SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  133
Télécharger pour lire hors ligne
จริยธรรมทางธุรกิจที่มีต่อพนักงาน ผู้บริโภค และสิ่ง
แวดล้อม

Ethics @ UN 2013
หน้าที่ของพลเมืองดีของสังคม           
•  การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหลักธรรม ประกอบด้วย
จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม
•  จริยธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ทําให้
ผู้อื่นเดือดร้อนเสียหาย  หลักการของกิริยาที่ควรประพฤติ
ทําให้สังคมอยู่ร่วมกันโดยสงบ
•  คุณธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่สร้าง
ประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น  หลักการที่ดีมีประโยชน์ที่สังคมเห็นว่า
เป็นความดีความงาม
•  ศีลธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ทําให้ผู้
อื่นเดือดร้อนเสียหาย พร้อมกันนั้นก็สร้างประโยชน์ให้แก่ผู้
อื่นด้วย  ความเป็นปกติหรือการรักษา กาย วาจา ใจให้เป็น
ปกติ ไม่ทําชั่วเบียดเบียนผู้อื่น	

Ethics @ UN 2013
นักคิดเกี่ยวกับจริยธรรม	

Ethics @ UN 2013
นักคิดในประเทศตะวันตก ก็ได้ให้คําอธิบายเกี่ยวกับจริยธรรมและ
พฤติกรรมทางจริยธรรมไว้ (ชัยพร วิชชาวุธ 2530)
•  พีอาเจต์ (Piaget 1960) กล่าวว่า จริยธรรม คือ องค์ประกอบของกฎเกณฑ์ที่บุคคล
ยอมรับว่าถูกต้องดีงามควรประพฤติปฏิบัติตน เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากสังคม
•  บราวน์ (Brown 1965) ได้อธิบายว่า จริยธรรมหมายถึงระบบของกฎเกณฑ์ใช้ในการ
วิเคราะห์ความประพฤติที่ผิดหรือถูก ของบุคคล จริยธรรมมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
มาจากประสบการณ์ของบุคคล โดยจริยธรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ
ความรู้ (knowledge) ความประพฤติ (conduct) และ ความรู้สึก (felling)	
•  โดลเบอร์ (Kohlberg 1969) ให้การอธิบายว่า จริยธรรมเป็นความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
เป็นกฎเกณฑ์และมาตรฐานพฤติกรรมในสังคม ซึ่งบุคคลจะพัฒนาขึ้นจนมีจริยธรรมของ
ตนเอง โดยอาศัยกฎเกณฑ์จากสังคมเป็นสิ่งตัดสินว่าการกระทํานั้นถูกหรือผิด	
•  ฮอฟแมน (Hoffman 1979) ได้จําแนกองค์ประกอบของจริยธรรมไว้ในลักษณะที่
คล้ายคลึงกับที่บราวน์ได้กระทํา กล่าวคือ เขาเชื่อว่า จริยธรรมเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น
ภายใน (internalization) ขององค์ประกอบจริยธรรม 3 ประการ ที่เป็นอิสระจากกัน
คือความคิดทางจริยธรรม (moral thought) ความรู้สึกทางจริยธรรม (moral
felling) และพฤติกรรมจริยธรรม (moral behavior)

Ethics @ UN 2013
จริยธรรม
•  อลิสโตเติล กล่าวว่า พฤติกรรมที่เหมาะสม คือควรปฏิบัติตามกฎการ
เดินสายกลาง golden mean of moderation คือการไม่ทําอะไร สุด
โต่ง เช่น ร่ํารวยเกินไป ยากจนเกินไป	
•  พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) อธิบายว่า จริยธรรม ตามหลัก
พุทธศาสนา คือ มรรค หรือมัชฌิมาปฏิปทา  พรหมจารีหรือผู้ประพฤติ
ธรรม หรือ ผู้มีจริยธรรม ตามหลักพุทธศาสนา คือ ผู้ดําเนินชีวิตตาม
มรรค หรือปฏิบัติตาม มัชฌิมาปฏิปทา (หลักการครองชีวิตที่ถูกต้อง
สมบูรณ์ของมนุษย์ที่จะนําไปสู่จุดหมาย คือ ความดับทุกข์)

Ethics @ UN 2013
จริยธรรม
•  กระมล ทองธรรมชาติ อธิบายว่า จริยธรรม หมายถึง ธรรม
หรือหลักความประพฤติที่ควรแก่การยึดถือและปฏิบัติตาม
ก่อ สวัสดิพาณิชย์ อธิบายว่า จริยธรรม คือ ประมวลความ
ประพฤติและความนึกคิดในสิ่งที่ดีงามเหมาะสม ความคิดใน
เชิงจริยธรรมมีกําเนิดขึ้นมาตั้งแต่ในสมัยโบราณ นักปราชญ์
ในยุคโบราณหลายต่อหลายท่านต่างกล่าวถึงและพยายามสั่ง
สอนให้ผู้คน ประพฤติปฏิบัติกันในแนวทางที่ถูกต้องชอบ
ธรรม กระทําหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด โดยคํานึงถึงประโยชน์ที่
จะเกิดขึ้นกับตนเองและสังคม จนถึงปัจจุบันแนวความคิดใน
เรื่องจริยธรรมได้พัฒนามาเป็นลําดับ มีผู้กล่าวถึง' จริยธรรม
'
ในความหมายที่แตกต่าง ๆ กันหลายลักษณะ เช่น
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (29 กันยายน พ.ศ.
2543 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2548)

Ethics @ UN 2013
จริยธรรม
•  ดวงเดือน พันธุมนาวิน กล่าวว่า จริยธรรม เป็นคําที่มีความหมายก
ว้างขวาง หมายถึงลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของมนุษย์
ลักษณะและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมจะมีคุณสมบัติประเภท
ใดประเภท หนึ่ง ใน 2 ประเภท คือ	
1. . เป็นลักษณะที่สังคมต้องการให้มีอยู่ในสมาชิกของสังคมนั้น
เป็นพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบให้การสนับสนุน และผู้กระทํา
ส่วนมากเกิดความพอใจว่า กระทํานั้นเป็นสิ่งถูกต้องเหมาะสม
2.  เป็นลักษณะที่สังคมไม่ต้องการให้มีอยู่ในสมาชิกของสังคม
เป็นการกระทําที่สังคมลงโทษ และผู้กระทําพฤติกรรมนั้นรู้สึกว่า
เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและไม่สมความ ลักษณะของมนุษย์ที่
ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน ผู้อํานวยการ
เกี่ยวข้องกับจริยธรรมแบ่งออกได้เป็น ความรู้เชิงจริยธรรม
โครงการวิจัยแม่บท การวิจัยและพัฒนา
ทัศนคติเชิงจริยธรรม เหตุผลเชิงจริยธรรมและพฤติกรรมเชิง ระบบพฤติกรรมไทย สํานักงานคณะ
กรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
จริยธรรม (ดวงเดือน พันธุมนาวิน 2520)
Ethics @ UN 2013
จริยธรรม
•  สุมน อมรวิวัฒน์ กล่าวว่าจริยธรรม คือ แบบแผนของ
ความประพฤติที่ยึดหลักของศีลธรรม ลักษณะที่แตกต่าง
ระหว่าง' ศีลธรรม และ' จริยธรรม ก็คือศีลธรรมเป็นหลัก
'
'
การของคุณงามความดีที่มนุษย์ยึดถือปฏิบัติ อิงหลัก
ศาสนาและมีหลักเป็นสากล ส่วนจริยธรรมนั้นแม้จะมี
ความหมายบางส่วนคล้ายคลึงกับคําว่าศีลธรรม แต่มัก
เป็นคําที่ใช้ในสาขาวิชาพฤติกรรมศาสตร์ เน้นลักษณะ
ของความประพฤติที่สังคมนิยมชมชอบว่าถูกต้องเหมาะ
สม (สุมน อมรวิวัฒน์ 2530)

ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุมน อมรวิวัฒน์
คณะกรรมการบริหารแผน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

Ethics @ UN 2013
จริยธรรม
•  คานท์ (Kant 1724-1802) มีปรัชญาที่เป็ นความเช่ือวา่ มนุษยไ์
ม่ไดเ้ กิดมาเพอ่ื แสวงหาความสุขแต่เพยี งอยา่ งเดียวแต่เกิดมา
เพอื่ การกระทาความดีมี ศีลธรรม และศีลธรรมความสุขเป็ น
คนละสิ่งกนั เพราะการกระทาท่ีผดิ หลกั ศีลธรรมแมจ้ ะทาใหเ้ กิด
ประโยชนส์ ุขแก่มหาชนมากมายเพียงใดก็ยงั เป็ นการกระทาท่ีชวั่
ร้าย อยเู่ช่นน้นัการกระทาดีตามความคิดของคานท์คือการใชม้
นุษยเ์ป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายใดๆของตนเป็นสิ่งที่ผดิศีล
ธรรม 	

Ethics @ UN 2013
Stages of Moral Development

Ethics @ UN 2013
ประโยชน์ที่องค์กรธุรกิจได้รับโดยตรงในการ
บริหารธุรกิจอย่างมีจริยธรรม	

	

Ethics @ UN 2013
ประโยชน์ที่องค์กรธุรกิจได้รับโดยตรงในการบริหารธุรกิจอย่างมีจริยธรรมซึ่ง Ethics
Resource Center ได้ทําการสํารวจวิจัยพบว่า องค์กรธุรกิจได้รับประโยชน์โดยตรงดังนี้

1. ได้รับการปกป้องทางกฎหมาย (78%) 
2. เพิ่มความภาคภูมิใจของพนักงานและความจงรักภักดีต่อองค์กร (74%)
3. เพิ่มค่านิยมของลูกค้าและสาธารณชน (ภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัท) (66%)
4. ป้องกันการสูญเสียด้านผลผลิต และได้รับผลดีขึ้น (64%)
5. ลดการให้สินบนและการให้เปล่า (58%)
6. ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ / บริการให้ดีขึ้น (14%)
7. การเพิ่มผลผลิตดีขึ้น (12%)

Ethics @ UN 2013
หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกอุตสาหกรรมดีเด่น ประจาปี 2556 ประเภทการบริหาร
อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม
	

9.1 จริยธรรมทางธุรกิจ
องค์กรมีจริยธรรมในการดาเนินธุรกิจ ซื่อสัตย์ ยุติธรรม มีความจริงใจ และไม่เอาเปรียบ พนักงานลูกค้า
และสังคมเช่น มีการเสียภาษีอย่างถูกต้องตามข้อเท็จจริงแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ หรือ
บริการ ที่เป็นประโยชน์ต่อลูกค้าในการเลือกบริโภคไม่บิดเบือนตรา สินค้า แ ละชื่อธุรกิจ อื่น โดยไ ม่ลอก
เลียนแบบสินค้า ห รือบริการของผู้อื่น รวมถึงการโฆษ ณาท า ให้ เกิดความเข้าใจ ผิด รวมทั้งใ ห้โอกาส
แก่บุคลากรใน การเสนอความคิดเห็นในด้านต่างๆ มี การตอบสนองต่อข้อคิดเห็นเพื่อเป็นการพัฒนา
องค์กร และเป็นการสร้างความภาคภูมิใจ แก่พนักงานในฐานะเป็นส่วนสาคัญต่อความสาเร็จของธุรกิจ
	
9.2 ความรบั ผิดชอบต่อผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้น
องค์กรมีความรับผิดชอบต่อผลกระทบต่างๆ ที่เกิดจากการดาเนินธุรกิจ ต่อพนักงาน ลูกค้า และสังคม
	
9.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมทางสังคม และชุมชน องค์กรมีส่วนร่วมในการสร้างคุณประโยชน์แก่ชุมชน
สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างเหมาะสม 	
Ethics @ UN 2013
Ethical choices

Ethics @ UN 2013
Making ethical choices
Types of ethical choices
• Three levels of criteria
– Shame / face
– Guidelines
– Ethical principles
• Utilitarianism
• Categorical imperative

Ethics @ UN 2013
Two Types of Ethical Choices

Right vs wrong:
choosing right from wrong is the easiest

Right vs right
– Situation contains shades of gray i.e. all alternative have desirable and
undesirable results
– Choosing “the lesser of two evils”
– Objective: make a defensible decision

Ethics @ UN 2013
Ethical Principles
1. Utilitarianism
Ethical = positive  negative

2. Kant’s Categorical Imperative
Ethical = Carried out for the right reasons

Ethics @ UN 2013
Stakeholder Theories	

	

Ethics @ UN 2013
Theory one
•  Milton Friedman – focus on the shareholders as they only stakeholders who
matter. The business of business is making a profit and building shareholder
value the prime purpose.

Ethics @ UN 2013
Theory Two
* The quickest way to destroy shareholder value is to ignore stakeholders

R. Edward Freeman.Strategic Management: A Stakeholder Approach ,1984.

Ethics @ UN 2013
Two Broad Stakeholder Theories

•  Friedman
•  Freeman

Ethics @ UN 2013
Why pay attention to stakeholders?
•  Moral or philosophical reasons – corporate social responsibility
•  Practical reasons – licence to operate
•  Strategic planning reasons – identifying opportunities and threats

Ethics @ UN 2013
Stakeholder	
  Responsible	
  Approach	
  

Ethics @ UN 2013
Sustainable Business :Triple Bottom Line

Ethics @ UN 2013
Creating Public Value Meeting Mandates

John M. Bryson, McKnight Presidential
Professor of Planning and Public Affairs

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
เกณฑต์ดัสินจากคุณค่าภายในของจริยธรรม	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: THE MORAL SIDE OF MURDER
If you had to choose between (1) killing one person to save the lives of five
others and (2) doing nothing even though you knew that five people would die
right before your eyes if you did nothing—what would you do? What would be
the right thing to do?
•  PART TWO: THE CASE FOR CANNIBALISM
Sandel introduces the principles of utilitarian philosopher, Jeremy Bentham,
with a famous nineteenth century legal case involving a shipwrecked crew of
four. After nineteen days lost at sea, the captain decides to kill the weakest
amongst them, the young cabin boy, so that the rest can feed on his blood
and body to survive.

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: PUTTING A PRICE TAG ON LIFE
Today, companies and governments often use Jeremy Benthams utilitarian logic under
the name of cost-benefit analysis. Sandel presents some contemporary cases in which
cost-benefit analysis was used to put a dollar value on human life. The cases give rise to
several objections to the utilitarian logic of seeking the greatest good for the greatest
number. Should we always give more weight to the happiness of a majority, even if the
majority is cruel or ignoble? Is it possible to sum up and compare all values using a
common measure like money?

•  PART TWO: HOW TO MEASURE PLEASURE
Sandel introduces J.S. Mill, a utilitarian philosopher who attempts to defend utilitarianism
against the objections raised by critics of the doctrine. Mill argues that seeking the
greatest good for the greatest number is compatible with protecting individual rights, and
that utilitarianism can make room for a distinction between higher and lower pleasures.
Mills idea is that the higher pleasure is always the pleasure preferred by a well-informed
majority.
Ethics @ UN 2013
หลักการปฏิบัติหรือหลักการสําหรับตัดสินว่าความดีความชั่วคืออะไร
เพื่อให้เห็นภาพคําสอนที่ต่างกันของสามศาสนานี้ ขอให้พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้	
1. ทหารที่ไปรบเพื่อป้องกันประเทศ จําเป็นต้องฆ่าข้าศึก ถามว่าเขาทําบาปไหม?


2. เรากินยาถ่ายพยาธิเพื่อให้สุขภาพแข็งแรง ถามว่าเราทําบาปไหม?


3. เราเดินทางข้ามทะเลทรายโดยขี่ม้า ระหว่างทางม้าเราขาหักไปต่อไม่ได้ เราไม่สามารถ
พาม้าไปด้วย


ปัญหาคือถ้าทิ้งม้าไว้อย่างนั้นกว่ามันจะตายท่ามกลางแสงแดดที่ร้อนระอุนั้นต้องใช้เวลา
หลายวัน
เราไม่ต้องการให้ม้าที่เรารักตายอย่างทรมาน เราจึงตัดสินใจยิงมันด้วยปืนเพื่อให้ตายทันที
ถามว่าเราได้ทําบาปไหม? 	
	

Ethics @ UN 2013
ศาสนาฮินดู
ในคัมภีร์ ภควัทคีตา ที่เป็นคัมภีร์สําคัญเล่มหนึ่งของศาสนาฮินดู มีการนิยามธรรมว่าคือการทําหน้าที่
ในคัมภีร์เล่มนี้มีการเล่าเรื่องว่าแม่ทัพคนหนึ่งเกิดความสงสัยว่า การที่ตนเองเป็นทหารต้องเข้ารบอยู่
เสมอและในการรบนั้น ก็จําเป็นต้องเข่นฆ่าฝ่ายตรงกันข้าม เขาจะต้องรับบาปอันเกิดจากการฆ่าคนหรือ
ไม่ เนื้อหาของคัมภีร์ได้ตอบว่า
ตามทัศนะของศาสนาฮินดู อะไรจะผิดหรือไม่ผิดขึ้นอยู่กับว่าสิ่งนั้นเป็นหน้าที่ของเราหรือไม่ การตั้ง
คําถามเกี่ยวกับการกระทําใด ๆ โดยไม่ดูว่ากระทําโดยคนที่มีหน้าที่หรือไม่ ไม่สามารถตอบได้ว่าผิดหรือ
ถูก เช่นการฆ่า ถามว่าผิดหรือถูกทันทีไม่ได้ ต้องถามว่าใครเป็นคนฆ่าและใครถูกฆ่า และฆ่าใน
สถานการณ์เช่นใด เช่น นายเขียวเป็นทหารไปรบฆ่านายขาวซึ่งเป็นฝ่ายตรงข้ามตาย อย่างนี้ ไม่ถือว่า
ผิด เพราะเป็นการทําตามหน้าที่ แต่ถ้านายเขียวเป็นคนธรรมดา วันหนึ่งเดินเข้าซอยเกิดเขม่นกับนาย
ขาวแล้วฆ่านายขาวตาย อย่างนี้ ถือว่าผิด เพราะนายเขียวไม่มีหน้าที่ในการฆ่า กรณีตัวอย่างที่ยกมาข้าง
ต้น ตามศาสนาฮินดูการกินยาฆ่าพยาธิ ถ้าตีความว่า เป็นไปตามหน้าที่ของมนุษย์ที่จะพึงรักษาสุขภาพ
ของตนให้ดี ก็ไม่ถือว่าผิด การฆ่าม้าขาหักในทะเลทราย เพราะไม่ต้องการให้มันทุกข์ทรมาน ถ้าตีความ
ว่า เป็นหน้าที่ของเราที่เป็นเจ้านายมันที่ต้องกระทําเช่นนั้นก็ไม่ถือว่าผิด 	
	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
พุทธศาสนา
การทําตัวให้สอดคล้องกับกฎธรรมชาติ การฆ่านั้นพุทธศาสนาถือว่าผิด ไม่ว่าจะฆ่าใคร ฆ่าที่ไหน หรือฆ่า
ภายใต้สถานการณ์เช่นใดก็ตาม ที่พุทธศาสนาเชื่อเช่นนั้นก็เพราะพิจารณาว่าการฆ่าเป็นอกุศลกรรม
ตามธรรมชาติ และสิ่งที่เป็นอกุศลกรรมตามธรรมชาตินั้นย่อมส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้กระทํา
เสมอ ไม่ว่าผู้กระทําจะอ้างว่าทําไปเพราะไม่มีทางเลือก เพราะสงสาร หรือเพราะถูกบังคับก็ตาม การไป
รบแล้วฆ่าศัตรู การกินยาฆ่าพยาธิ การฆ่าม้าขาหักในทะเลทราย
ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องที่ผิดตามหลักการของพุทธศาสนาทั้งสิ้น แม้ว่าพุทธศาสนาจะมองว่าความผิดถูก
เป็นเรื่องตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ผิดให้ถูกหรือที่ถูกให้ผิด แต่พุทธศาสนาก็มี
จารีตในการที่จะไม่ใช้ศาสนาบีบบังคับให้บุคคลทําตามศีลธรรมของศาสนาหากเขาไม่ยินดี ชาวพุทธที่
จําเป็นต้องทําบาปเช่นต้องประกอบอาชีพประมงเพื่อเลี้ยงชีพและไม่มีอาชีพอื่นให้ทําในท้องถิ่นนั้น (เช่น
บริเวณชายทะเลที่ไม่สามารถทําการเกษตรได้) พุทธศาสนาก็อนุโลมให้เจ้าตัวพิจารณาเองว่าจะจัดการ
กับชีวิตตนเองอย่างไร ถ้าเจ้าตัวเขาเห็นว่าต้องทําไม่เช่นนั้นจะอดตายก็ทําได้ แต่พุทธศาสนาก็ยังยืนยัน
ว่าการทําประมงนั้นเป็นบาป และชาวประมงก็ต้องรับกรรมที่กระทํานั้นในอนาคต การต้องทําบาปไม่เช่น
นั้นจะอดตายพุทธศาสนาก็ยังถือว่าไม่พ้นความผิด ในขณะที่ศาสนาฮินดูอาจจะมองว่าการทําประมงเป็น
หน้าที่ ถ้าไม่มีชาวประมงเราก็ไม่มีปลากิน ดังนั้นการทําประมงจึงไม่ผิด แต่การตกปลาเพื่อความ
สนุกสนานโดยไม่มีหน้าที่รองรับต้องถือว่าผิด
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
ศาสนาไชนะ
•  การงดเว้นที่จะไม่เบียดเบียนผู้อื่น หลักการนี้เรียกว่าหลักอหิงสา และผู้อื่นในที่นี้ศาสนาไชนะก็ตีความ
กว้างมากโดยครอบคลุมมนุษย์ สัตว์ พืช และแม้แต่สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติเช่นแม่น้ํา ป่าเขา
อากาศ ศาสนาไชนะมีจริยธรรมที่เคร่งครัดมากกว่าทุกศาสนาในอินเดีย

•  นักบวชในศาสนานี้จะได้รับการสั่งสอนให้พยายามเลี่ยงการเบียดเบียนชีวิตอื่น จึงมีนักบวชในนิกาย
หนึ่งของศาสนานี้ไม่สวมเสื้อผ้าเพราะคิดว่าเสื้อผ้าก็มาจากชีวิตผู้อื่น การกินอาหารก็พยายามระวัง
ไม่ให้ทําร้ายใคร นักบวชไชนะไม่กินเนื้อสัตว์อยู่แล้ว แม้พืชที่กินก็พยายามกินพืชประเภทที่เราไม่ต้อง
ทําลายมันทั้งชีวิตเพื่อเอามาเป็นอาหาร กรณีตัวอย่างที่ตั้งเป็นคําถามข้างต้นนั้นศาสนาไชนะเห็นด้วย
กับพุทธศาสนาว่าต้องถือว่าผิด แต่ศาสนาไชนะก็เคร่งกว่าพุทธศาสนาตรงที่ไม่สอนให้ผ่อนปรน คนดี
ตามทัศนะศาสนานี้พร้อมจะทําตนให้ลําบากมากกว่าที่จะทําร้ายผู้อื่น ดังนั้นศาสนานี้น่าจะแนะให้ชาว
ประมงเลิกจับปลาแล้วหาอาชีพอื่นทํา ถ้าทําแถวนั้นไม่ได้ก็ควรย้ายไปอยู่ที่อื่น

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
UN Global Compact 	

Ethics @ UN 2013
หลักการรับผิดชอบต่อสังคมของวิสาหกิจ (CSR: Corporate Social
Responsibility) ตาม the UN Global Compact
ซึ่งเป็นกรอบที่วางโดยองค์การสหประชาชาติ {4} ให้วิสาหกิจดําเนินตามหลักการ 10
ประการนั้น
มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชน มาตรฐานแรงงาน สิ่งแวดล้อมและการไม่
ยอมรับการโกงกิน-สินบน ในขณะนี้มีวิสาหกิจเข้าร่วมลงนามเป็นจํานวนมาก โดยถือเป็นก
ลุ่มที่มีผู้เข้าร่วมมากที่สุดในโลก


วิสาหกิจใดที่ประสงค์จะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ UN Global Compact จะต้องลงนา
มตกลงปฏิบัติตามหลักการ 10 ประการอย่างเคร่งครัด ซึ่งประกอบด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชน
มาตรฐานแรงงาน สิ่ง แวดล้อม และการไม่ร่วมมือกับการติดสินบนหรือทุจริต

Ethics @ UN 2013
หลักการรับผิดชอบต่อสังคมของวิสาหกิจ (CSR: Corporate Social
Responsibility) ตาม the UN Global Compact
1. ด้านสิทธิมนุษยชน
          หลักข้อที่ 1: ธุรกิจควรสนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิ-มนุษยชนที่เป็นที่
ยอมรับของนานาชาติ 
          หลักข้อที่ 2: ธุรกิจไม่พึงข้อแวะกับการกระทําที่ขัดหลักสิทธิ-มนุษยชน
2. ด้านมาตรฐานแรงงาน
          หลักข้อที่ 3: ธุรกิจควรส่งเสริมและตระหนักถึงเสรีภาพในการก่อตั้ง
สหภาพแรงงานของพนักงาน 
          หลักข้อที่ 4: ธุรกิจต้องร่วมขจัดการบังคับการใช้แรงงาน 
          หลักข้อที่ 5: ธุรกิจต้องร่วมขจัดการใช้แรงงานเด็ก 
          หลักข้อที่ 6: ธุรกิจต้องไม่กีดกันการจ้างงานและอาชีพ 	
	

Ethics @ UN 2013
หลักการรับผิดชอบต่อสังคมของวิสาหกิจ (CSR: Corporate Social
Responsibility) ตาม the UN Global Compact
  3. ด้านสิ่งแวดล้อม
          หลักข้อที่ 7: ธุรกิจควรสนับสนุนการดําเนินการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม 
          หลักข้อที่ 8: ธุรกิจควรแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ต่อความรับผิดชอบ
ด้านสิ่งแวดล้อม 
          หลักข้อที่ 9: ธุรกิจควรส่งเสริมและเผยแพร่เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
4. ด้านการไม่ยอมรับการทุจริต
          หลักข้อที่ 10: ธุรกิจควรดําเนินไป โดยปราศจากการทุจริตและประพฤติมิชอบใน
ทุกรูปแบบ รวมทั้งการบังคับ ขูดรีด และการติดสินบน ทั้งนี้อาจพิจารณาในกรณีภายใน
วิสาหกิจ และการให้สินบนอันเป็นการทุจริตในวงราชการ ก็เป็นสิ่งที่พึงหลีกเลี่ยง 	
	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
การปฏิบัติตามหลักการสากลว่าด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคม 

Ethics @ UN 2013
การปฏิบัติตามหลักการสากลว่าด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคม 

Ethics @ UN 2013
การปฏิบัติตามหลักการสากลว่าด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคม 

Ethics @ UN 2013
การปฏิบัติตามหลักการสากลว่าด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคม 

Ethics @ UN 2013
The IKEA Way 	

Ethics @ UN 2013
มาตรฐานและข้อบังคับของ IKEA สรุปได้ ดังนี้
   1. สินค้าและวัตถุดิบ
IKEA เน้นการรักษาต้นทุนให้อยู่ในระดับต่ํา และการผลิตสินค้า จากวัสดุที่มีคุณภาพ ที่ถูก ปรับให้เข้า
กับสภาพแวดล้อม มีความปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้ใช้ ซึ่งรวมไปถึงความพยายามที่จะปฏิบัติตามกฎ
ระเบียบด้านการใช้สารเคมีในผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมให้ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยการ IKEA
เน้นการใช้วัตถุดิบในการผลิตที่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ หรือสามารถสร้างขึ้นทดแทนใหม่ได้ เช่น ไม้
ฝ้าย โลหะ พลาสติก แก้ว และหวาย 

2. ผู้ป้อนสินค้าและวัตถุดิบ (Suppliers)
IKEA ให้ความสําคัญต่อการทําธุรกิจกับ Suppliers ที่มีสภาพการทํางานที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ไม่
เลือกปฏิบัติ คํานึงถึงการรักษาสภาพแวดล้อม ซึ่งในเรื่องนี้ IKEA เน้นการปฏิบัติตามกฎหมาย หลักการ
หรือแถลงการณ์ขององค์กรระหว่างประเทศ เช่น UN, International Labour Organization ด้วย
	
	
	

Ethics @ UN 2013
มาตรฐานและข้อบังคับของ IKEA สรุปได้ ดังนี้
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ	
   IKEA เน้นการประหยัดพลังงาน เช่น การใช้หลอดประหยัดพลังงานในโกดังเก็บสินค้า
และพยายามใช้แหล่งพลังงานทางเลือก เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ เชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นต้น	
4. การมีส่วนร่วมกับชุมชน	
 IKEA มีโครงการต่างเพื่อช่วยเหลือชุมชนและสังคม ทั้งในพื้นที่ ระดับประเทศ และระดับ
นานาชาติ โดยร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เช่น UNICEF, Save the Children และ World
Wildlife Fund (WWF) เป็นต้น	

Ethics @ UN 2013
IWAY Standard
•  Code of Conducts ฉบับนี้ อ้างอิงมาจาก Convention ของ 8 ฉบับ ตาม ILO
Declaration (1998) และ Rio Declaration on Sustainable Development
(1992) โดยครอบคลุม 3 เรื่อง
•  คือ สิ่งแวดล้อม สังคมและสภาพการทํางาน (รวมเรื่องการใช้แรงงานเด็ก) และ สินค้าที่
ทําจากไม้ และใช้เป็นข้อบังคับที่ Suppliers และ Trading Organization ของบริษัท
ต้องปฏิบัติตาม   	
	


Ethics @ UN 2013
IWAY Standard
•  สิ่งแวดล้อม  ครอบคลุมเรื่องมลภาวะทางอากาศ เสียง และน้ํา โดยกําหนดให้ Suppliers ต้อง
ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และต้องรับการตรวจสอบจากหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมด้วย
• 
 	
•  การปนเปื้อนในพื้นดิน (Ground Contamination) กําหนดให้ Suppliers ปฏิบัติตาม กฎหมายที่
เกี่ยวข้อง ประเมินความเสี่ยงของการปนเปื้อน และหากมรการปนเปื้อนเกิดขึ้นจะต้องหยุดการ
ประกอบการ และต้องดําเนินการเพื่อแก้ไขการปนเปื้อนดังกล่าวด้วย สารเคมี กําหนดให้ Suppliers
ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด รวมทั้งเรื่องการฝึกหัดพนักงาน การจัดทําขั้นตอน
ปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษร การติดฉลาก การเก็บรักษาและขนส่งด้วย ขยะ (ทั้งขยะทั่วไป และขยะ
มีพิษ) IKEA จะติดตามผลของปริมาณ หรือชนิดของ  ขยะที่เกิดขึ้นจากการประกอบการของ
Suppliers และหากเกิดขยะมีพิษขึ้น Suppliers จะต้องปฏิบัติ ตามข้อกําหนดตามกฎหมาย หรือข้อ
กําหนดของบริษัทที่เข้มงวดที่สุด  	
	
	

Ethics @ UN 2013
IWAY Standard
•  การป้องกันอัคคีภัย  Suppliers ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับตามกฎหมาย มีการฝึก เตรียมการป้องกัน
อัคคีภัยให้พนักงาน มีทางหนีภัย และติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยที่เหมาะสมและปลอดภัย
•  รวมทั้งต้องรับการตรวจสอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สุขอนามัยของพนักงานและความปลอดภัย  
Suppliers ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับตามกฎหมาย มีการเก็บสถิติการเกิดอุบัติเหตุและการ
ดําเนินการที่เกี่ยวข้องของบริษัท ซึ่งอาจรวมถึงการรายงานผลต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วย แล้วแต่
กรณี มีการส่งเสริมความรู้เรื่องความเสี่ยงในสถานที่ประกอบการให้แก่พนักงาน รวมถึงการฝึกหัด
และเก็บบันทึกฝึกหัดการปฏิบัติงานกับเครื่องมือ ต่างๆ การหลีกเลี่ยงอุปกรณ์ที่อาจเป็นภัยต่อ
พนักงาน (สายไฟ บันได หลุม บ่อ ท่อแก๊ส ภาชนะบรรจุสารเคมี สารเคมีที่ติดไฟได้) การมีอุปกรณ์
ป้องกันภัยให้พนักงานใช้ในขณะปฏิบัติงาน (เช่น หมวก ถุงมือ หน้ากาก) การจัดทํา safety
instruction ต่างๆให้พนักงานปฏิบัติตาม เป็นต้น บ้านพักคนงาน/พนักงาน หาก Suppliers
จําเป็นต้องจัดที่พักให้แก่พนักงานหรือ คนงานของตน Suppliers ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ในเรื่อง
พื้นที่อาศัย การจัดห้องสุขา เป็นต้น 	
	
	

Ethics @ UN 2013
IWAY Standard
•  ค่าจ้างงาน Suppliers ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระบียบข้อบังคับ โดยต้องมีการทํา สัญญาเป็นลาย
ลักษณ์อักษรด้วย นอกจากนี้ IKEA ยังมีข้อกําหนดปลีกย่อย

•  เช่น การจํากัดชัวโมงทํางาน การทํางานล่วงเวลา ค่าแรงขั้นต่ํา วันหยุด การลาป่วย วันลาพักผ่อน
และผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆที่ Suppliers ให้กับพนักงานด้วย การใช้แรงงาน IKEA ไม่ยอมรับ
การใช้แรงงานเด้ก แรงงานที่ถูกบังคับหรือทํา ทารุณกรรมในการประกอบการของ Suppliers ของ
บริษัท สวัสดิภาพพนักงานอื่นๆ IKEA มีข้อกําหนดเรื่องเสรีภาพของพนักงาน/ลูกจ้าง
•  รวมทั้งไม่ยอมรับการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดทางเพศ การทําร้าย ข่มขู่ หรือการใช้ความ
รุนแรงในรูปแบบต่างๆ อื่นๆ IKEA ให้ความสําคัญต่อการใช้ การจัดหา และการบํารุงรักษาป่า และ
แหล่ง ผลิตไม้ หวาย ไผ่ ซึ่ง IKEA จะขอส่งผู้ตรวจสอบมาตรวจสอบ ณ สถานที่ผลิตสินค้าโดยไม่แจ้ง
ให้ทราบล่วงหน้าด้วย 	
	
	

Ethics @ UN 2013
การดําเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณนั้น
หมายถึง
การไม่เบียดเบียนผู้อื่น	

Ethics @ UN 2013
การดําเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณนั้น หมายถึงการไม่เบียดเบียนผู้อื่น
1.  เว้นจากการเบียดเบียนลูกค้า ได้แก่ ไม่กักตุนสินค้า ไม่ส่งชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบราคาถูกแต่ไร้คุณภาพ
เมื่อของขาดแคลน ใช้อะไรปลอมทําให้ลูกค้าผลิตสินค้าไม่ได้ตามต้องการ หรือเกิดของเสีย
(Defect) ไม่แสวงหากําไรที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้บริโภค ไม่ผลิตสินค้าที่ต่ํากว่ามาตรฐาน
และเป็นจริงตามโฆษณา
2.  . เว้นจากการเบียดเบียนผู้จัดส่งสินค้าหรือวัตถุดิบ (Supplier) หรือหุ้นส่วน ได้แก่ กดราคา ปิดบัง
ข้อมูล ไม่จ่ายเงินตามกําหนด ยืดเวลาการชําระเงิน ตําหนิสินค้าว่าไม่ดีเพื่อให้ลดราคามาก ๆ เอารัด
เอาเปรียบ ฯลฯ
3.  . เว้นจากการเบียดเบียนพนักงาน เช่น ไม่จ่ายค่าล่วงเวลา ใช้แรงงานเด็ก กดค่าแรง ไม่ให้สวัสดิการ
ที่ควรให้ สภาพแวดล้อมในการทํางานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่ส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนา
ความรู้ความสามารถ การแบ่งผลประโยชน์ให้พนักงานไม่เป็นธรรม
4.  เว้นจากการเบียดเบียนคู่แข่งผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของ เช่น ไม่จ่ายเงินปันผล ไม่ให้ข้อมูลที่แท้จริง นําหุ้น
เข้าตลาดหลักทรัพย์แล้วไม่ใส่ใจในการบริหาร บริหารองค์กรเพื่อผลระยะสั้น ๆ ไม่ได้มุ่งเพื่อความ
ก้าวหน้าขององค์กรในระยะยาว
Ethics @ UN 2013
การดําเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณนั้น หมายถึงการไม่เบียดเบียนผู้อื่น
5  เว้นจากการเบียดเบียนคู่แข่ง เช่น ปล่อยข่าวลือที่ไม่ดี ให้สินบนหรือใช้อิทธิพลเพื่อแย่ง
ลูกค้า ซื้อข้อมูลหรือความลับ ฯลฯ
6  เว้นจากการเบียดเบียนราชการ เช่น หลบเลี่ยงการจ่ายภาษีทีถูกต้องจ่ายเงินให้ใต้โต๊ะ
ขายอุปกรณ์ เครื่องมือให้หน่วยราชการราคาสูงกว่าปกติ ส่งงานล่าช้าทําให้เกิดผลเสีย
หายต่อราชการ
7  เว้นจากการเบียดเบียนสังคม เช่น ขายของแพง โฆษณาหลอกลวงผู้บริโภค กักตุน
สินค้า บรรทุกของเกินทําให้ถนนทรุด หาบเร่ขวางทางเท้า
8  เว้นจากการเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่มีระบบการจัดการกับของเสียที่เกิดจาก
กระบวนการผลิต ทําให้เกิดมลภาวะ ได้แก่ น้ําเสีย อากาศเสีย กากอุตสาหกรรมที่มีสาร
พิษ ฯลฯ ตลอดจนส่งเสียงหรือกลิ่นรบกวน ผลิตสินค้าและบริหารที่ทําลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 	
	

Ethics @ UN 2013
การทุจริตในภาคเอกชน	

Ethics @ UN 2013
รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน
 1. การทุจริตที่เกิดจากปัจจัยภายนอก
ในที่นี้หมายถึงการที่วิสาหกิจเอกชนจําเป็นต้องติดสินบนเจ้าพนักงานเพื่อให้
สามารถทําธุรกิจได้ (โดยสะดวก) หรือโดยไม่ถูกขัดขวาง หน่วงเหนี่ยว ปรากฏการณ์เช่นนี้
มีเห็นอยู่ทั่วไปในวงการการรับ-ส่งสินค้าระหว่างประเทศ การขอรับใบอนุญาตต่าง ๆ จาก
ทางราชการ แม้แต่วิสาหกิจชั้นดีที่มีธรรมาภิบาลสูงจากต่างประเทศก็ยังต้องยอมติด
สินบน เช่น การเข้าไปทําธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศโลกที่สาม เป็นต้น
        ในประเทศตะวันตกที่มีระบบการต่อสู้กับการทุจริตที่ดี ปรากฏว่า ต้นทุนในการเลี่ยง
ภาษี สูงกว่ามูลค่าของการเสียภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมาย  แต่ในกรณีประเทศกําลัง
พัฒนา  ต้นทุนในการเลี่ยงภาษีกลับต่ํากว่า จึงทําให้นักธุรกิจยินดีหรือจําเป็นที่จะต้องติด
สินบน เพื่อให้การทําธุรกิจเป็นไปด้วยความราบรื่น โดยถือต้นทุนนี้เป็นต้นทุนปกติหนึ่งของ
การทําธุรกิจนั่นเอง

Ethics @ UN 2013
รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน
 2. การตั้งใจฉ้อโกงโดยเจ้าของวิสาหกิจ
          กรณีนี้ถือเป็นการมุ่งกระทําอาชญากรรมโดยโจ่งแจ้ง ได้แก่ การตั้งวงธุรกิจแชร์
ลูกโซ่ หรืออาชญากรรมเศรษฐกิจผ่านการขายสินค้าด้วยระบบขายตรงบางรายการ
เป็นต้น กรณีนี้ถือเป็นการฉ้อโกงลูกค้าหรือผู้มีส่วนได้เสียอื่น สมควรที่จะถูกดําเนินคดีตาม
กฎหมายอย่างเด็ดขาด 
          เมื่อเร็ว ๆ นี้พนักงานผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่ง ยินดีลาออกจากงานเพื่อไปสมัคร
งานในบริษัทใหม่ซึ่งเป็นของเพื่อนและจ่ายเงินเดือนมากกว่าถึง 40% ก็ยินดีให้ลาออกไป
แต่พนักงานผู้นี้ทํางานได้เพียงเดือนเศษ ๆ ก็ลาออกเพราะพบว่า บริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทที่
เข้าข่าย “ต้มตุ๋น” ประชาชน ในระหว่างทํางาน ก็ทําด้วยความไม่สบายใจ เพราะมีผู้รักษา
กฎหมายเข้ามาตรวจและจับกุมผู้บริหารบริษัทบ่อยครั้ง แต่ผู้บริหารก็ไม่ได้ถูกจับไป ซึ่งก็
คงเป็นเพราะได้ติดสินบนเจ้าพนักงานนั่นเอง

Ethics @ UN 2013
รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน
 3. การทุจริตของผู้บริหาร-พนักงาน
          กรรมการที่ปรึกษาของสมาคมสินเชื่อที่อยู่อาศัยมาหลายสมัย ทราบจากข้อมูลที่เกี่ยวข้องว่า
การทุจริตในวงการสถาบันการเงินนั้น ส่วนมากมาจากการทุจริตจากบุคคลภายใน เช่น
โดยผู้บริหารหรือพนักงาน ไม่ใช่การโกงจากลูกค้าภายนอก เช่น ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า การทุจริตจาก
ภายในนี้ เป็นการทุจริตที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ โปรดดูพาดหัวข่าวเฉพาะในวงการสถาบันการ
เงินที่มีระบบตรวจสอบที่ดีที่สุดแล้ว ยังมีข่าวออกบ่อย ๆ ดังต่อไปนี:	
้
แจ้งจับผู้ช่วยผจก.แบงก์ธนชาตโกง 17 ล. (คมชัดลึก: 3 เมษายน 2552)
จําคุกเกริกเกียรติ 20ปีชดใช้บีบีซี 1.5พันล. (กรุงเทพธุรกิจ: 11 มีนาคม 2552)
ศาลสั่งจําคุกสาวแบงก์ 492 ปี ฐานโกงเงินลูกค้ากว่า 65 ล้านบาท (โพสต์ทูเดย์ 27 กันยายน 2551)
ผช.ผจก.สาวแบงก์ โกง200ล.ตร.ประกาศจับทั่วปท. (ข่าวสด: 6 พฤษภาคม 2550)
พนักงานธ.กรุงเทพ โกงเงินลูกค้าเกือบ 3 ล้านบาท (28 กันยายน 2550)
รวบหนุ่มแบงก์ โกง 45 ล. ติดหวยงอมแงม (ไทยรัฐ: 26 พฤศจิกายน 2548)
สาวแบงก์ทหารไทยโกงเงินลูกค้า 13 ล.นานกว่า 3 ปี (ข่าวสด: 25 กุมภาพันธ์ ไม่ทราบปี)

Ethics @ UN 2013
รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน
•  4. การรับประโยชน์ที่มิควรได้
          ประโยชน์ที่มิควรได้ประกอบด้วย การ “กินตามน้ํา” ในกระบวนการจัดซื้อของ
วิสาหกิจ ซึ่งมักมีความไม่โปรงใสต่าง ๆ ทั้งนี้รวมไปถึงการรับประโยชน์ทางอ้อมต่าง ๆ
อันได้แก่ ใบหุ้น หรือการได้รับการอํานวยความสะดวกในการจับจ่ายหรือการรื่นรมย์ต่าง
ๆ เช่น การเข้าแหล่งบันเทิงต่าง ๆ เป็นต้น
          ผู้บริหารของวิสาหกิจขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่เป็นบริษัทมหาชนนั้น ทําการ
ผูกขาดตัดตอนบริการเสริมต่าง ๆ เช่น ในกรณีสถาบันการเงิน ผู้บริหารนั้น ๆ อาจตั้ง
บริษัทขนเงิน บริษัทยาม บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน ฯลฯ เพื่อให้บริการแก่สถาบันการ
เงินของตนเอง การนี้ย่อมทําให้สถาบันการเงินไม่ได้รับสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพ
เนื่องจากขาดการแข่งขันเสรีจนได้รับบริการที่ดีที่สุด ณ ราคาที่ถูกที่สุด  ทําให้ผู้ถือหุ้นทั้ง
หลายได้รับความเสียหาย	
	

Ethics @ UN 2013
รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน
 5. สวัสดิการที่สูงเกินควร


          วิสาหกิจขนาดใหญ่หลายแห่งโดยเฉพาะบริษัทมหาชน จ่ายสวัสดิการที่สูงเกินจริง เช่น ใน

วงการสายการบิน สายการบินที่มีชื่อเสียงชั้นนําของโลกบางแห่ง ให้อดีตพนักงานสามารถซื้อตั๋วเดิน
ทางในอัตราราคาเพียงไม่กี่ร้อยบาท ในขณะที่ผู้ใช้บริการทั่วไปต้องเสียค่าบริการหลายหมื่นบาท
เป็นต้น


          อาจกล่าวได้ว่า พนักงานของวิสาหกิจขนาดใหญ่หลายแห่งมีประสิทธิภาพการทํางานที่ต่ํา
ทํางานอยู่ในลักษณะเสมือน “ทาก” “กาฝาก” หรือ “พยาธิ” ที่เกาะกินวิสาหกิจขนาดใหญ่ ในบางหน่วย
งานอาจสามารถ “ดุน” พนักงานเหล่านี้ออกได้จํานวนมาก และหากพนักงานเหล่านี้ออกไปแล้ว ก็ใช่ว่า
จะหางานทําได้ในตลาดแรงงานทั่วไป เพราะคงมีคุณภาพต่ําเกินกว่าจะหางานตามอัตราเงินเดือนที่ได้
รับอยู่ในวิสาหกิจปัจจุบัน

Ethics @ UN 2013
สังศิต พิริยะรังสรรค (2549 a : 42)

Ethics @ UN 2013
สังศิต พิริยะรังสรรค (2549 a : 42)

Ethics @ UN 2013
ผลร้ายของการทุจริต	

	

Ethics @ UN 2013
UNDP ได้สรุปผลร้ายของการทุจริตหลายประการ ได้แก่:
          1. ลดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุนจากต่างประเทศ
          ผมเคยไปเป็นที่ปรึกษาของกระทรวงการคลังในประเทศเพื่อนบ้าน 2-3 แห่ง บริษัทขนาดใหญ่ที่
จะเข้าไปทําธุรกิจ ต่างต้องเสีย “ค่าต๋ง” ให้กับข้าราชการใหญ่ เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม หาไม่ก็จะไมได้รับ
สัมปทาน เป็นต้น	
          2. ลดทอนรายได้ของภาครัฐที่จะนํามาเพื่อการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย
          ทําให้ผู้มีรายได้น้อย ยิ่งยากจนลง ส่งผลเสียต่อประเทศโดยรวม จะเห็นได้ว่า ประเทศในภูมิภาค
นี้อาจมีความแตกต่างกันไม่มากนักเมื่อราว 50 ปีก่อน แต่ในขณะนี้แตกต่างกันมาก ประเทศที่มีการ
ทุจริตมาก ย่อมเจริญน้อยกว่าประเทศที่มีการทุจริตน้อย	
          3. จัดสรรทรัพยากรผิด
          ทําให้การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดซึ่งแทนที่จะนําไปพัฒนาประเทศ กลับนําไปใช้ใน
วงการอื่นที่อาจมีความจําเป็นน้อยกว่า เช่น ในด้านงบประมาณการทหาร เป็นต้น	
          4. ทําให้กฎหมายบ้านเมืองขาดความศักดิ์สิทธิ์
          ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ เช่น การตัดไม้ทําลายป่า การทําลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น	
          5. เป็นการทําลายระบบสิทธิมนุษยชน
          สร้างวงจรความชั่วร้ายจากการทุจริต กลุ่มที่อยู่เหนือกฎหมายย่อมกระทําการให้ผู้อื่นเสียสิทธิ
อันชอบธรรม และส่งผลต่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคมโดยรวม
	
	

Ethics @ UN 2013
จริยธรรมทางธุรกิจที่มีต่อพนักงาน
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
The IKEA Way 	

Ethics @ UN 2013
The IKEA Way on Preventing Child Labor
•  หลักการของเอกสารนี้ อ้างอิงตามหลักการขององค์กรระหว่างประเทศที่มีอยุ่แล้วในปัจจุบัน คือ UN
Convention on the Rights of the Child (1989), International Labour Organization (ILO)
Minimum Age Convention no. 138 (1973), ILO Convention on the Worst Forms of Child
Labour no. 182 (1999)
•  IKEA เน้นย้ําชัดเจนว่า บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็ก และกําหนดให้ Suppliers ของตน
ยอมรับหลักเกณฑ์ตาม UN Convention on the Right of the Child รวมทั้งกฎหมายระหว่าง
ประเทศและกฎหมายภายในประเทศที่ Suppliers ประกอบกิจการอยู่ และกําหนดให้ Suppliers
ดําเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้มีการใช้แรงงานเด็กที่สถานประกอบการของ Suppliers และ
ผู้รับช่วงการผลิต (Sub-contractors) ของ Suppliers นั้นๆ
•  หากมีการตรวจพบการใช้แรงงานเด็ก IKEA จะขอให้ Suppliers ดําเนินการแก้ไขปัญหา ซึ่งหาก
Suppliers ไม่ปฏิบัติตามในกรอบเวลาที่ตกลงไว้ หรือเกิดการฝ่าฝืนข้อบังคับขึ้นอีก IKEA จะยุติการ
ดําเนินธุรกิจกับ Suppliers ดังกล่าว 
•  นอกจากนี้ IKEA ยังเรียกร้องให้ Suppliers ให้การปฏิบัติที่เหมาะสมกับแรงงานเยาวชนด้วย เช่น
ไม่ให้ทํางาน ที่อาจเกิดอันตราย หรือไม่ให้ทํางานรอบดึก เป็นต้น ทั้งนี้ Suppliers ต้องมีหน้าที่ที่ต้อง
รายงานให้ IKEA ทราบถึงประเด็นเรื่องการใช้ แรงงานเด็กทั้งในสถานประกอบการของ Suppliers
และ Sub-contractors ด้วย โดย IKEA ขอสงวนสิทธิ์ในการเดินทางมาตรวจสอบ หรือมอบหมายให้
บุคคลที่สามมาตรวจสอบสถานที่ผลิตสินค้าได้โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า
	
	
	
Ethics @ UN 2013
Chevron	

Ethics @ UN 2013
บทบาทและความรับผิดชอบ : เราแต่ละคนมีหน้าที่แจ้งเรอื่งราวทเี่กิดขนึ้ 

Ethics @ UN 2013
Pfizer

	
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
จริยธรรมทางธุรกิจที่มีต่อผู้บริโภค
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
HP มีบทบาทสําคัญในการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้มี ความ ปลอดภัย

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
สรุปผลการดําเนินงาน

Ethics @ UN 2013
สรุปผลการดําเนินงาน

Ethics @ UN 2013
สรุป เป้าหมาย การ ดําเนิน งาน 

Ethics @ UN 2013
จริยธรรมทางธุรกิจที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
Ethics @ UN 2013
เอสซีจีให้ความสําคัญกับการวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยมุ่งพัฒนานวัตกรรม ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: Sahapatana 	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: Tesco	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: Pfiffer	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
113

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  ART ONE: FREE TO CHOOSE
Sandel introduces the libertarian conception of individual rights, according to
which only a minimal state is justified. Libertarians argue that government
shouldnt have the power to enact laws that 1) protect people from
themselves, such as seat belt laws, 2) impose some peoples moral values on
society as a whole, or 3) redistribute income from the rich to the poor.
•  PART TWO: WHO OWNS ME?
Libertarian philosopher Robert Nozick makes the case that taxing the wealthy
—to pay for housing, health care, and education for the poor—is a form of
coercion. Students first discuss the arguments behind redistributive taxation.
Dont most poor people need the social services they receive in order to
survive? If you live in a society that has a system of progressive taxation,
arent you obligated to pay your taxes? Dont many rich people often acquire
their wealth through sheer luck or family fortune? A
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: THIS LAND IS MY LAND
The philosopher John Locke believes that individuals have certain rights so fundamental
that no government can ever take them away. These rights—to life, liberty and property
—were given to us as human beings in the the state of nature, a time before government
and laws were created. According to Locke, our natural rights are governed by the law of
nature, known by reason, which says that we can neither give them up nor take them
away from anyone else.

•  PART TWO: CONSENTING ADULTS
If we all have unalienable rights to life, liberty, and property, how can a government
enforce tax laws passed by the representatives of a mere majority? Doesnt that amount
to taking some peoples property without their consent? Lockes response is that we give
our tacit consent to obey the tax laws passed by a majority when we choose to live in a
society. Therefore, taxation is legitimate and compatible with individual rights, as long as
it applies to everyone and does not arbitrarily single anyone out
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: HIRED GUNS
During the Civil War, men drafted into war had the option of hiring substitutes to fight in their place.
Professor Sandel asks students whether they consider this policy just. Many do not, arguing that it is
unfair to allow the affluent to avoid serving and risking their lives by paying less privileged citizens to
fight in their place. This leads to a classroom debate about war and conscription. Is todays voluntary
army open to the same objection? Should military service be allocated by the labor market or by
conscription? What role should patriotism play, and what are the obligations of citizenship? Is there a
civic duty to serve ones country? And are utilitarians and libertarians able to account for this duty?

• 
PART TWO: MOTHERHOOD: FOR SALE
In this lecture, Professor Sandel examines the principle of free-market exchange in light of the
contemporary controversy over reproductive rights. Sandel begins with a humorous discussion of the
business of egg and sperm donation. He then describes the case of Baby M—a famous legal battle in
the mid-eighties that raised the unsettling question, Who owns a baby? In 1985, a woman named Mary
Beth Whitehead signed a contract with a New Jersey couple, agreeing to be a surrogate mother in
exchange for a fee of $10,000. However, after giving birth, Ms. Whitehead decided she wanted to keep
the child, and the case went to court.
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: MIND YOUR MOTIVE
Professor Sandel introduces Immanuel Kant, a challenging but influential philosopher. Kant rejects
utilitarianism. He argues that each of us has certain fundamental duties and rights that take precedence
over maximizing utility. Kant rejects the notion that morality is about calculating consequences. When
we act out of duty—doing something simply because it is right—only then do our actions have moral
worth. Kant gives the example of a shopkeeper who passes up the chance to shortchange a customer
only because his business might suffer if other customers found out. According to Kant, the
shopkeepers action has no moral worth, because he did the right thing for the wrong reason.
•  PART TWO: THE SUPREME PRINCIPLE OF MORALITY
Immanuel Kant says that insofar as our actions have moral worth, what confers moral worth is our
capacity to rise above self-interest and inclination and to act out of duty. Sandel tells the true story of a
thirteen-year old boy who won a spelling bee contest, but then admitted to the judges that he had, in
fact, misspelled the final word. Using this story and others, Sandel explains Kants test for determining
whether an action is morally right: to identify the principle expressed in our action and then ask whether
that principle could ever become a universal law that every other human being could act on.
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: A LESSON IN LYING
Immanuel Kants stringent theory of morality allows for no exceptions. Kant believed that telling a lie,
even a white lie, is a violation of ones own dignity. Professor Sandel asks students to test Kants theory
with this hypothetical case: if your friend were hiding inside your home, and a person intent on killing
your friend came to your door and asked you where he was, would it be wrong to tell a lie? If so, would
it be moral to try to mislead the murderer without actually lying? This leads to a discussion of the
morality of misleading truths. Sandel wraps up the lecture with a video clip of one of the most famous,
recent examples of dodging the truth: President Clinton talking about his relationship with Monica
Lewinsky.
•  PART TWO: A DEAL IS A DEAL
Sandel introduces the modern philosopher John Rawls and his theory of a hypothetical social contract.
Rawls argues that principles of justice are the outcome of a special kind of agreement. They are the
principles we would all agree to if we had to choose rules for our society and no one had any unfair
bargaining power. According to Rawls, the only way to ensure that no one has more power than
anyone else is to imagine a scenario where no one knows his or her age, sex, race, intelligence,
strength, social position, family wealth, religion, or even his or her goals in life. Rawls calls this
hypothetical situation a veil of ignorance. What principles would we agree to behind this veil of
ignorance? And would these principles be fair? Professor Sandel explains the idea of a fair agreement
with some humorous examples of actual contracts that produce unfair results.
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  ART ONE: WHATS A FAIR START?
Is it just to tax the rich to help the poor? John Rawls says we should answer this question by asking what principles you
would choose to govern the distribution of income and wealth if you did not know who you were, whether you grew up in
privilege or in poverty. Wouldnt you want an equal distribution of wealth, or one that maximally benefits whomever happens
to be the least advantaged? After all, that might be you. Rawls argues that even meritocracy—a distributive system that
rewards effort—doesnt go far enough in leveling the playing field because those who are naturally gifted will always get
ahead. Furthermore, says Rawls, the naturally gifted cant claim much credit because their success often depends on factors
as arbitrary as birth order. Sandel makes Rawlss point when he asks the students who were first born in their family to raise
their hands.

PART TWO: WHAT DO WE DESERVE?
Professor Sandel recaps how income, wealth, and opportunities in life should be distributed, according to the three different
theories raised so far in class. He summarizes libertarianism, the meritocratic system, and John Rawlss egalitarian theory.
Sandel then launches a discussion of the fairness of pay differentials in modern society. He compares the salary of former
Supreme Court Justice Sandra Day OConnor ($200,000) with the salary of televisions Judge Judy ($25 million). Sandel
asks, is this fair? According to John Rawls, it is not. Rawls argues that an individuals personal success is often a function of
morally arbitrary facts—luck, genes, and family circumstances—for which he or she can claim no credit. Those at the bottom
are no less worthy simply because they werent born with the talents a particular society rewards, Rawls argues, and the
only just way to deal with societys inequalities is for the naturally advantaged to share their wealth with those less fortunate.

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: ARGUING AFFIRMATIVE ACTION
Sandel describes the 1996 court case of a white woman named Cheryl Hopwood who was denied
admission to a Texas law school, even though she had higher grades and test scores than some of the
minority applicants who were admitted. Hopwood took her case to court, arguing the schools affirmative
action program violated her rights. Students discuss the pros and cons of affirmative action. Should we
try to correct for inequality in educational backgrounds by taking race into consideration? Should we
compensate for historical injustices such as slavery and segregation? Is the argument in favor of
promoting diversity a valid one? How does it size up against the argument that a students efforts and
achievements should carry more weight than factors that are out of his or her control and therefore
arbitrary? When a universitys stated mission is to increase diversity, is it a violation of rights to deny a
white person admission?

PART TWO: WHATS THE PURPOSE?
Sandel introduces Aristotle and his theory of justice. Aristotle disagrees with Rawls and Kant. He
believes that justice is about giving people their due, what they deserve. When considering matters of
distribution, Aristotle argues one must consider the goal, the end, the purpose of what is being
distributed. The best flutes, for example, should go to the best flute players. And the highest political
offices should go to those with the best judgment and the greatest civic virtue. For Aristotle, justice is a
matter of fitting a persons virtues with an appropriate role.
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
•  PART ONE: THE GOOD CITIZEN
Aristotle believes the purpose of politics is to promote and cultivate the virtue of its citizens. The telos or
goal of the state and political community is the good life. And those citizens who contribute most to the
purpose of the community are the ones who should be most rewarded. But how do we know the
purpose of a community or a practice? Aristotles theory of justice leads to a contemporary debate about
golf. Sandel describes the case of Casey Martin, a disabled golfer, who sued the PGA after it declined
his request to use a golf cart on the PGA Tour. The case leads to a debate about the purpose of golf
and whether a players ability to walk the course is essential to the game.

PART TWO: FREEDOM VS. FIT
How does Aristotle address the issue of individual rights and the freedom to choose? If our place in
society is determined by where we best fit, doesnt that eliminate personal choice? What if I am best
suited to do one kind of work, but I want to do another? In this lecture, Sandel addresses one of the
most glaring objections to Aristotles views on freedom—his defense of slavery as a fitting social role for
certain human beings. Students discuss other objections to Aristotles theories and debate whether his
philosophy overly restricts the freedom of individuals.

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: THE CLAIMS OF COMMUNITY
Professor Sandel presents Kants objections to Aristotles theory. Kant believes politics must respect
individual freedom. People must always respect other peoples freedom to make their own choices—a
universal duty to humanity—but for Kant, there is no other source of moral obligation. The discussion of
Kants view leads to an introduction to the communitarian philosophy. Communitarians argue that, in
addition to voluntary and universal duties, we also have obligations of membership, solidarity, and
loyalty. These obligations are not necessarily based on consent. We inherit our past, and our identities,
from our family, city, or country. But what happens if our obligations to our family or community come
into conflict with our universal obligations to humanity?

PART TWO: WHERE OUR LOYALTY LIES
Professor Sandel leads a discussion about the arguments for and against obligations of solidarity and
membership. Do we owe more to our fellow citizens that to citizens of other countries? Is patriotism a
virtue, or a prejudice for ones own kind? If our identities are defined by the particular communities we
inhabit, what becomes of universal human rights? Using various scenarios, students debate whether or
not obligations of loyalty can ever outweigh universal duties of justice.
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Justice: What's The Right Thing To Do?
•  PART ONE: DEBATING SAME-SEX MARRIAGE
If principles of justice depend on the moral or intrinsic worth of the ends that rights serve, how should
we deal with the fact that people hold different ideas and conceptions of what is good? Students
address this question in a heated debate about same-sex marriage. Should same-sex marriage be
legal? Can we settle the matter without discussing the moral permissibility of homosexuality or the
purpose of marriage?

PART TWO: THE GOOD LIFE
Professor Sandel raises two questions. Is it necessary to reason about the good life in order to decide
what rights people have and what is just? If so, how is it possible to argue about the nature of the good
life? Students explore these questions with a discussion about the relation of law and morality, as
played out in public controversies over same-sex marriage and abortion. Michael Sandel concludes his
lecture series by making the point that, in many cases, the law cant be neutral on hard moral questions.
Engaging rather than avoiding the moral convictions of our fellow citizens may be the best way of
seeking a just society.

Ethics @ UN 2013

Contenu connexe

Tendances

Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุNattapon
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาfuangfaa
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์Lilrat Witsawachatkun
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ Newวิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ NewYai Chic
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 

Tendances (20)

Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ Newวิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 

En vedette

บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTahrd2doae
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การLink Standalone
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environmentKan Yuenyong
 
Assignment 2 external environment
Assignment 2 external environmentAssignment 2 external environment
Assignment 2 external environmentMoses Mbanje
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 

En vedette (7)

บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTa
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
Assignment 2 external environment
Assignment 2 external environmentAssignment 2 external environment
Assignment 2 external environment
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 

Similaire à Business ethics 2013 part 1

Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)โสภณ ศุภวิริยากร
 
Baldrige awareness series 9 societal responsibility
Baldrige awareness series 9   societal responsibilityBaldrige awareness series 9   societal responsibility
Baldrige awareness series 9 societal responsibilitymaruay songtanin
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1Image plus Communication
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpichit55
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Albert Sigum
 
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจบทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจPheerawas Nookate
 
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์Preecha Napao
 
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4page
ใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4pageใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4page
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1page
ใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1pageใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1page
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 

Similaire à Business ethics 2013 part 1 (20)

Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
CEL module 3- CG
CEL module 3- CGCEL module 3- CG
CEL module 3- CG
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
 
Baldrige awareness series 9 societal responsibility
Baldrige awareness series 9   societal responsibilityBaldrige awareness series 9   societal responsibility
Baldrige awareness series 9 societal responsibility
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
Social Return on Investment
Social Return on InvestmentSocial Return on Investment
Social Return on Investment
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social MediaSIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจบทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
 
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบี้ยงต้นวิชาเศรษฐศาสตร์
 
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4page
ใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4pageใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4page
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-4page
 
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1page
ใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1pageใบความรู้  หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1page
ใบความรู้ หลักธรรมของศาสนาอื่น+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f22-1page
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 

Plus de Wai Chamornmarn

Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 08 2013
Organization theory and design  08 2013Organization theory and design  08 2013
Organization theory and design 08 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 07 2013
Organization theory and  design  07 2013Organization theory and  design  07 2013
Organization theory and design 07 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 06 2013
Organization theory and   design  06 2013Organization theory and   design  06 2013
Organization theory and design 06 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design 05 2013Organization theory and   design 05 2013
Organization theory and design 05 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design  05 2013Organization theory and   design  05 2013
Organization theory and design 05 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 04 2013
Organization theory and design  04 2013Organization theory and design  04 2013
Organization theory and design 04 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 03 2013
Organization theory and design   03 2013Organization theory and design   03 2013
Organization theory and design 03 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 02 2013
Organization theory and design  02 2013Organization theory and design  02 2013
Organization theory and design 02 2013Wai Chamornmarn
 
organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013Wai Chamornmarn
 
12 Innovation Strategy 2013
12 Innovation Strategy  2013 12 Innovation Strategy  2013
12 Innovation Strategy 2013 Wai Chamornmarn
 
08 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 201308 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 2013Wai Chamornmarn
 
07 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 201307 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 2013Wai Chamornmarn
 
05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013 05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013 Wai Chamornmarn
 

Plus de Wai Chamornmarn (20)

Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013
 
Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013
 
Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013
 
Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013
 
Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013
 
Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013
 
Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013
 
Organization theory and design 08 2013
Organization theory and design  08 2013Organization theory and design  08 2013
Organization theory and design 08 2013
 
Organization theory and design 07 2013
Organization theory and  design  07 2013Organization theory and  design  07 2013
Organization theory and design 07 2013
 
Organization theory and design 06 2013
Organization theory and   design  06 2013Organization theory and   design  06 2013
Organization theory and design 06 2013
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design 05 2013Organization theory and   design 05 2013
Organization theory and design 05 2013
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design  05 2013Organization theory and   design  05 2013
Organization theory and design 05 2013
 
Organization theory and design 04 2013
Organization theory and design  04 2013Organization theory and design  04 2013
Organization theory and design 04 2013
 
Organization theory and design 03 2013
Organization theory and design   03 2013Organization theory and design   03 2013
Organization theory and design 03 2013
 
Organization theory and design 02 2013
Organization theory and design  02 2013Organization theory and design  02 2013
Organization theory and design 02 2013
 
organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013
 
12 Innovation Strategy 2013
12 Innovation Strategy  2013 12 Innovation Strategy  2013
12 Innovation Strategy 2013
 
08 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 201308 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 2013
 
07 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 201307 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 2013
 
05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013 05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013
 

Business ethics 2013 part 1

  • 2. หน้าที่ของพลเมืองดีของสังคม            •  การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหลักธรรม ประกอบด้วย จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม •  จริยธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ทําให้ ผู้อื่นเดือดร้อนเสียหาย  หลักการของกิริยาที่ควรประพฤติ ทําให้สังคมอยู่ร่วมกันโดยสงบ •  คุณธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่สร้าง ประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น  หลักการที่ดีมีประโยชน์ที่สังคมเห็นว่า เป็นความดีความงาม •  ศีลธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ทําให้ผู้ อื่นเดือดร้อนเสียหาย พร้อมกันนั้นก็สร้างประโยชน์ให้แก่ผู้ อื่นด้วย  ความเป็นปกติหรือการรักษา กาย วาจา ใจให้เป็น ปกติ ไม่ทําชั่วเบียดเบียนผู้อื่น Ethics @ UN 2013
  • 4. นักคิดในประเทศตะวันตก ก็ได้ให้คําอธิบายเกี่ยวกับจริยธรรมและ พฤติกรรมทางจริยธรรมไว้ (ชัยพร วิชชาวุธ 2530) •  พีอาเจต์ (Piaget 1960) กล่าวว่า จริยธรรม คือ องค์ประกอบของกฎเกณฑ์ที่บุคคล ยอมรับว่าถูกต้องดีงามควรประพฤติปฏิบัติตน เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากสังคม •  บราวน์ (Brown 1965) ได้อธิบายว่า จริยธรรมหมายถึงระบบของกฎเกณฑ์ใช้ในการ วิเคราะห์ความประพฤติที่ผิดหรือถูก ของบุคคล จริยธรรมมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา มาจากประสบการณ์ของบุคคล โดยจริยธรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ ความรู้ (knowledge) ความประพฤติ (conduct) และ ความรู้สึก (felling) •  โดลเบอร์ (Kohlberg 1969) ให้การอธิบายว่า จริยธรรมเป็นความรู้สึกผิดชอบชั่วดี เป็นกฎเกณฑ์และมาตรฐานพฤติกรรมในสังคม ซึ่งบุคคลจะพัฒนาขึ้นจนมีจริยธรรมของ ตนเอง โดยอาศัยกฎเกณฑ์จากสังคมเป็นสิ่งตัดสินว่าการกระทํานั้นถูกหรือผิด •  ฮอฟแมน (Hoffman 1979) ได้จําแนกองค์ประกอบของจริยธรรมไว้ในลักษณะที่ คล้ายคลึงกับที่บราวน์ได้กระทํา กล่าวคือ เขาเชื่อว่า จริยธรรมเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น ภายใน (internalization) ขององค์ประกอบจริยธรรม 3 ประการ ที่เป็นอิสระจากกัน คือความคิดทางจริยธรรม (moral thought) ความรู้สึกทางจริยธรรม (moral felling) และพฤติกรรมจริยธรรม (moral behavior) Ethics @ UN 2013
  • 5. จริยธรรม •  อลิสโตเติล กล่าวว่า พฤติกรรมที่เหมาะสม คือควรปฏิบัติตามกฎการ เดินสายกลาง golden mean of moderation คือการไม่ทําอะไร สุด โต่ง เช่น ร่ํารวยเกินไป ยากจนเกินไป •  พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) อธิบายว่า จริยธรรม ตามหลัก พุทธศาสนา คือ มรรค หรือมัชฌิมาปฏิปทา  พรหมจารีหรือผู้ประพฤติ ธรรม หรือ ผู้มีจริยธรรม ตามหลักพุทธศาสนา คือ ผู้ดําเนินชีวิตตาม มรรค หรือปฏิบัติตาม มัชฌิมาปฏิปทา (หลักการครองชีวิตที่ถูกต้อง สมบูรณ์ของมนุษย์ที่จะนําไปสู่จุดหมาย คือ ความดับทุกข์) Ethics @ UN 2013
  • 6. จริยธรรม •  กระมล ทองธรรมชาติ อธิบายว่า จริยธรรม หมายถึง ธรรม หรือหลักความประพฤติที่ควรแก่การยึดถือและปฏิบัติตาม ก่อ สวัสดิพาณิชย์ อธิบายว่า จริยธรรม คือ ประมวลความ ประพฤติและความนึกคิดในสิ่งที่ดีงามเหมาะสม ความคิดใน เชิงจริยธรรมมีกําเนิดขึ้นมาตั้งแต่ในสมัยโบราณ นักปราชญ์ ในยุคโบราณหลายต่อหลายท่านต่างกล่าวถึงและพยายามสั่ง สอนให้ผู้คน ประพฤติปฏิบัติกันในแนวทางที่ถูกต้องชอบ ธรรม กระทําหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด โดยคํานึงถึงประโยชน์ที่ จะเกิดขึ้นกับตนเองและสังคม จนถึงปัจจุบันแนวความคิดใน เรื่องจริยธรรมได้พัฒนามาเป็นลําดับ มีผู้กล่าวถึง' จริยธรรม ' ในความหมายที่แตกต่าง ๆ กันหลายลักษณะ เช่น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (29 กันยายน พ.ศ. 2543 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2548) Ethics @ UN 2013
  • 7. จริยธรรม •  ดวงเดือน พันธุมนาวิน กล่าวว่า จริยธรรม เป็นคําที่มีความหมายก ว้างขวาง หมายถึงลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของมนุษย์ ลักษณะและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมจะมีคุณสมบัติประเภท ใดประเภท หนึ่ง ใน 2 ประเภท คือ 1. . เป็นลักษณะที่สังคมต้องการให้มีอยู่ในสมาชิกของสังคมนั้น เป็นพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบให้การสนับสนุน และผู้กระทํา ส่วนมากเกิดความพอใจว่า กระทํานั้นเป็นสิ่งถูกต้องเหมาะสม 2.  เป็นลักษณะที่สังคมไม่ต้องการให้มีอยู่ในสมาชิกของสังคม เป็นการกระทําที่สังคมลงโทษ และผู้กระทําพฤติกรรมนั้นรู้สึกว่า เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและไม่สมความ ลักษณะของมนุษย์ที่ ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน ผู้อํานวยการ เกี่ยวข้องกับจริยธรรมแบ่งออกได้เป็น ความรู้เชิงจริยธรรม โครงการวิจัยแม่บท การวิจัยและพัฒนา ทัศนคติเชิงจริยธรรม เหตุผลเชิงจริยธรรมและพฤติกรรมเชิง ระบบพฤติกรรมไทย สํานักงานคณะ กรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จริยธรรม (ดวงเดือน พันธุมนาวิน 2520) Ethics @ UN 2013
  • 8. จริยธรรม •  สุมน อมรวิวัฒน์ กล่าวว่าจริยธรรม คือ แบบแผนของ ความประพฤติที่ยึดหลักของศีลธรรม ลักษณะที่แตกต่าง ระหว่าง' ศีลธรรม และ' จริยธรรม ก็คือศีลธรรมเป็นหลัก ' ' การของคุณงามความดีที่มนุษย์ยึดถือปฏิบัติ อิงหลัก ศาสนาและมีหลักเป็นสากล ส่วนจริยธรรมนั้นแม้จะมี ความหมายบางส่วนคล้ายคลึงกับคําว่าศีลธรรม แต่มัก เป็นคําที่ใช้ในสาขาวิชาพฤติกรรมศาสตร์ เน้นลักษณะ ของความประพฤติที่สังคมนิยมชมชอบว่าถูกต้องเหมาะ สม (สุมน อมรวิวัฒน์ 2530) ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุมน อมรวิวัฒน์ คณะกรรมการบริหารแผน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) Ethics @ UN 2013
  • 9. จริยธรรม •  คานท์ (Kant 1724-1802) มีปรัชญาที่เป็ นความเช่ือวา่ มนุษยไ์ ม่ไดเ้ กิดมาเพอ่ื แสวงหาความสุขแต่เพยี งอยา่ งเดียวแต่เกิดมา เพอื่ การกระทาความดีมี ศีลธรรม และศีลธรรมความสุขเป็ น คนละสิ่งกนั เพราะการกระทาท่ีผดิ หลกั ศีลธรรมแมจ้ ะทาใหเ้ กิด ประโยชนส์ ุขแก่มหาชนมากมายเพียงใดก็ยงั เป็ นการกระทาท่ีชวั่ ร้าย อยเู่ช่นน้นัการกระทาดีตามความคิดของคานท์คือการใชม้ นุษยเ์ป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายใดๆของตนเป็นสิ่งที่ผดิศีล ธรรม Ethics @ UN 2013
  • 10. Stages of Moral Development Ethics @ UN 2013
  • 12. ประโยชน์ที่องค์กรธุรกิจได้รับโดยตรงในการบริหารธุรกิจอย่างมีจริยธรรมซึ่ง Ethics Resource Center ได้ทําการสํารวจวิจัยพบว่า องค์กรธุรกิจได้รับประโยชน์โดยตรงดังนี้ 1. ได้รับการปกป้องทางกฎหมาย (78%) 2. เพิ่มความภาคภูมิใจของพนักงานและความจงรักภักดีต่อองค์กร (74%) 3. เพิ่มค่านิยมของลูกค้าและสาธารณชน (ภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัท) (66%) 4. ป้องกันการสูญเสียด้านผลผลิต และได้รับผลดีขึ้น (64%) 5. ลดการให้สินบนและการให้เปล่า (58%) 6. ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ / บริการให้ดีขึ้น (14%) 7. การเพิ่มผลผลิตดีขึ้น (12%) Ethics @ UN 2013
  • 13. หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกอุตสาหกรรมดีเด่น ประจาปี 2556 ประเภทการบริหาร อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 9.1 จริยธรรมทางธุรกิจ องค์กรมีจริยธรรมในการดาเนินธุรกิจ ซื่อสัตย์ ยุติธรรม มีความจริงใจ และไม่เอาเปรียบ พนักงานลูกค้า และสังคมเช่น มีการเสียภาษีอย่างถูกต้องตามข้อเท็จจริงแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ หรือ บริการ ที่เป็นประโยชน์ต่อลูกค้าในการเลือกบริโภคไม่บิดเบือนตรา สินค้า แ ละชื่อธุรกิจ อื่น โดยไ ม่ลอก เลียนแบบสินค้า ห รือบริการของผู้อื่น รวมถึงการโฆษ ณาท า ให้ เกิดความเข้าใจ ผิด รวมทั้งใ ห้โอกาส แก่บุคลากรใน การเสนอความคิดเห็นในด้านต่างๆ มี การตอบสนองต่อข้อคิดเห็นเพื่อเป็นการพัฒนา องค์กร และเป็นการสร้างความภาคภูมิใจ แก่พนักงานในฐานะเป็นส่วนสาคัญต่อความสาเร็จของธุรกิจ 9.2 ความรบั ผิดชอบต่อผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้น องค์กรมีความรับผิดชอบต่อผลกระทบต่างๆ ที่เกิดจากการดาเนินธุรกิจ ต่อพนักงาน ลูกค้า และสังคม 9.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมทางสังคม และชุมชน องค์กรมีส่วนร่วมในการสร้างคุณประโยชน์แก่ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างเหมาะสม Ethics @ UN 2013
  • 15. Making ethical choices Types of ethical choices • Three levels of criteria – Shame / face – Guidelines – Ethical principles • Utilitarianism • Categorical imperative Ethics @ UN 2013
  • 16. Two Types of Ethical Choices Right vs wrong: choosing right from wrong is the easiest Right vs right – Situation contains shades of gray i.e. all alternative have desirable and undesirable results – Choosing “the lesser of two evils” – Objective: make a defensible decision Ethics @ UN 2013
  • 17. Ethical Principles 1. Utilitarianism Ethical = positive negative 2. Kant’s Categorical Imperative Ethical = Carried out for the right reasons Ethics @ UN 2013
  • 19. Theory one •  Milton Friedman – focus on the shareholders as they only stakeholders who matter. The business of business is making a profit and building shareholder value the prime purpose. Ethics @ UN 2013
  • 20. Theory Two * The quickest way to destroy shareholder value is to ignore stakeholders R. Edward Freeman.Strategic Management: A Stakeholder Approach ,1984. Ethics @ UN 2013
  • 21. Two Broad Stakeholder Theories •  Friedman •  Freeman Ethics @ UN 2013
  • 22. Why pay attention to stakeholders? •  Moral or philosophical reasons – corporate social responsibility •  Practical reasons – licence to operate •  Strategic planning reasons – identifying opportunities and threats Ethics @ UN 2013
  • 24. Sustainable Business :Triple Bottom Line Ethics @ UN 2013
  • 25. Creating Public Value Meeting Mandates John M. Bryson, McKnight Presidential Professor of Planning and Public Affairs Ethics @ UN 2013
  • 26. Ethics @ UN 2013
  • 28. Ethics @ UN 2013
  • 29. Ethics @ UN 2013
  • 30. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: THE MORAL SIDE OF MURDER If you had to choose between (1) killing one person to save the lives of five others and (2) doing nothing even though you knew that five people would die right before your eyes if you did nothing—what would you do? What would be the right thing to do? •  PART TWO: THE CASE FOR CANNIBALISM Sandel introduces the principles of utilitarian philosopher, Jeremy Bentham, with a famous nineteenth century legal case involving a shipwrecked crew of four. After nineteen days lost at sea, the captain decides to kill the weakest amongst them, the young cabin boy, so that the rest can feed on his blood and body to survive. Ethics @ UN 2013
  • 31. Ethics @ UN 2013
  • 32. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: PUTTING A PRICE TAG ON LIFE Today, companies and governments often use Jeremy Benthams utilitarian logic under the name of cost-benefit analysis. Sandel presents some contemporary cases in which cost-benefit analysis was used to put a dollar value on human life. The cases give rise to several objections to the utilitarian logic of seeking the greatest good for the greatest number. Should we always give more weight to the happiness of a majority, even if the majority is cruel or ignoble? Is it possible to sum up and compare all values using a common measure like money? •  PART TWO: HOW TO MEASURE PLEASURE Sandel introduces J.S. Mill, a utilitarian philosopher who attempts to defend utilitarianism against the objections raised by critics of the doctrine. Mill argues that seeking the greatest good for the greatest number is compatible with protecting individual rights, and that utilitarianism can make room for a distinction between higher and lower pleasures. Mills idea is that the higher pleasure is always the pleasure preferred by a well-informed majority. Ethics @ UN 2013
  • 33. หลักการปฏิบัติหรือหลักการสําหรับตัดสินว่าความดีความชั่วคืออะไร เพื่อให้เห็นภาพคําสอนที่ต่างกันของสามศาสนานี้ ขอให้พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ 1. ทหารที่ไปรบเพื่อป้องกันประเทศ จําเป็นต้องฆ่าข้าศึก ถามว่าเขาทําบาปไหม? 2. เรากินยาถ่ายพยาธิเพื่อให้สุขภาพแข็งแรง ถามว่าเราทําบาปไหม? 3. เราเดินทางข้ามทะเลทรายโดยขี่ม้า ระหว่างทางม้าเราขาหักไปต่อไม่ได้ เราไม่สามารถ พาม้าไปด้วย ปัญหาคือถ้าทิ้งม้าไว้อย่างนั้นกว่ามันจะตายท่ามกลางแสงแดดที่ร้อนระอุนั้นต้องใช้เวลา หลายวัน เราไม่ต้องการให้ม้าที่เรารักตายอย่างทรมาน เราจึงตัดสินใจยิงมันด้วยปืนเพื่อให้ตายทันที ถามว่าเราได้ทําบาปไหม? Ethics @ UN 2013
  • 34. ศาสนาฮินดู ในคัมภีร์ ภควัทคีตา ที่เป็นคัมภีร์สําคัญเล่มหนึ่งของศาสนาฮินดู มีการนิยามธรรมว่าคือการทําหน้าที่ ในคัมภีร์เล่มนี้มีการเล่าเรื่องว่าแม่ทัพคนหนึ่งเกิดความสงสัยว่า การที่ตนเองเป็นทหารต้องเข้ารบอยู่ เสมอและในการรบนั้น ก็จําเป็นต้องเข่นฆ่าฝ่ายตรงกันข้าม เขาจะต้องรับบาปอันเกิดจากการฆ่าคนหรือ ไม่ เนื้อหาของคัมภีร์ได้ตอบว่า ตามทัศนะของศาสนาฮินดู อะไรจะผิดหรือไม่ผิดขึ้นอยู่กับว่าสิ่งนั้นเป็นหน้าที่ของเราหรือไม่ การตั้ง คําถามเกี่ยวกับการกระทําใด ๆ โดยไม่ดูว่ากระทําโดยคนที่มีหน้าที่หรือไม่ ไม่สามารถตอบได้ว่าผิดหรือ ถูก เช่นการฆ่า ถามว่าผิดหรือถูกทันทีไม่ได้ ต้องถามว่าใครเป็นคนฆ่าและใครถูกฆ่า และฆ่าใน สถานการณ์เช่นใด เช่น นายเขียวเป็นทหารไปรบฆ่านายขาวซึ่งเป็นฝ่ายตรงข้ามตาย อย่างนี้ ไม่ถือว่า ผิด เพราะเป็นการทําตามหน้าที่ แต่ถ้านายเขียวเป็นคนธรรมดา วันหนึ่งเดินเข้าซอยเกิดเขม่นกับนาย ขาวแล้วฆ่านายขาวตาย อย่างนี้ ถือว่าผิด เพราะนายเขียวไม่มีหน้าที่ในการฆ่า กรณีตัวอย่างที่ยกมาข้าง ต้น ตามศาสนาฮินดูการกินยาฆ่าพยาธิ ถ้าตีความว่า เป็นไปตามหน้าที่ของมนุษย์ที่จะพึงรักษาสุขภาพ ของตนให้ดี ก็ไม่ถือว่าผิด การฆ่าม้าขาหักในทะเลทราย เพราะไม่ต้องการให้มันทุกข์ทรมาน ถ้าตีความ ว่า เป็นหน้าที่ของเราที่เป็นเจ้านายมันที่ต้องกระทําเช่นนั้นก็ไม่ถือว่าผิด Ethics @ UN 2013
  • 35. Ethics @ UN 2013
  • 36. พุทธศาสนา การทําตัวให้สอดคล้องกับกฎธรรมชาติ การฆ่านั้นพุทธศาสนาถือว่าผิด ไม่ว่าจะฆ่าใคร ฆ่าที่ไหน หรือฆ่า ภายใต้สถานการณ์เช่นใดก็ตาม ที่พุทธศาสนาเชื่อเช่นนั้นก็เพราะพิจารณาว่าการฆ่าเป็นอกุศลกรรม ตามธรรมชาติ และสิ่งที่เป็นอกุศลกรรมตามธรรมชาตินั้นย่อมส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้กระทํา เสมอ ไม่ว่าผู้กระทําจะอ้างว่าทําไปเพราะไม่มีทางเลือก เพราะสงสาร หรือเพราะถูกบังคับก็ตาม การไป รบแล้วฆ่าศัตรู การกินยาฆ่าพยาธิ การฆ่าม้าขาหักในทะเลทราย ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องที่ผิดตามหลักการของพุทธศาสนาทั้งสิ้น แม้ว่าพุทธศาสนาจะมองว่าความผิดถูก เป็นเรื่องตามธรรมชาติ มนุษย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ผิดให้ถูกหรือที่ถูกให้ผิด แต่พุทธศาสนาก็มี จารีตในการที่จะไม่ใช้ศาสนาบีบบังคับให้บุคคลทําตามศีลธรรมของศาสนาหากเขาไม่ยินดี ชาวพุทธที่ จําเป็นต้องทําบาปเช่นต้องประกอบอาชีพประมงเพื่อเลี้ยงชีพและไม่มีอาชีพอื่นให้ทําในท้องถิ่นนั้น (เช่น บริเวณชายทะเลที่ไม่สามารถทําการเกษตรได้) พุทธศาสนาก็อนุโลมให้เจ้าตัวพิจารณาเองว่าจะจัดการ กับชีวิตตนเองอย่างไร ถ้าเจ้าตัวเขาเห็นว่าต้องทําไม่เช่นนั้นจะอดตายก็ทําได้ แต่พุทธศาสนาก็ยังยืนยัน ว่าการทําประมงนั้นเป็นบาป และชาวประมงก็ต้องรับกรรมที่กระทํานั้นในอนาคต การต้องทําบาปไม่เช่น นั้นจะอดตายพุทธศาสนาก็ยังถือว่าไม่พ้นความผิด ในขณะที่ศาสนาฮินดูอาจจะมองว่าการทําประมงเป็น หน้าที่ ถ้าไม่มีชาวประมงเราก็ไม่มีปลากิน ดังนั้นการทําประมงจึงไม่ผิด แต่การตกปลาเพื่อความ สนุกสนานโดยไม่มีหน้าที่รองรับต้องถือว่าผิด Ethics @ UN 2013
  • 37. Ethics @ UN 2013
  • 38. ศาสนาไชนะ •  การงดเว้นที่จะไม่เบียดเบียนผู้อื่น หลักการนี้เรียกว่าหลักอหิงสา และผู้อื่นในที่นี้ศาสนาไชนะก็ตีความ กว้างมากโดยครอบคลุมมนุษย์ สัตว์ พืช และแม้แต่สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติเช่นแม่น้ํา ป่าเขา อากาศ ศาสนาไชนะมีจริยธรรมที่เคร่งครัดมากกว่าทุกศาสนาในอินเดีย •  นักบวชในศาสนานี้จะได้รับการสั่งสอนให้พยายามเลี่ยงการเบียดเบียนชีวิตอื่น จึงมีนักบวชในนิกาย หนึ่งของศาสนานี้ไม่สวมเสื้อผ้าเพราะคิดว่าเสื้อผ้าก็มาจากชีวิตผู้อื่น การกินอาหารก็พยายามระวัง ไม่ให้ทําร้ายใคร นักบวชไชนะไม่กินเนื้อสัตว์อยู่แล้ว แม้พืชที่กินก็พยายามกินพืชประเภทที่เราไม่ต้อง ทําลายมันทั้งชีวิตเพื่อเอามาเป็นอาหาร กรณีตัวอย่างที่ตั้งเป็นคําถามข้างต้นนั้นศาสนาไชนะเห็นด้วย กับพุทธศาสนาว่าต้องถือว่าผิด แต่ศาสนาไชนะก็เคร่งกว่าพุทธศาสนาตรงที่ไม่สอนให้ผ่อนปรน คนดี ตามทัศนะศาสนานี้พร้อมจะทําตนให้ลําบากมากกว่าที่จะทําร้ายผู้อื่น ดังนั้นศาสนานี้น่าจะแนะให้ชาว ประมงเลิกจับปลาแล้วหาอาชีพอื่นทํา ถ้าทําแถวนั้นไม่ได้ก็ควรย้ายไปอยู่ที่อื่น Ethics @ UN 2013
  • 39. Ethics @ UN 2013
  • 40. UN Global Compact Ethics @ UN 2013
  • 41. หลักการรับผิดชอบต่อสังคมของวิสาหกิจ (CSR: Corporate Social Responsibility) ตาม the UN Global Compact ซึ่งเป็นกรอบที่วางโดยองค์การสหประชาชาติ {4} ให้วิสาหกิจดําเนินตามหลักการ 10 ประการนั้น มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชน มาตรฐานแรงงาน สิ่งแวดล้อมและการไม่ ยอมรับการโกงกิน-สินบน ในขณะนี้มีวิสาหกิจเข้าร่วมลงนามเป็นจํานวนมาก โดยถือเป็นก ลุ่มที่มีผู้เข้าร่วมมากที่สุดในโลก วิสาหกิจใดที่ประสงค์จะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ UN Global Compact จะต้องลงนา มตกลงปฏิบัติตามหลักการ 10 ประการอย่างเคร่งครัด ซึ่งประกอบด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชน มาตรฐานแรงงาน สิ่ง แวดล้อม และการไม่ร่วมมือกับการติดสินบนหรือทุจริต Ethics @ UN 2013
  • 42. หลักการรับผิดชอบต่อสังคมของวิสาหกิจ (CSR: Corporate Social Responsibility) ตาม the UN Global Compact 1. ด้านสิทธิมนุษยชน           หลักข้อที่ 1: ธุรกิจควรสนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิ-มนุษยชนที่เป็นที่ ยอมรับของนานาชาติ           หลักข้อที่ 2: ธุรกิจไม่พึงข้อแวะกับการกระทําที่ขัดหลักสิทธิ-มนุษยชน 2. ด้านมาตรฐานแรงงาน           หลักข้อที่ 3: ธุรกิจควรส่งเสริมและตระหนักถึงเสรีภาพในการก่อตั้ง สหภาพแรงงานของพนักงาน           หลักข้อที่ 4: ธุรกิจต้องร่วมขจัดการบังคับการใช้แรงงาน           หลักข้อที่ 5: ธุรกิจต้องร่วมขจัดการใช้แรงงานเด็ก           หลักข้อที่ 6: ธุรกิจต้องไม่กีดกันการจ้างงานและอาชีพ Ethics @ UN 2013
  • 43. หลักการรับผิดชอบต่อสังคมของวิสาหกิจ (CSR: Corporate Social Responsibility) ตาม the UN Global Compact   3. ด้านสิ่งแวดล้อม           หลักข้อที่ 7: ธุรกิจควรสนับสนุนการดําเนินการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม           หลักข้อที่ 8: ธุรกิจควรแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ต่อความรับผิดชอบ ด้านสิ่งแวดล้อม           หลักข้อที่ 9: ธุรกิจควรส่งเสริมและเผยแพร่เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. ด้านการไม่ยอมรับการทุจริต           หลักข้อที่ 10: ธุรกิจควรดําเนินไป โดยปราศจากการทุจริตและประพฤติมิชอบใน ทุกรูปแบบ รวมทั้งการบังคับ ขูดรีด และการติดสินบน ทั้งนี้อาจพิจารณาในกรณีภายใน วิสาหกิจ และการให้สินบนอันเป็นการทุจริตในวงราชการ ก็เป็นสิ่งที่พึงหลีกเลี่ยง Ethics @ UN 2013
  • 44. Ethics @ UN 2013
  • 49. The IKEA Way Ethics @ UN 2013
  • 50. มาตรฐานและข้อบังคับของ IKEA สรุปได้ ดังนี้    1. สินค้าและวัตถุดิบ IKEA เน้นการรักษาต้นทุนให้อยู่ในระดับต่ํา และการผลิตสินค้า จากวัสดุที่มีคุณภาพ ที่ถูก ปรับให้เข้า กับสภาพแวดล้อม มีความปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้ใช้ ซึ่งรวมไปถึงความพยายามที่จะปฏิบัติตามกฎ ระเบียบด้านการใช้สารเคมีในผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมให้ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยการ IKEA เน้นการใช้วัตถุดิบในการผลิตที่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ หรือสามารถสร้างขึ้นทดแทนใหม่ได้ เช่น ไม้ ฝ้าย โลหะ พลาสติก แก้ว และหวาย  2. ผู้ป้อนสินค้าและวัตถุดิบ (Suppliers) IKEA ให้ความสําคัญต่อการทําธุรกิจกับ Suppliers ที่มีสภาพการทํางานที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ไม่ เลือกปฏิบัติ คํานึงถึงการรักษาสภาพแวดล้อม ซึ่งในเรื่องนี้ IKEA เน้นการปฏิบัติตามกฎหมาย หลักการ หรือแถลงการณ์ขององค์กรระหว่างประเทศ เช่น UN, International Labour Organization ด้วย Ethics @ UN 2013
  • 51. มาตรฐานและข้อบังคับของ IKEA สรุปได้ ดังนี้ 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ    IKEA เน้นการประหยัดพลังงาน เช่น การใช้หลอดประหยัดพลังงานในโกดังเก็บสินค้า และพยายามใช้แหล่งพลังงานทางเลือก เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ เชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นต้น 4. การมีส่วนร่วมกับชุมชน  IKEA มีโครงการต่างเพื่อช่วยเหลือชุมชนและสังคม ทั้งในพื้นที่ ระดับประเทศ และระดับ นานาชาติ โดยร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เช่น UNICEF, Save the Children และ World Wildlife Fund (WWF) เป็นต้น Ethics @ UN 2013
  • 52. IWAY Standard •  Code of Conducts ฉบับนี้ อ้างอิงมาจาก Convention ของ 8 ฉบับ ตาม ILO Declaration (1998) และ Rio Declaration on Sustainable Development (1992) โดยครอบคลุม 3 เรื่อง •  คือ สิ่งแวดล้อม สังคมและสภาพการทํางาน (รวมเรื่องการใช้แรงงานเด็ก) และ สินค้าที่ ทําจากไม้ และใช้เป็นข้อบังคับที่ Suppliers และ Trading Organization ของบริษัท ต้องปฏิบัติตาม   Ethics @ UN 2013
  • 53. IWAY Standard •  สิ่งแวดล้อม  ครอบคลุมเรื่องมลภาวะทางอากาศ เสียง และน้ํา โดยกําหนดให้ Suppliers ต้อง ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และต้องรับการตรวจสอบจากหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมด้วย •    •  การปนเปื้อนในพื้นดิน (Ground Contamination) กําหนดให้ Suppliers ปฏิบัติตาม กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ประเมินความเสี่ยงของการปนเปื้อน และหากมรการปนเปื้อนเกิดขึ้นจะต้องหยุดการ ประกอบการ และต้องดําเนินการเพื่อแก้ไขการปนเปื้อนดังกล่าวด้วย สารเคมี กําหนดให้ Suppliers ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด รวมทั้งเรื่องการฝึกหัดพนักงาน การจัดทําขั้นตอน ปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษร การติดฉลาก การเก็บรักษาและขนส่งด้วย ขยะ (ทั้งขยะทั่วไป และขยะ มีพิษ) IKEA จะติดตามผลของปริมาณ หรือชนิดของ  ขยะที่เกิดขึ้นจากการประกอบการของ Suppliers และหากเกิดขยะมีพิษขึ้น Suppliers จะต้องปฏิบัติ ตามข้อกําหนดตามกฎหมาย หรือข้อ กําหนดของบริษัทที่เข้มงวดที่สุด  Ethics @ UN 2013
  • 54. IWAY Standard •  การป้องกันอัคคีภัย  Suppliers ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับตามกฎหมาย มีการฝึก เตรียมการป้องกัน อัคคีภัยให้พนักงาน มีทางหนีภัย และติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยที่เหมาะสมและปลอดภัย •  รวมทั้งต้องรับการตรวจสอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สุขอนามัยของพนักงานและความปลอดภัย   Suppliers ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับตามกฎหมาย มีการเก็บสถิติการเกิดอุบัติเหตุและการ ดําเนินการที่เกี่ยวข้องของบริษัท ซึ่งอาจรวมถึงการรายงานผลต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วย แล้วแต่ กรณี มีการส่งเสริมความรู้เรื่องความเสี่ยงในสถานที่ประกอบการให้แก่พนักงาน รวมถึงการฝึกหัด และเก็บบันทึกฝึกหัดการปฏิบัติงานกับเครื่องมือ ต่างๆ การหลีกเลี่ยงอุปกรณ์ที่อาจเป็นภัยต่อ พนักงาน (สายไฟ บันได หลุม บ่อ ท่อแก๊ส ภาชนะบรรจุสารเคมี สารเคมีที่ติดไฟได้) การมีอุปกรณ์ ป้องกันภัยให้พนักงานใช้ในขณะปฏิบัติงาน (เช่น หมวก ถุงมือ หน้ากาก) การจัดทํา safety instruction ต่างๆให้พนักงานปฏิบัติตาม เป็นต้น บ้านพักคนงาน/พนักงาน หาก Suppliers จําเป็นต้องจัดที่พักให้แก่พนักงานหรือ คนงานของตน Suppliers ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ในเรื่อง พื้นที่อาศัย การจัดห้องสุขา เป็นต้น Ethics @ UN 2013
  • 55. IWAY Standard •  ค่าจ้างงาน Suppliers ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระบียบข้อบังคับ โดยต้องมีการทํา สัญญาเป็นลาย ลักษณ์อักษรด้วย นอกจากนี้ IKEA ยังมีข้อกําหนดปลีกย่อย •  เช่น การจํากัดชัวโมงทํางาน การทํางานล่วงเวลา ค่าแรงขั้นต่ํา วันหยุด การลาป่วย วันลาพักผ่อน และผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆที่ Suppliers ให้กับพนักงานด้วย การใช้แรงงาน IKEA ไม่ยอมรับ การใช้แรงงานเด้ก แรงงานที่ถูกบังคับหรือทํา ทารุณกรรมในการประกอบการของ Suppliers ของ บริษัท สวัสดิภาพพนักงานอื่นๆ IKEA มีข้อกําหนดเรื่องเสรีภาพของพนักงาน/ลูกจ้าง •  รวมทั้งไม่ยอมรับการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดทางเพศ การทําร้าย ข่มขู่ หรือการใช้ความ รุนแรงในรูปแบบต่างๆ อื่นๆ IKEA ให้ความสําคัญต่อการใช้ การจัดหา และการบํารุงรักษาป่า และ แหล่ง ผลิตไม้ หวาย ไผ่ ซึ่ง IKEA จะขอส่งผู้ตรวจสอบมาตรวจสอบ ณ สถานที่ผลิตสินค้าโดยไม่แจ้ง ให้ทราบล่วงหน้าด้วย Ethics @ UN 2013
  • 57. การดําเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณนั้น หมายถึงการไม่เบียดเบียนผู้อื่น 1.  เว้นจากการเบียดเบียนลูกค้า ได้แก่ ไม่กักตุนสินค้า ไม่ส่งชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบราคาถูกแต่ไร้คุณภาพ เมื่อของขาดแคลน ใช้อะไรปลอมทําให้ลูกค้าผลิตสินค้าไม่ได้ตามต้องการ หรือเกิดของเสีย (Defect) ไม่แสวงหากําไรที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้บริโภค ไม่ผลิตสินค้าที่ต่ํากว่ามาตรฐาน และเป็นจริงตามโฆษณา 2.  . เว้นจากการเบียดเบียนผู้จัดส่งสินค้าหรือวัตถุดิบ (Supplier) หรือหุ้นส่วน ได้แก่ กดราคา ปิดบัง ข้อมูล ไม่จ่ายเงินตามกําหนด ยืดเวลาการชําระเงิน ตําหนิสินค้าว่าไม่ดีเพื่อให้ลดราคามาก ๆ เอารัด เอาเปรียบ ฯลฯ 3.  . เว้นจากการเบียดเบียนพนักงาน เช่น ไม่จ่ายค่าล่วงเวลา ใช้แรงงานเด็ก กดค่าแรง ไม่ให้สวัสดิการ ที่ควรให้ สภาพแวดล้อมในการทํางานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่ส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนา ความรู้ความสามารถ การแบ่งผลประโยชน์ให้พนักงานไม่เป็นธรรม 4.  เว้นจากการเบียดเบียนคู่แข่งผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของ เช่น ไม่จ่ายเงินปันผล ไม่ให้ข้อมูลที่แท้จริง นําหุ้น เข้าตลาดหลักทรัพย์แล้วไม่ใส่ใจในการบริหาร บริหารองค์กรเพื่อผลระยะสั้น ๆ ไม่ได้มุ่งเพื่อความ ก้าวหน้าขององค์กรในระยะยาว Ethics @ UN 2013
  • 58. การดําเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณนั้น หมายถึงการไม่เบียดเบียนผู้อื่น 5  เว้นจากการเบียดเบียนคู่แข่ง เช่น ปล่อยข่าวลือที่ไม่ดี ให้สินบนหรือใช้อิทธิพลเพื่อแย่ง ลูกค้า ซื้อข้อมูลหรือความลับ ฯลฯ 6  เว้นจากการเบียดเบียนราชการ เช่น หลบเลี่ยงการจ่ายภาษีทีถูกต้องจ่ายเงินให้ใต้โต๊ะ ขายอุปกรณ์ เครื่องมือให้หน่วยราชการราคาสูงกว่าปกติ ส่งงานล่าช้าทําให้เกิดผลเสีย หายต่อราชการ 7  เว้นจากการเบียดเบียนสังคม เช่น ขายของแพง โฆษณาหลอกลวงผู้บริโภค กักตุน สินค้า บรรทุกของเกินทําให้ถนนทรุด หาบเร่ขวางทางเท้า 8  เว้นจากการเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่มีระบบการจัดการกับของเสียที่เกิดจาก กระบวนการผลิต ทําให้เกิดมลภาวะ ได้แก่ น้ําเสีย อากาศเสีย กากอุตสาหกรรมที่มีสาร พิษ ฯลฯ ตลอดจนส่งเสียงหรือกลิ่นรบกวน ผลิตสินค้าและบริหารที่ทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Ethics @ UN 2013
  • 60. รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน  1. การทุจริตที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ในที่นี้หมายถึงการที่วิสาหกิจเอกชนจําเป็นต้องติดสินบนเจ้าพนักงานเพื่อให้ สามารถทําธุรกิจได้ (โดยสะดวก) หรือโดยไม่ถูกขัดขวาง หน่วงเหนี่ยว ปรากฏการณ์เช่นนี้ มีเห็นอยู่ทั่วไปในวงการการรับ-ส่งสินค้าระหว่างประเทศ การขอรับใบอนุญาตต่าง ๆ จาก ทางราชการ แม้แต่วิสาหกิจชั้นดีที่มีธรรมาภิบาลสูงจากต่างประเทศก็ยังต้องยอมติด สินบน เช่น การเข้าไปทําธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศโลกที่สาม เป็นต้น         ในประเทศตะวันตกที่มีระบบการต่อสู้กับการทุจริตที่ดี ปรากฏว่า ต้นทุนในการเลี่ยง ภาษี สูงกว่ามูลค่าของการเสียภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมาย  แต่ในกรณีประเทศกําลัง พัฒนา  ต้นทุนในการเลี่ยงภาษีกลับต่ํากว่า จึงทําให้นักธุรกิจยินดีหรือจําเป็นที่จะต้องติด สินบน เพื่อให้การทําธุรกิจเป็นไปด้วยความราบรื่น โดยถือต้นทุนนี้เป็นต้นทุนปกติหนึ่งของ การทําธุรกิจนั่นเอง Ethics @ UN 2013
  • 61. รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน  2. การตั้งใจฉ้อโกงโดยเจ้าของวิสาหกิจ           กรณีนี้ถือเป็นการมุ่งกระทําอาชญากรรมโดยโจ่งแจ้ง ได้แก่ การตั้งวงธุรกิจแชร์ ลูกโซ่ หรืออาชญากรรมเศรษฐกิจผ่านการขายสินค้าด้วยระบบขายตรงบางรายการ เป็นต้น กรณีนี้ถือเป็นการฉ้อโกงลูกค้าหรือผู้มีส่วนได้เสียอื่น สมควรที่จะถูกดําเนินคดีตาม กฎหมายอย่างเด็ดขาด           เมื่อเร็ว ๆ นี้พนักงานผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่ง ยินดีลาออกจากงานเพื่อไปสมัคร งานในบริษัทใหม่ซึ่งเป็นของเพื่อนและจ่ายเงินเดือนมากกว่าถึง 40% ก็ยินดีให้ลาออกไป แต่พนักงานผู้นี้ทํางานได้เพียงเดือนเศษ ๆ ก็ลาออกเพราะพบว่า บริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทที่ เข้าข่าย “ต้มตุ๋น” ประชาชน ในระหว่างทํางาน ก็ทําด้วยความไม่สบายใจ เพราะมีผู้รักษา กฎหมายเข้ามาตรวจและจับกุมผู้บริหารบริษัทบ่อยครั้ง แต่ผู้บริหารก็ไม่ได้ถูกจับไป ซึ่งก็ คงเป็นเพราะได้ติดสินบนเจ้าพนักงานนั่นเอง Ethics @ UN 2013
  • 62. รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน  3. การทุจริตของผู้บริหาร-พนักงาน           กรรมการที่ปรึกษาของสมาคมสินเชื่อที่อยู่อาศัยมาหลายสมัย ทราบจากข้อมูลที่เกี่ยวข้องว่า การทุจริตในวงการสถาบันการเงินนั้น ส่วนมากมาจากการทุจริตจากบุคคลภายใน เช่น โดยผู้บริหารหรือพนักงาน ไม่ใช่การโกงจากลูกค้าภายนอก เช่น ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า การทุจริตจาก ภายในนี้ เป็นการทุจริตที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ โปรดดูพาดหัวข่าวเฉพาะในวงการสถาบันการ เงินที่มีระบบตรวจสอบที่ดีที่สุดแล้ว ยังมีข่าวออกบ่อย ๆ ดังต่อไปนี: ้ แจ้งจับผู้ช่วยผจก.แบงก์ธนชาตโกง 17 ล. (คมชัดลึก: 3 เมษายน 2552) จําคุกเกริกเกียรติ 20ปีชดใช้บีบีซี 1.5พันล. (กรุงเทพธุรกิจ: 11 มีนาคม 2552) ศาลสั่งจําคุกสาวแบงก์ 492 ปี ฐานโกงเงินลูกค้ากว่า 65 ล้านบาท (โพสต์ทูเดย์ 27 กันยายน 2551) ผช.ผจก.สาวแบงก์ โกง200ล.ตร.ประกาศจับทั่วปท. (ข่าวสด: 6 พฤษภาคม 2550) พนักงานธ.กรุงเทพ โกงเงินลูกค้าเกือบ 3 ล้านบาท (28 กันยายน 2550) รวบหนุ่มแบงก์ โกง 45 ล. ติดหวยงอมแงม (ไทยรัฐ: 26 พฤศจิกายน 2548) สาวแบงก์ทหารไทยโกงเงินลูกค้า 13 ล.นานกว่า 3 ปี (ข่าวสด: 25 กุมภาพันธ์ ไม่ทราบปี) Ethics @ UN 2013
  • 63. รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน •  4. การรับประโยชน์ที่มิควรได้           ประโยชน์ที่มิควรได้ประกอบด้วย การ “กินตามน้ํา” ในกระบวนการจัดซื้อของ วิสาหกิจ ซึ่งมักมีความไม่โปรงใสต่าง ๆ ทั้งนี้รวมไปถึงการรับประโยชน์ทางอ้อมต่าง ๆ อันได้แก่ ใบหุ้น หรือการได้รับการอํานวยความสะดวกในการจับจ่ายหรือการรื่นรมย์ต่าง ๆ เช่น การเข้าแหล่งบันเทิงต่าง ๆ เป็นต้น           ผู้บริหารของวิสาหกิจขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่เป็นบริษัทมหาชนนั้น ทําการ ผูกขาดตัดตอนบริการเสริมต่าง ๆ เช่น ในกรณีสถาบันการเงิน ผู้บริหารนั้น ๆ อาจตั้ง บริษัทขนเงิน บริษัทยาม บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน ฯลฯ เพื่อให้บริการแก่สถาบันการ เงินของตนเอง การนี้ย่อมทําให้สถาบันการเงินไม่ได้รับสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพ เนื่องจากขาดการแข่งขันเสรีจนได้รับบริการที่ดีที่สุด ณ ราคาที่ถูกที่สุด  ทําให้ผู้ถือหุ้นทั้ง หลายได้รับความเสียหาย Ethics @ UN 2013
  • 64. รูปแบบการทุจริตในภาคเอกชน  5. สวัสดิการที่สูงเกินควร           วิสาหกิจขนาดใหญ่หลายแห่งโดยเฉพาะบริษัทมหาชน จ่ายสวัสดิการที่สูงเกินจริง เช่น ใน วงการสายการบิน สายการบินที่มีชื่อเสียงชั้นนําของโลกบางแห่ง ให้อดีตพนักงานสามารถซื้อตั๋วเดิน ทางในอัตราราคาเพียงไม่กี่ร้อยบาท ในขณะที่ผู้ใช้บริการทั่วไปต้องเสียค่าบริการหลายหมื่นบาท เป็นต้น           อาจกล่าวได้ว่า พนักงานของวิสาหกิจขนาดใหญ่หลายแห่งมีประสิทธิภาพการทํางานที่ต่ํา ทํางานอยู่ในลักษณะเสมือน “ทาก” “กาฝาก” หรือ “พยาธิ” ที่เกาะกินวิสาหกิจขนาดใหญ่ ในบางหน่วย งานอาจสามารถ “ดุน” พนักงานเหล่านี้ออกได้จํานวนมาก และหากพนักงานเหล่านี้ออกไปแล้ว ก็ใช่ว่า จะหางานทําได้ในตลาดแรงงานทั่วไป เพราะคงมีคุณภาพต่ําเกินกว่าจะหางานตามอัตราเงินเดือนที่ได้ รับอยู่ในวิสาหกิจปัจจุบัน Ethics @ UN 2013
  • 68. UNDP ได้สรุปผลร้ายของการทุจริตหลายประการ ได้แก่:           1. ลดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุนจากต่างประเทศ           ผมเคยไปเป็นที่ปรึกษาของกระทรวงการคลังในประเทศเพื่อนบ้าน 2-3 แห่ง บริษัทขนาดใหญ่ที่ จะเข้าไปทําธุรกิจ ต่างต้องเสีย “ค่าต๋ง” ให้กับข้าราชการใหญ่ เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม หาไม่ก็จะไมได้รับ สัมปทาน เป็นต้น           2. ลดทอนรายได้ของภาครัฐที่จะนํามาเพื่อการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย           ทําให้ผู้มีรายได้น้อย ยิ่งยากจนลง ส่งผลเสียต่อประเทศโดยรวม จะเห็นได้ว่า ประเทศในภูมิภาค นี้อาจมีความแตกต่างกันไม่มากนักเมื่อราว 50 ปีก่อน แต่ในขณะนี้แตกต่างกันมาก ประเทศที่มีการ ทุจริตมาก ย่อมเจริญน้อยกว่าประเทศที่มีการทุจริตน้อย           3. จัดสรรทรัพยากรผิด           ทําให้การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดซึ่งแทนที่จะนําไปพัฒนาประเทศ กลับนําไปใช้ใน วงการอื่นที่อาจมีความจําเป็นน้อยกว่า เช่น ในด้านงบประมาณการทหาร เป็นต้น           4. ทําให้กฎหมายบ้านเมืองขาดความศักดิ์สิทธิ์           ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ เช่น การตัดไม้ทําลายป่า การทําลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น           5. เป็นการทําลายระบบสิทธิมนุษยชน           สร้างวงจรความชั่วร้ายจากการทุจริต กลุ่มที่อยู่เหนือกฎหมายย่อมกระทําการให้ผู้อื่นเสียสิทธิ อันชอบธรรม และส่งผลต่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคมโดยรวม Ethics @ UN 2013
  • 70. Ethics @ UN 2013
  • 71. The IKEA Way Ethics @ UN 2013
  • 72. The IKEA Way on Preventing Child Labor •  หลักการของเอกสารนี้ อ้างอิงตามหลักการขององค์กรระหว่างประเทศที่มีอยุ่แล้วในปัจจุบัน คือ UN Convention on the Rights of the Child (1989), International Labour Organization (ILO) Minimum Age Convention no. 138 (1973), ILO Convention on the Worst Forms of Child Labour no. 182 (1999) •  IKEA เน้นย้ําชัดเจนว่า บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็ก และกําหนดให้ Suppliers ของตน ยอมรับหลักเกณฑ์ตาม UN Convention on the Right of the Child รวมทั้งกฎหมายระหว่าง ประเทศและกฎหมายภายในประเทศที่ Suppliers ประกอบกิจการอยู่ และกําหนดให้ Suppliers ดําเนินมาตรการที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้มีการใช้แรงงานเด็กที่สถานประกอบการของ Suppliers และ ผู้รับช่วงการผลิต (Sub-contractors) ของ Suppliers นั้นๆ •  หากมีการตรวจพบการใช้แรงงานเด็ก IKEA จะขอให้ Suppliers ดําเนินการแก้ไขปัญหา ซึ่งหาก Suppliers ไม่ปฏิบัติตามในกรอบเวลาที่ตกลงไว้ หรือเกิดการฝ่าฝืนข้อบังคับขึ้นอีก IKEA จะยุติการ ดําเนินธุรกิจกับ Suppliers ดังกล่าว  •  นอกจากนี้ IKEA ยังเรียกร้องให้ Suppliers ให้การปฏิบัติที่เหมาะสมกับแรงงานเยาวชนด้วย เช่น ไม่ให้ทํางาน ที่อาจเกิดอันตราย หรือไม่ให้ทํางานรอบดึก เป็นต้น ทั้งนี้ Suppliers ต้องมีหน้าที่ที่ต้อง รายงานให้ IKEA ทราบถึงประเด็นเรื่องการใช้ แรงงานเด็กทั้งในสถานประกอบการของ Suppliers และ Sub-contractors ด้วย โดย IKEA ขอสงวนสิทธิ์ในการเดินทางมาตรวจสอบ หรือมอบหมายให้ บุคคลที่สามมาตรวจสอบสถานที่ผลิตสินค้าได้โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า Ethics @ UN 2013
  • 76. Ethics @ UN 2013
  • 77. Ethics @ UN 2013
  • 78. Ethics @ UN 2013
  • 79. Ethics @ UN 2013
  • 80. Ethics @ UN 2013
  • 81. Ethics @ UN 2013
  • 82. Ethics @ UN 2013
  • 83. Ethics @ UN 2013
  • 84. Ethics @ UN 2013
  • 85. Ethics @ UN 2013
  • 87. Ethics @ UN 2013
  • 88. Ethics @ UN 2013
  • 89. Ethics @ UN 2013
  • 90. Ethics @ UN 2013
  • 91. Ethics @ UN 2013
  • 92. Ethics @ UN 2013
  • 93. Ethics @ UN 2013
  • 94. Ethics @ UN 2013
  • 96. Ethics @ UN 2013
  • 99. สรุป เป้าหมาย การ ดําเนิน งาน Ethics @ UN 2013
  • 102. Ethics @ UN 2013
  • 103. Ethics @ UN 2013
  • 105. Ethics @ UN 2013
  • 106. Ethics @ UN 2013
  • 108. Ethics @ UN 2013
  • 109. Ethics @ UN 2013
  • 111. Ethics @ UN 2013
  • 112. Ethics @ UN 2013
  • 114. Ethics @ UN 2013
  • 115. Justice: What's The Right Thing To Do? •  ART ONE: FREE TO CHOOSE Sandel introduces the libertarian conception of individual rights, according to which only a minimal state is justified. Libertarians argue that government shouldnt have the power to enact laws that 1) protect people from themselves, such as seat belt laws, 2) impose some peoples moral values on society as a whole, or 3) redistribute income from the rich to the poor. •  PART TWO: WHO OWNS ME? Libertarian philosopher Robert Nozick makes the case that taxing the wealthy —to pay for housing, health care, and education for the poor—is a form of coercion. Students first discuss the arguments behind redistributive taxation. Dont most poor people need the social services they receive in order to survive? If you live in a society that has a system of progressive taxation, arent you obligated to pay your taxes? Dont many rich people often acquire their wealth through sheer luck or family fortune? A Ethics @ UN 2013
  • 116. Ethics @ UN 2013
  • 117. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: THIS LAND IS MY LAND The philosopher John Locke believes that individuals have certain rights so fundamental that no government can ever take them away. These rights—to life, liberty and property —were given to us as human beings in the the state of nature, a time before government and laws were created. According to Locke, our natural rights are governed by the law of nature, known by reason, which says that we can neither give them up nor take them away from anyone else. •  PART TWO: CONSENTING ADULTS If we all have unalienable rights to life, liberty, and property, how can a government enforce tax laws passed by the representatives of a mere majority? Doesnt that amount to taking some peoples property without their consent? Lockes response is that we give our tacit consent to obey the tax laws passed by a majority when we choose to live in a society. Therefore, taxation is legitimate and compatible with individual rights, as long as it applies to everyone and does not arbitrarily single anyone out Ethics @ UN 2013
  • 118. Ethics @ UN 2013
  • 119. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: HIRED GUNS During the Civil War, men drafted into war had the option of hiring substitutes to fight in their place. Professor Sandel asks students whether they consider this policy just. Many do not, arguing that it is unfair to allow the affluent to avoid serving and risking their lives by paying less privileged citizens to fight in their place. This leads to a classroom debate about war and conscription. Is todays voluntary army open to the same objection? Should military service be allocated by the labor market or by conscription? What role should patriotism play, and what are the obligations of citizenship? Is there a civic duty to serve ones country? And are utilitarians and libertarians able to account for this duty? •  PART TWO: MOTHERHOOD: FOR SALE In this lecture, Professor Sandel examines the principle of free-market exchange in light of the contemporary controversy over reproductive rights. Sandel begins with a humorous discussion of the business of egg and sperm donation. He then describes the case of Baby M—a famous legal battle in the mid-eighties that raised the unsettling question, Who owns a baby? In 1985, a woman named Mary Beth Whitehead signed a contract with a New Jersey couple, agreeing to be a surrogate mother in exchange for a fee of $10,000. However, after giving birth, Ms. Whitehead decided she wanted to keep the child, and the case went to court. Ethics @ UN 2013
  • 120. Ethics @ UN 2013
  • 121. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: MIND YOUR MOTIVE Professor Sandel introduces Immanuel Kant, a challenging but influential philosopher. Kant rejects utilitarianism. He argues that each of us has certain fundamental duties and rights that take precedence over maximizing utility. Kant rejects the notion that morality is about calculating consequences. When we act out of duty—doing something simply because it is right—only then do our actions have moral worth. Kant gives the example of a shopkeeper who passes up the chance to shortchange a customer only because his business might suffer if other customers found out. According to Kant, the shopkeepers action has no moral worth, because he did the right thing for the wrong reason. •  PART TWO: THE SUPREME PRINCIPLE OF MORALITY Immanuel Kant says that insofar as our actions have moral worth, what confers moral worth is our capacity to rise above self-interest and inclination and to act out of duty. Sandel tells the true story of a thirteen-year old boy who won a spelling bee contest, but then admitted to the judges that he had, in fact, misspelled the final word. Using this story and others, Sandel explains Kants test for determining whether an action is morally right: to identify the principle expressed in our action and then ask whether that principle could ever become a universal law that every other human being could act on. Ethics @ UN 2013
  • 122. Ethics @ UN 2013
  • 123. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: A LESSON IN LYING Immanuel Kants stringent theory of morality allows for no exceptions. Kant believed that telling a lie, even a white lie, is a violation of ones own dignity. Professor Sandel asks students to test Kants theory with this hypothetical case: if your friend were hiding inside your home, and a person intent on killing your friend came to your door and asked you where he was, would it be wrong to tell a lie? If so, would it be moral to try to mislead the murderer without actually lying? This leads to a discussion of the morality of misleading truths. Sandel wraps up the lecture with a video clip of one of the most famous, recent examples of dodging the truth: President Clinton talking about his relationship with Monica Lewinsky. •  PART TWO: A DEAL IS A DEAL Sandel introduces the modern philosopher John Rawls and his theory of a hypothetical social contract. Rawls argues that principles of justice are the outcome of a special kind of agreement. They are the principles we would all agree to if we had to choose rules for our society and no one had any unfair bargaining power. According to Rawls, the only way to ensure that no one has more power than anyone else is to imagine a scenario where no one knows his or her age, sex, race, intelligence, strength, social position, family wealth, religion, or even his or her goals in life. Rawls calls this hypothetical situation a veil of ignorance. What principles would we agree to behind this veil of ignorance? And would these principles be fair? Professor Sandel explains the idea of a fair agreement with some humorous examples of actual contracts that produce unfair results. Ethics @ UN 2013
  • 124. Ethics @ UN 2013
  • 125. Justice: What's The Right Thing To Do? •  ART ONE: WHATS A FAIR START? Is it just to tax the rich to help the poor? John Rawls says we should answer this question by asking what principles you would choose to govern the distribution of income and wealth if you did not know who you were, whether you grew up in privilege or in poverty. Wouldnt you want an equal distribution of wealth, or one that maximally benefits whomever happens to be the least advantaged? After all, that might be you. Rawls argues that even meritocracy—a distributive system that rewards effort—doesnt go far enough in leveling the playing field because those who are naturally gifted will always get ahead. Furthermore, says Rawls, the naturally gifted cant claim much credit because their success often depends on factors as arbitrary as birth order. Sandel makes Rawlss point when he asks the students who were first born in their family to raise their hands. PART TWO: WHAT DO WE DESERVE? Professor Sandel recaps how income, wealth, and opportunities in life should be distributed, according to the three different theories raised so far in class. He summarizes libertarianism, the meritocratic system, and John Rawlss egalitarian theory. Sandel then launches a discussion of the fairness of pay differentials in modern society. He compares the salary of former Supreme Court Justice Sandra Day OConnor ($200,000) with the salary of televisions Judge Judy ($25 million). Sandel asks, is this fair? According to John Rawls, it is not. Rawls argues that an individuals personal success is often a function of morally arbitrary facts—luck, genes, and family circumstances—for which he or she can claim no credit. Those at the bottom are no less worthy simply because they werent born with the talents a particular society rewards, Rawls argues, and the only just way to deal with societys inequalities is for the naturally advantaged to share their wealth with those less fortunate. Ethics @ UN 2013
  • 126. Ethics @ UN 2013
  • 127. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: ARGUING AFFIRMATIVE ACTION Sandel describes the 1996 court case of a white woman named Cheryl Hopwood who was denied admission to a Texas law school, even though she had higher grades and test scores than some of the minority applicants who were admitted. Hopwood took her case to court, arguing the schools affirmative action program violated her rights. Students discuss the pros and cons of affirmative action. Should we try to correct for inequality in educational backgrounds by taking race into consideration? Should we compensate for historical injustices such as slavery and segregation? Is the argument in favor of promoting diversity a valid one? How does it size up against the argument that a students efforts and achievements should carry more weight than factors that are out of his or her control and therefore arbitrary? When a universitys stated mission is to increase diversity, is it a violation of rights to deny a white person admission? PART TWO: WHATS THE PURPOSE? Sandel introduces Aristotle and his theory of justice. Aristotle disagrees with Rawls and Kant. He believes that justice is about giving people their due, what they deserve. When considering matters of distribution, Aristotle argues one must consider the goal, the end, the purpose of what is being distributed. The best flutes, for example, should go to the best flute players. And the highest political offices should go to those with the best judgment and the greatest civic virtue. For Aristotle, justice is a matter of fitting a persons virtues with an appropriate role. Ethics @ UN 2013
  • 128. Ethics @ UN 2013
  • 129. •  PART ONE: THE GOOD CITIZEN Aristotle believes the purpose of politics is to promote and cultivate the virtue of its citizens. The telos or goal of the state and political community is the good life. And those citizens who contribute most to the purpose of the community are the ones who should be most rewarded. But how do we know the purpose of a community or a practice? Aristotles theory of justice leads to a contemporary debate about golf. Sandel describes the case of Casey Martin, a disabled golfer, who sued the PGA after it declined his request to use a golf cart on the PGA Tour. The case leads to a debate about the purpose of golf and whether a players ability to walk the course is essential to the game. PART TWO: FREEDOM VS. FIT How does Aristotle address the issue of individual rights and the freedom to choose? If our place in society is determined by where we best fit, doesnt that eliminate personal choice? What if I am best suited to do one kind of work, but I want to do another? In this lecture, Sandel addresses one of the most glaring objections to Aristotles views on freedom—his defense of slavery as a fitting social role for certain human beings. Students discuss other objections to Aristotles theories and debate whether his philosophy overly restricts the freedom of individuals. Ethics @ UN 2013
  • 130. Ethics @ UN 2013
  • 131. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: THE CLAIMS OF COMMUNITY Professor Sandel presents Kants objections to Aristotles theory. Kant believes politics must respect individual freedom. People must always respect other peoples freedom to make their own choices—a universal duty to humanity—but for Kant, there is no other source of moral obligation. The discussion of Kants view leads to an introduction to the communitarian philosophy. Communitarians argue that, in addition to voluntary and universal duties, we also have obligations of membership, solidarity, and loyalty. These obligations are not necessarily based on consent. We inherit our past, and our identities, from our family, city, or country. But what happens if our obligations to our family or community come into conflict with our universal obligations to humanity? PART TWO: WHERE OUR LOYALTY LIES Professor Sandel leads a discussion about the arguments for and against obligations of solidarity and membership. Do we owe more to our fellow citizens that to citizens of other countries? Is patriotism a virtue, or a prejudice for ones own kind? If our identities are defined by the particular communities we inhabit, what becomes of universal human rights? Using various scenarios, students debate whether or not obligations of loyalty can ever outweigh universal duties of justice. Ethics @ UN 2013
  • 132. Ethics @ UN 2013
  • 133. Justice: What's The Right Thing To Do? •  PART ONE: DEBATING SAME-SEX MARRIAGE If principles of justice depend on the moral or intrinsic worth of the ends that rights serve, how should we deal with the fact that people hold different ideas and conceptions of what is good? Students address this question in a heated debate about same-sex marriage. Should same-sex marriage be legal? Can we settle the matter without discussing the moral permissibility of homosexuality or the purpose of marriage? PART TWO: THE GOOD LIFE Professor Sandel raises two questions. Is it necessary to reason about the good life in order to decide what rights people have and what is just? If so, how is it possible to argue about the nature of the good life? Students explore these questions with a discussion about the relation of law and morality, as played out in public controversies over same-sex marriage and abortion. Michael Sandel concludes his lecture series by making the point that, in many cases, the law cant be neutral on hard moral questions. Engaging rather than avoiding the moral convictions of our fellow citizens may be the best way of seeking a just society. Ethics @ UN 2013