartial กับ complete มีไม่ถึง 50% May 12,2009 21
  • 22. Anterior Cruciate Ligament Injury International Knee Documentation Committee แบ่ง activity level เป็น 4 ระดับ level 1 jumping, pivoting (football ,soccer ) level 2 heavy manual work or side-to- side sports (skiing, tennis) level 3 light manual work or noncutting sports (jogging, running) level 4 sedentary activity without sports (งานนั่งโต๊ะ) May 12,2009 22
  • 23. Non operative treatment ACL injury เหมาะสมกับผู้ป่วยนักกีฬา level 3 และ level 4 หรือ level 1 หรือ level 2 ที่สามารถ เปลี่ยนแปลง sport activity ได้ หรือในผู้ ป่วยที่ไม่ต้องการทำา reconstruction โดย การทำา physical therapy และใช้ Functional brace ในการ rehabilitation มุ่งเน้นฝึกให้มีการ เคลื่อนไหวของข้อกลับมาปกติ, ลด swelling และ effusion , เพิมความแข็ง ่ แรงของ hamstrings muscle ไม่ไห้มี May 12,2009 23
  • 24. Non operative treatment ACL injury การใช้ brace สามารถช่วยพยุงในการวิ่ง อย่างไรก็ตามทั้ง braceและ physical therapy ไม่สามารถ control stability ได้ ดีพอ ในบางครั้งการรักษา conservative อาจ ต้องอาศัย minimal surgery ร่วมด้วยเช่น debridement of articular cartilage defect, trimming or repairing meniscus excising ligament stump เนืองจาก procedures เหล่านีไม่ขัดขวาง ่ ้ ต่อการทำา May 12,2009 ligament reconstruction 24
  • 25. Surgical treatment ACL injury วิธีการผ่าตัดที่นิยมในปัจจุบัน คือ การทำา intraarticular reconstruction การทำาผ่าตัด ACL reconstruction ปัจจุบันนิยมใช้ arthroscopic assisted ได้แก่ วิธี endoscopic techniques หรือ วิธี transfixation technique ซึ่งออกแบบ มาสำาหรับ hamstring graft เพื่อที่จะ fixation ตรง femoral tunnel ได้แข็งแรง May 12,2009 25
  • 26. Surgical treatment ACL injury การfixation graft สามารถทำาได้โดยการ ใช้ interference screw ซึ่งออกแบบมา เฉพาะมีทั้งเป็น titanium หรือ bioabsorbable screw หรืออาจใช้เป็น stable fixation หรือใช้ transfix pin ร่วม กับ screw May 12,2009 26
  • 27. Posterior Cruciate Ligament Injury PCL มีหน้าที่หลักควบคุมต่อ posterior translation ของ tibia และทำาหน้าที่ ป้องกันการเกิด varus , valgus และ external rotation ส่วนใหญ่เกิดจากการปะทะขณะเล่นกีฬา หรืออุบัติเหตุยวนยาน May 12,2009 27
  • 28. Diagnosis of PCL injury ได้จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย อาจเป็น Acute หรือ Chronic injury ขึ้น อยู่กับระยะเวลาบาดเจ็บ ถามถึง mechanism เกิดแบบใด อาการแสดง Acute : ข้อเข่าบวม และปวด ตึงหลังเข่าและน่องอาจพบ echymosis ได้ การเคลื่อนไหวของข้อเข่ามักมี limit motion เพราะปวด May 12,2009 28 อาจพบ Abrasion บริเวณ proximal tibia
  • 29. Treatment Acute PCL injury Nonoperative treatment ใช้รักษากรณี PCL injury ทีมี posterior translation น้อยกว่า 10 mm. โดยการทำา aggressive rehabilitative program หาก posterior มากกว่า 10 -15 mm. ควน เลือกเป็น surgical reconstruction May 12,2009 29
  • 30. Operative treatment PCL injury Indication for operative treatment ดังนี้ • เป็น PCL avulsion • มี posterior tibial translation มากกว่า 10-15 mm เมื่อทำา posterior drawer test ที่ Knee flexion 90 องศา • พบว่ามี grade 3 MCL หรือ ACL หรือ posterolateral injury ร่วมด้วย May 12,2009 30
  • 31. Operative treatment PCL injury วิธีผ่าตัด PCL ที่นยมทำา คือ ิ reconstruction โดยสามารถทำาเป็น single หรือ double bundle ในปัจจุบัน สามารถผ่าตัดแบบ arthroscopic technique May 12,2009 31