SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
การรับรู้และการตอบสนอง
  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
การตอบสนองของระบบประสาทต่อสิ่งเร้าเป็นสิ่งแสดงว่าสิ่งมีชีวิตนั้นยังคงมี
ชีวิตอยู่ คนทีตายแล้วระบบประสาทจะไม่ทางานและสั่งงานไม่ได้ โดยปกติ
              ่
การตอบสนองของสัตว์จะเป็นการทางานร่วมกัน ระหว่างระบบประสาทและ
ต่อมไร้ท่อ โดยระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดเร็ว
ได้แก่การหดตัวของกล้ามเนื้อ ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว

ส่วนระบบต่อมไร้ท่อ จะควบคุมการตอบสนองที่เกิดช้ากว่าแต่จะมีผล
ต่อเนื่องเป็นเวลานานได้แก่ การเจริญของเซลล์ไข่ในรังไข่ ทั้ง 2 ระบบ
จะทางานต่างกันแต่ทางานสัมพันธ์กันจึงเรียกว่า ระบบประสานงาน
(coordinating system )

                                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
สิ่งมีชีวตเซลล์เดียวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร
         ิ




                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไม่มีเซลล์ประสาทแต่สามารถรับรู้และตอบสนองได้เช่น พารามีเซียม
สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนี แสงสว่าง อุณหภูมิ สารเคมีได้ เป็นต้น


 นักเรียนเคยทราบมาแล้วว่าพารามีเซียมใช้ซีเลียในการเคลื่อนที่

  คาถามน่าคิด!! โครงสร้างใดทีควบคุมการตอบสนองของซีเลีย
                             ่

                     ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที่1
คาแนะนา : ให้สังเกตเส้นใยประสานงานทีอยู่ที่โคนซีเลียซึ่งเส้นใยนี้จะ
                                        ่
เชื่อมโยงกับซีเลียทุกเส้นของพารามีเซียม
                                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที1 ก. ซิเลีย ข.เส้นใยประสานงาน
     ่


                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีการรับรู้และตอบสนองแตกต่างกันอย่างไร




                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ไฮดรา

    ไฮดรามีร่างแหประสาท ( nerve net )
    ซึ่งประกอบด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกัน

   ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที่ 2และภาพที่ 3



                                            ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที่ 2 ภาพวาดแสดง   ภาพที่ 3 ภาพจากกล้องจุลทรรศน์
ร่างแหประสาทของไฮดรา   แสดงร่างแหประสาทของไฮดรา
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถามน่าคิด!!
 นักเรียนคิดว่า
        เนื่องจากเซลล์ประสาทเชื่อมประสานทั่วร่างกาย
        การตอบสนองต่อสิ่งเร้าจะเกิดเฉพาะจุดหรือเกิดทั่ว
        ร่างกาย? เช่น ถ้าใช้เข็มแทงที่หนวด(เทนทาเคิล )
        ของไฮดรานักเรียนคิดว่าส่วนของลาตัวไฮดราจะ
        ตอบสนองด้วยหรือไม่

                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
พลานาเรีย
พลานาเรียมีระบบอวัยวะร่างกายซับซ้อนกว่าไฮดราโดยเฉพาะได้มี
การพัฒนาระบบประสาทในการรับรู้และตอบสนองดีขึ้น
                 ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที่ 4 และภาพที 5
                คาแนะนา : จากภาพที่ 4 และภาพที่ 5
      ภาพที่ 4 ให้รู้จักตัวจริงของพลานาเรีย
      ภาพที 5 ให้นักเรียนสังเกตระบบประสาทของพลานาเรีย
      ที่มีลักษณะคล้ายขั้นบันได ( ladder type ) ว่าประกอบด้วย
      โครงสร้างหลักใดบ้าง
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที่ 4 ภาพตัวจริงของพลานาเรีย




ฉวีวรรณ นาคบุตร                   ภาพที่ 5 แสดงระบบประสาทภายในร่างกายของพลานาเรีย
คาถามน่าคิด!!
  นักเรียนคิดว่าจากภาพที่ 5 ระบบประสาทของพลานาเรียที่มี
  ลักษณะคล้ายขั้นบันได ( ladder type )
  - ส่วนที่เป็นราวบันไดและส่วนที่เป็นขั้นบันไดคือส่วนใด
 - ปมประสาทที่หัว ( สมอง )เกิดจากใยประสาทหรือเซลล์
 ประสาทมารวมกัน เส้นประสาทใหญ่ด้านข้างลาตัว ( nerve
 cord ) เส้นประสาทวงแหวน ( nerve ring ) และเส้นประสาท
 เล็กเกิดจากใยประสาทหรือเซลล์ประสาทมารวมกัน การรับรู้และ
 ตอบสนองของอวัยวะร่างกายแยกส่วนดีกว่าไฮดราหรือไม่
                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
ไส้เดือนดิน
ไส้เดือนดินมีระบบอวัยวะร่างกายซับซ้อนกว่าพลานาเรียโดยเฉพาะ
ได้มีการพัฒนาระบบประสาทในการรับรู้และตอบสนองดีขึ้นกว่า
พลานาเรียอย่างไร
         ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที6 และภาพที่ 7
                                 ่
คาแนะนา : จากภาพที6 และภาพที7
                    ่
- ภาพที6 นักเรียนจะได้เห็นโครงสร้างหลักของระบบประสาท
         ่
- ภาพที7 นักเรียนจะได้เห็นโครงสร้างหลักของระบบประสาท
  ทีผ่าให้ดูของจริง
    ่
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที่ 6 แสดงโครงสร้างหลักของระบบประสาทไส้เดือน

                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที7 ภาพผ่าตัดแสดงโครงสร้างหลักของระบบประสาทไส้เดือน
     ่




                                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
แมลง

แมลงและไส้เดือนดินมีระบบอวัยวะร่างกายซับซ้อนใกล้เคียง
กันจึงมีการพัฒนาระบบประสาทในการรับรู้และตอบสนอง
คล้ายคลึงกันมาก

ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที่8
คาแนะนา ให้นักเรียนศึกษาภาพที่8ซึ่งแสดงระบบประสาทของแมลง
เปรียบเทียบกับภาพที6 ซึ่งแสดงระบบประสาทของไส้เดือน
                    ่


                                                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที8 แสดงโครงสร้างระบบประสาทของแมลง
     ่




                                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถามน่าคิด!!

นักเรียนตอบได้หรือไม่จุดใดที่แสดงให้เห็นว่าระบบประสาท
ของไส้เดือนดิน และแมลงพัฒนาดีกว่า พลานาเรีย?




                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
คนและสัตว์มีกระดูกสันหลังมีการรับรู้และตอบสนองอย่างไร
          ่




                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
คนและสัตว์มีกระดูกสันหลังได้พัฒนาระบบ
    ประสาทมากกว่าพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
    โดยเฉพาะสมองซึ่งมีขนาดใหญ่เซลล์ประสาท
    เกือบทั้งหมดของร่างกายจะรวมกันอยู่ที่
    สมอง และพัฒนาเส้นประสาทขนาดใหญ่กลาง
    ลาตัวเป็นไขสันหลัง ( spinal cord )
    สมองและไขสันหลังทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง
    ของระบบประสาทและมีเส้นประสาทแยกจาก
    สมองและไขสันหลังและปมประสาทอีกเป็น
    จานวนมาก

          ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที่ 9

ฉวีวรรณ นาคบุตร                               ภาพที่9 แสดงโครงสร้างของระบบประสาทคน
คาถามน่าคิด!!
สมองของคนและสัตว์มีกระดูกสันหลังพัฒนามาจากส่วนใด
        ให้นักเรียนศึกษาจากภาพที10 และภาพที่ 11
                                       ่
 คาแนะนา ในการศึกษาจากภาพที10 และภาพที่ 11
                                     ่
จากภาพที10 ่
      ให้นักเรียนสังเกตุส่วนที่เรียกว่า นิวรัลทิวบ์( neural tube )
ที่ปรากฏในเอ็มบริโอของคนเมื่ออายุ 3 สัปดาห์
จากภาพที11   ่
      ให้นักเรียนสังเกตุส่วนที่เรียกว่า นิวรัลทิวบ์( neural tube )
ทีมีสีปรากฏแตกต่างกันแล้วพัฒนาไปเป็นสมองส่วนต่างๆ
   ่

                                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
4เดือน




ภาพที10 แสดงการพัฒนาของนิวรัลทิวบ์ของทารกในครรภ์
     ่
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพที11 แสดงการพัฒนาของนิวรัลทิวบ์ไปเป็นสมองส่วนต่างๆ
     ่
    สิ่งที่ควรรู้ : นิวรัลทิวบ์ มีลักษณะเป็นหลอดหรือท่อกลวง
                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End
     สวัสดี
              ฉวีวรรณ นาคบุตร

Contenu connexe

Tendances

ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
supreechafkk
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
Chok Ke
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
krupornpana55
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
Biobiome
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
Oui Nuchanart
 

Tendances (20)

โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 

Similaire à การรับรู้และการตอบสนอง

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
Wan Ngamwongwan
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
juriyaporn
 

Similaire à การรับรู้และการตอบสนอง (20)

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 

Plus de Wan Ngamwongwan

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 

Plus de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

การรับรู้และการตอบสนอง