SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
แผนยุท ธศาสตร์ก ารขับ เคลือ นปรัช ญาของ
                                ่
                 เศรษฐกิจ พอเพีย ง
   สู่ก ารเรีย นรู้ใ นสถานศึก ษา (พ.ศ. 2552 -
                        2554)
              โรงเรีย นบ้า นหนองหว้า
สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาศรีส ะเกษ เขต 4

ความเป็น มา
        ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติ
ในการดำาเนินชีวิต
ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลปัจจุบัน
ทรงมีพระราชดำารัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า 30 ปี
เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานแห่งความมั่นคงของแผ่นดิน
ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล และลึกซึ้งยิ่งกว่านักพัฒนา หรือนัก
วิชาการใดๆ
จะมีสติปัญญาเสมอเหมือนได้ ดังพระบรมราโชวาทและพระราช
ดำารัสของพระองค์นับตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา ที่ ได้ทรงเน้นยำ้า
แนวทางการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน บนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง
เพื่อให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ และมีความสุข โดยใช้
หลักความพอประมาณ
การคำานึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรง
เตือนสติประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาที่
สมดุล ก้าวหน้าไปอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอย่างถูกต้องตามหลักวิชา
และการมีคุณธรรมเป็นกรอบในการคิด และการกระทำา สามารถ
ประยุกต์ใช้ในทุกมิติชีวิต ทุกภาคส่วน และทุกด้านของการ
พัฒนา เพื่อสังคมส่วนรวมจักได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และ
เจริญก้าวหน้าไปพร้อมกันอย่างมั่นคง และยั่งยืน
        กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำายุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง


               แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                               เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                        โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                        ศรีสะเกษ เขต 4
-2-


สู่สถานศึกษา (2550-2554) โดยกำาหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้
สถานศึกษานำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้
ในการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ
การบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติในทุก
ระดับได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล เกิดการปรับ
เปลี่ยนกระบวนทัศน์ ในการดำาเนินชีวิต
บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง
และสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำาหนดให้
สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง มีการน้อมนำาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ภายในปี พ.ศ. 2554
          โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 4 มีความสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงได้น้อมนำาพระ
ราชดำารัสปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และยุทธศาสตร์การขับ
เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาของกระทรวง
ศึกษาธิการมาส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัดนำาไปประยุกต์ใช้ใน
การจัดการศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่องมาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ.
2549 ทั้งการศึกษาปฐมวัยและการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยบูรณาการเข้ากับการบริหารการศึกษา และการ
จัดประสบการณ์หรือกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย
และเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนสำานักงาน
โรงเรียนบ้านหนองหว้า เขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 จึง
จัดทำาแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียงสู่การเรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) เพื่อ
เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ทั้งด้านการ
บริหารจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน เพื่อปลูกฝัง
ให้ผู้เรียนรู้จักใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็นคุณค่าของทรัพยากร
เอื้อเฟื้อเผือแผ่และแบ่งปัน มีจิตสำานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม เห็นคุณค่า
             ่
ของวัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของความเป็นไทย

วัต ถุป ระสงค์
       เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา
นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลัก
                 แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                  เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                          โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                           ศรีสะเกษ เขต 4
-3-


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ
หน้าที่และการดำาเนินชีวิต

วิส ัย ทัศ น์
       เป็นเลิศทางวิชาการ เชี่ยวชาญอ่านเขียน รักเรียน ICT
มากมีงานอาชีพ
รีบเร่งจัดภูมิทัศน์ พัฒนาคุณธรรม น้อมนำาเศรษฐกิจพอเพียง
เผดียงเอกลักษณ์ท้องถิ่น

     ภายในปี 2554 โรงเรียนบ้านหนองหว้า นำาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

พัน ธกิจ
         1. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการ
ศึกษา นักเรียน และ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
         2. พัฒนากิจกรรม สื่อ เครื่องมือส่งเสริมการนำาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การเรียนรู้ในสถานศึกษา
         3. ส่งเสริมการนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำา
มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่และการดำาเนินชีวิต

เป้า หมาย
      ปี 2552 เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการ
เรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
      ปี 2553 เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการ
เรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการทุกกลุ่มสาระ


                แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                 เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                         โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                          ศรีสะเกษ เขต 4
-4-


       ปี 2554 เป็นสถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนการสอน
และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างมีคุณภาพ

ยุท ธศาสตร์

  ยุท ธศาสตร์ท ี่ 1 การพัฒ นาการจัด การศึก ษาตาม
ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง
      การขับ เคลื่อ น
        1. วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดย
           1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการนำาปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การเรียนรู้ในสถานศึกษา ทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ
สถานศึกษา
           1.2 กำาหนดแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ปรับปรุงวิสัยทัศน์ เป้า
หมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน พัฒนาหลักสูตรโดย
บูรณาการเนื้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงไว้ในหลักสูตรสถาน
ศึกษา
        2. ดำาเนินการพัฒนาการจัดการศึกษาตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย โดยสอดแทรก
สาระเศรษฐกิจพอเพียงไว้ในสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน เช่น
           2.1 จัดทำาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมการขับเคลื่อน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
           2.2 จัดทำาสื่อ/เอกสารการนิเทศ
        3. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาการจัดการ
ศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
        4. นำาผลจากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการ
พัฒนาการจัดการศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น
ฐานในการพัฒนาการจัดการศึกษาต่อไป


              แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                               เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                       โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                        ศรีสะเกษ เขต 4
-5-




  ยุท ธศาสตร์ท ี่ 2 การพัฒ นาบุค ลากร
      การขับ เคลื่อ น
       2.1 วางแผนการพัฒนาบุคลากร เช่น ประชุมวางแผน
จัดทำาโครงการพัฒนาบุคลากร
       2.2 ดำาเนินการพัฒนาบุคลากร โดย
         2.2.1 อบรมสัมมนาผู้บริหารการศึกษาให้เกิดความรู้
ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำา
ไปบริหารการศึกษา
         2.2.2 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
ให้สามารถนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบริหารจัดการ
บูรณาการสู่การเรียน
การสอน ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น อบรม สัมมนา ศึกษา
ดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฯลฯ
       2.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาบุคลากร
เช่น การนิเทศ
การรายงานสรุปผล การประเมินตนเอง การทำาวิจัย การจัด
นิทรรศการ ฯลฯ
       2.4 นำาผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและรายงาน
ผลการพัฒนาบุคลากร
มาเป็นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร

  ยุท ธศาสตร์ท ี่ 3 การขยายผลและการพัฒ นาเครือ ข่า ย
     การขับ เคลื่อ น
      3.1 วางแผนการขยายผลและการพัฒนาเครือข่าย
      3.2 ดำาเนินการขยายผลและพัฒนาเครือข่าย โดย
        3.2.1 ให้สถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างสร้างความเข้ม
แข็งในการนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ดำาเนินการ
ขยายผล สร้างและพัฒนาเครือข่าย 1 : 3 แห่ง

              แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                               เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                       โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                        ศรีสะเกษ เขต 4
-6-


         3.2.2 ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริม
สนับสนุน ประสานการดำาเนินงานของเครือข่าย
         3.2.3 จัดทำาระบบข้อมูลสารสนเทศและเชื่อมโยงเครือ
ข่ายกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
       3.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการขยายผลและ
พัฒนาเครือข่าย โดย
         3.3.1 นิเทศ กำากับ ติดตามและประเมินผลการดำาเนิน
งาน
         3.3.2 รายงานผลการดำาเนินงาน
       3.4 นำาผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ
ดำาเนินงาน มาเป็นฐานในการปรับปรุงและพัฒนา

  ยุท ธศาสตร์ท ี่ 4 การเผยแพร่ป ระชาสัม พัน ธ์
     การขับ เคลื่อ น
      4.1 วางแผนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
      4.2 ดำาเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดย
         4.2.1 เผยแพร่การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการศึกษา โดยจัดทำาสื่อรูปแบบต่าง ๆ
         4.2.2 เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าของการ
จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น คลินิก
วิชาการ วารสาร เว็บไซต์ นิทรรศการ ฯลฯ
      4.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์
      4.4 ปรับปรุงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

  ยุท ธศาสตร์ท ี่ 5 การติด ตามประเมิน ผล
       การขับ เคลื่อ น
        1. กำาหนดรูปแบบ แนวทาง เครื่องมือและคู่มือในการ
ติดตามและประเมินผล
        2. จัดให้มีคณะกรรมการติดตามประเมินผล ระดับเขต
พื้นที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา โดยให้คณะกรรมการมีหน้าที่
ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำาเนินงาน
ในภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
              แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                               เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                       โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                        ศรีสะเกษ เขต 4
-7-


     3. ดำาเนินการติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล


ตัว ชี้ว ัด ความสำา เร็จ
     การนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาใน
5 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้าน
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถาน
ศึกษาและผลลัพธ์/ภาพความสำาเร็จ ได้นำาเสนอองค์
ประกอบ ตัวชี้วัด ตัวอย่างร่องรอย/เอกสาร/หลักฐาน
และปัจจัยที่ช่วยให้การดำาเนินงานประสบผลสำาเร็จในแต่ละ
องค์ประกอบ ซึงจะเป็นประโยชน์ต่อการนำาไปเป็น
                 ่
แนวทางในการดำาเนินงานในสถานศึกษา

     1. ด้า นการบริห ารจัด การสถานศึก ษา
  องค์                                         ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
 ประกอบ
                      ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
1.        1. มีนโยบายน้อมนำาปรัชญา             1. วิสัยทัศน์
นโยบา     ของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับ              2. แผนพัฒนา
ย         เคลื่อนในสถานศึกษา และบูรณ           คุณภาพการศึกษา
          าการในแผนปฏิบัติงานประจำาปี          3. แผนปฏิบัติการ
          2. ดำาเนินการตามนโยบาย และ           ประจำาปี
          แผนปฏิบัติงานประจำาปีที่น้อมนำา      4. ปฏิทินการปฏิบัติ
          ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             งาน
          มาขับเคลื่อนในสถานศึกษา              5. แผนการนิเทศ
          3. ติดตามผลการดำาเนินการ             6. คำาสั่งแต่งตั้งคณะ
          ตามนโยบายและแผนปฏิบัติการ            กรรมการ
          ประจำาปีที่น้อมนำาปรัชญาของ          7. การบันทึกการ
          เศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อน          ประชุม
          ในสถานศึกษา                          8. รายงานการ
          4. นำาผลการติดตามมาพัฒนา             พัฒนาคุณภาพ การ
          นโยบาย/แผนงานโครงการ ขับ             ศึกษาประจำาปี
               แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                        โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                         ศรีสะเกษ เขต 4
-8-


 องค์                                         ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                     ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
         เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 9. รายงาน
         เพียงในสถานศึกษา           โครงการ/กิจกรรม
                                    10. ภาพถ่าย
                                    กิจกรรม
 องค์                                         ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                     ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
2.       5. มีแผนงาน/โครงการ/                 1. หลักสูตรสถาน
วิชากา   กิจกรรมด้านวิชาการ                   ศึกษา/หลักสูตร
ร        ที่ส่งเสริมการบูรณาการปรัชญา         ระดับท้องถิ่น
         ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ             2. แผนพัฒนา
         เรียนการสอน                          คุณภาพการศึกษา
         6. ดำาเนินการตามแผนงาน/              3. แผนปฏิบัติการ
         โครงการ/กิจกรรมด้านวิชาการ           ประจำาปี
         ที่ส่งเสริมการบูรณาการปรัชญา         4. ปฏิทินการปฏิบัติ
         ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ             งาน
         เรียนการสอน                          5. แผนการนิเทศ
         7. ติดตามผล แผนงาน/                  6. คำาสั่งแต่งตั้งคณะ
         โครงการ/กิจกรรม ด้าน                 กรรมการ
         วิชาการที่ส่งเสริมการบูรณาการ        7. การบันทึกการ
         ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่          ประชุม
         การเรียนการสอน                       8. รายงานการ
         8. นำาผลการติดตามไปพัฒนา             พัฒนาคุณภาพ การ
         แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม               ศึกษาประจำาปี
         ด้านวิชาการที่ส่งเสริมการ            9. รายงาน
         บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ            โครงการ/กิจกรรม
         พอเพียง                              10. ภาพถ่าย
         สู่การเรียนการสอน                    กิจกรรม
3. งบ    9. มีการวางแผนการบริหาร              1. แผนพัฒนา
ประมาณ
         จัดการงบประมาณของสถาน                คุณภาพการศึกษา
         ศึกษาที่สอดคล้องกับหลัก              2. แผนปฏิบัติการ
         ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             ประจำาปี
         10. ดำาเนินการตามแผนงบ               3. ปฏิทินการปฏิบัติ
              แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                               เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                       โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                        ศรีสะเกษ เขต 4
-9-


         ประมาณของสถานศึกษาตาม                งาน
         หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ              4. เอกสารการระดม
         เพียง                                ทุน/ทรัพยากร
         11. ติดตามผลการดำาเนินงาน            5. การบันทึกการ
         ตามแผนงบประมาณของสถาน                ประชุม
         ศึกษาตามหลักปรัชญาของ                6. รายงานการ
         เศรษฐกิจพอเพียง                      พัฒนาคุณภาพ การ
         12. นำาผลการติดตามมาพัฒนา            ศึกษาประจำาปี
         และปรับปรุงการบริหารจัดการ           7. รายงาน
         งบประมาณตามหลักปรัชญา                โครงการ/กิจกรรม
         ของเศรษฐกิจพอเพียง                   8. ภาพถ่ายกิจกรรม




 องค์                                         ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                     ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
4.       13. บริหารอาคารสถานที่และ            1. แผนพัฒนา
บริหาร   จัดการแหล่งการเรียนรู้ในสถาน         คุณภาพการศึกษา
ทั่วไป   ศึกษา ตามหลักปรัชญาของ               2. แผนปฏิบัติการ
         เศรษฐกิจพอเพียง                      ประจำาปี
         14. ประสานสัมพันธ์กับชุมชน           3. ปฏิทินการปฏิบัติ
         ให้มีส่วนร่วม                        งาน
         ในการส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อ       4. คำาสั่งแต่งตั้งคณะ
         การเป็นอยู่อย่างพอเพียง              กรรมการ
                                              5. การบันทึกการ
                                              ประชุม
                                              6. ทะเบียนแหล่ง
                                              เรียนรู้และภูมิปัญญา
                                              ท้องถิ่น
                                              7. เอกสารเผยแพร่

              แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                               เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                       โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                        ศรีสะเกษ เขต 4
- 10 -


                                             ประชาสัมพันธ์
                                             8. สังเกตสภาพจริง

      2. ด้า นหลัก สูต รและการจัด การเรีย นการสอน
 องค์                                        ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                    ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
1.      1. มีหน่วยการเรียนรู้ปรัชญา          1. หลักสูตรสถาน
หน่วย   ของเศรษฐกิจพอเพียงทุกระดับ           ศึกษา/หลักสูตร
การ     ชั้น                                 ระดับท้องถิ่น
เรียนรู้2. มีการนิเทศ/ติดตาม/ประเมิน         2. แผนการนิเทศ
ปรัชญา  ผล การนำาหน่วยการเรียนรู้            3. แผนการจัดการ
ของ     ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             เรียนรู้
เศรษฐกิ ไปใช้ในการจัดการเรียนการ             4. หน่วยการเรียนรู้
จพอ     สอน                                  ที่จดตามบริบทของ
                                                 ั
เพียง   3. มีการศึกษา/วิเคราะห์/วิจัย        ท้องถิ่น
        เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการ          5. รายงานการใช้
        สอนหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับ         แผนการจัดการเรียน
        ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             รู้
2. การ 4. มีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณา        1. หลักสูตรสถาน
บูรณา การหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ               ศึกษา/หลักสูตร
การ     พอเพียงในกลุ่มสาระการเรียนรู้        ระดับท้องถิ่น
หลัก    ต่าง ๆ ทุกระดับชั้น                  2. แผนการจัดการ
ปรัชญา 5. คุณภาพของแผนจัดการ                 เรียนรู้
ของ     เรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญา        3. บันทึกหลังสอน
เศรษฐกิ ของเศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่ม            4. ชิ้นงานนักเรียน
จพอ     สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ                5. แฟ้มสะสมงาน
เพียง   6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน          ของนักเรียน
สู่การ  ที่บูรณาการหลักปรัชญาของ             6. สัมภาษณ์ครู/
เรียน   เศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มสาระ           นักเรียน
การ     การเรียนรู้ต่างๆ
สอน
 องค์                                        ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                    ตัวชี้วัด                       หลักฐาน

             แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                              เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                      โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                       ศรีสะเกษ เขต 4
- 11 -


          7. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัด
          กิจกรรมการเรียนการสอนที่
          บูรณาการหลักปรัชญาของ
          เศรษฐกิจพอเพียง
3. สือ่   8. จัดหา/ผลิต/ใช้/เผยแพร่ สือ   ่
                                      1. ทะเบียนผลิตสื่อ
และ       การเรียนรู้ เพื่อบูรณาการหลัก
                                      2. บันทึกการใช้สื่อ
แหล่ง     ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง    3. แผนการจัดการ
เรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอน       เรียนรู้
เกี่ยวกับ 9. จัดทำา/พัฒนา/เผยแพร่     4. ทะเบียนแหล่ง
ปรัชญา แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา       เรียนรู้/
ของ                                   ภูมิปัญญาท้องถิ่น
          เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ เกี่ยว
เศรษฐกิ กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอ        5. เอกสารการเผย
จพอ       เพียง                       แพร่สื่อ
เพียง                                 6. รายงานไปศึกษา
          10. ใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา
                                      แหล่งเรียนรู้ใน/นอก
          ท้องถิ่นในชุมชน ที่ส่งเสริมการ
                                      สถานที่
          เป็นอยู่อย่างพอเพียงของผู้เรียน
                                      7. วิทยากรภายนอก
                                      8. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. การ 11. จัดทำาเครื่องมือวัดและ     1. แผนการจัดการ
วัดและ ประเมินผลที่หลากหลายและ        เรียนรู้
ประเมิน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ    2. บันทึกหลังสอน
ผลการ หน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการ     3. ผลงานนักเรียน
จัดการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง       4. เอกสารการ
เรียน   12. ใช้วิธีการวัดผลและประเมิน ประเมิน
การ     ผลที่หลากหลายและสอดคล้อง 5. รายงานผลการ
สอน     กับการจัดกิจกรรมการเรียนการ ประเมิน
ตาม     สอนที่บูรณาการหลักปรัชญา      6. บันทึกการสอน
หลัก    ของเศรษฐกิจพอเพียง            ซ่อมเสริม
ปรัชญา 13. รายงานผลการประเมิน         7. การจัด
ของ     และนำามาปรับปรุง/พัฒนาการ     นิทรรศการ
เศรษฐกิ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ 8. ผลสัมฤทธิ์
จพอ     บูรณาการหลักปรัชญาของ         ทางการเรียน
เพียง   เศรษฐกิจพอเพียง
        14. จัดแสดง/เผยแพร่/
                แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                 เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                         โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                          ศรีสะเกษ เขต 4
- 12 -


           ประกวด/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผล
           งานของนักเรียนที่เกิดจาก
           การนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
           เพียงไปประยุกต์ใช้




      3. ด้า นการจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น
 องค์                                           ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                       ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
1. การ     1. มีแผนงาน/โครงการ                  1. แผนปฏิบัติการ
แนะแน      แนะแนว และระบบดูแลช่วย               ประจำาปี
วและ       เหลือผู้เรียน เพื่อสนับสนุนการ       2. คำาสั่ง
ระบบ       ดำาเนินชีวิตที่สอดคล้องกับ           3. ปฏิทินปฏิบัติงาน
ดูแล       ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             4. กิจกรรมชมรม/
ช่วย       2. จัดกิจกรรมแนะแนวให้ผู้            ชุมนุม
เหลือผู้   เรียนได้รู้จักการวางแผนชีวิต         5. โฮมรูม
เรียน      ของตนเองได้ อย่างสอดคล้อง            6. แนะแนว
           กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอ               7. ระบบดูแลช่วย
           เพียง                                เหลือนักเรียน
           3. มีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน       8. ภาพถ่ายกิจกรรม
           ให้สามารถ แก้ปัญหา/พัฒนา             9. การสัมภาษณ์ครู/
           ตนเองได้อย่างสอดคล้องกับ             นักเรียน
           ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
           4. ติดตามผล การจัดกิจกรรม
           แนะแนว และระบบดูแลช่วย
           เหลือผู้เรียนตามหลักปรัชญา
           ของเศรษฐกิจพอเพียง
           5. นำาผลการติดตามมาใช้
           พัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
           และระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
           ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

                แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                 เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                         โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                          ศรีสะเกษ เขต 4
- 13 -


          พอเพียง
2.        6. มีแผนงาน/โครงการ ส่งเสริม         1. แผนปฏิบัติการ
กิจกรร    กิจกรรมนักเรียนให้อยู่อย่างพอ        ประจำาปี
ม         เพียง                                2. คำาสั่ง
นักเรีย   7. จัดกิจกรรมลูกเสือ/เนตร            3. ปฏิทินปฏิบัติงาน
น         นารี/ยุวกาชาด หรือผู้บำาเพ็ญ         4. กิจกรรมลูกเสือ/
          ประโยชน์ สอดคล้องกับปรัชญา           เนตรนารียุวกาชาด
          ของเศรษฐกิจพอเพียง                   หรือผู้บำาเพ็ญ
          8. ส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง           ประโยชน์
          ชุมนุม/ชมรมตามหลักปรัชญา             5. ชุมนุม/ชมรม
          ของเศรษฐกิจเศรษฐกิจพอเพียง           ต่างๆ
          9. มีการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา         6. วิทยากรภายนอก
          ท้องถิ่น/วัฒนธรรม/หลักคำาสอน         7. รายงาน
          ทางศาสนาในการจัดกิจกรรม              โครงการ/กิจกรรม
          นักเรียนตามหลักปรัชญาของ             8. ภาพถ่ายกิจกรรม
          เศรษฐกิจพอเพียง                      9. สัมภาษณ์ครู/
          10. ติดตามผลการจัดกิจกรรม            นักเรียน/ผู้ปกครอง/
          นักเรียนตามหลักปรัชญาของ             ผู้บริหาร/ผู้เกี่ยวข้อง
          เศรษฐกิจพอเพียง

 องค์                                          ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                      ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
          11. นำาผลการติดตามมา
          ปรับปรุง/พัฒนา กิจกรรม
          นักเรียนตามหลักปรัชญาของ
          เศรษฐกิจพอเพียง
3.        12. มีแผนงาน/โครงการ เพื่อ           1. แผนปฏิบัติการ
กิจกรร    ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด      ประจำาปี
มเพื่อ    จิตอาสา และมีส่วนร่วมใน              2. คำาสั่ง
สังคม     กิจกรรมเพื่อสังคมและ                 3. ปฏิทินปฏิบัติงาน
และ       สาธารณประโยชน์ตามหลัก                4. โครงงาน
สาธาร     ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             5. รายงานผลการ
ณ-        13. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแก้       ร่วมกิจกรรม
ประโย     ปัญหาหรือพัฒนาสถานศึกษา              6. ภาพถ่ายกิจกรรม
               แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                        โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                         ศรีสะเกษ เขต 4
- 14 -


ชน์       ชุมชน ด้านเศรษฐกิจหรือสังคม          7. สังเกต/สัมภาษณ์
          หรือสิ่งแวดล้อมหรือวัฒนธรรม          ผู้เกี่ยวข้อง
          ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
          พอเพียง
          14. ติดตามผลการดำาเนิน
          กิจกรรมเพื่อสังคมและ
          สาธารณประโยชน์ของผู้เรียน
          ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
          พอเพียง
          15. นำาผลการติดตามมา
          ปรับปรุง/พัฒนาการดำาเนิน
          กิจกรรมเพื่อสังคมและ
          สาธารณประโยชน์ของผู้เรียน
          ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
          พอเพียง

      4. ด้า นพัฒ นาบุค ลากรของสถานศึก ษา
 องค์                                          ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                      ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
1. การ    1. มีแผนงาน/โครงการพัฒนา             1. แผนปฏิบัติการ
พัฒนา     บุคลากรของสถานศึกษาเพื่อ             ประจำาปี
บุคลาก    สร้างความรู้ความเข้าใจ และ           2. คำาสั่ง
รตาม      ตระหนักในคุณค่าของปรัชญา             3. ปฏิทินปฏิบัติงาน
หลัก      ของเศรษฐกิจพอเพียง                   4. บันทึกการประชุม
ปรัชญา    2. จัดการประชุม/อบรม/                5. รายงานการ
ของ       สัมมนา/ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้       อบรม/สัมมนา/
เศรษฐกิ   ต่างๆ เพื่อส่งเสริมการประยุกต์       ศึกษาดูงาน
จพอ       ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ               6. เกียรติบัตร/
เพียง     เพียงในการดำาเนินชีวิตและ            วุฒิบัตร
          ปฏิบัติภารกิจหน้าที่                 7. ภาพถ่ายกิจกรรม


 องค์                                          ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                      ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
               แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                        โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                         ศรีสะเกษ เขต 4
- 15 -


           3. ส่งเสริมให้บุคลากรแสวงหา
           ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของ
           เศรษฐกิจพอเพียง
           อย่างสมำ่าเสมอ
           4. จัดกิจกรรมส่งเสริมการ
           ดำาเนินชีวิตและการปฏิบัติ
           ภารกิจหน้าที่ ตามหลักปรัชญา
           ของเศรษฐกิจพอเพียงแก่
           บุคลากรของสถานศึกษา
2. การ     5. ติดตามผลการดำาเนิน                1. การนิเทศ
ติดตาม     โครงการ/กิจกรรมพัฒนา                 2. รายงานการ
และ        บุคลากรเพื่อส่งเสริมการดำาเนิน       พัฒนาคุณภาพการ
ขยาย       ชีวิตและปฏิบัติภารกิจหน้าที่ตาม      ศึกษา
ผล         หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ              3. เกียรติบัตร
           เพียง                                4. บันทึกการศึกษาดู
           6. นำาผลการติดตามมา                  งาน
           ปรับปรุง/พัฒนาการดำาเนิน             5. บันทึกการตรวจ
           กิจกรรมเพื่อสังคมและ                 เยี่ยม
           สาธารณประโยชน์ของผู้เรียน            6. บันทึกการเผย
           ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ             แพร่เอกสาร
           พอเพียง
           7. ขยายผลและเผยแพร่ผลการ
           ดำาเนินชีวิตและปฏิบัติภารกิจ
           หน้าที่ของบุคลากรตามหลัก
           ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

        5. ผลลัพ ธ์/ภาพความสำา เร็จ
 องค์                                           ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                       ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
1.สถาน     1. คุณลักษณะของสถานศึกษา             ดูสภาพจริง
ศึกษา      พอเพียง
2. ผู้     2. คุณลักษณะของผู้บริหาร             สังเกต/สัมภาษณ์/
บริหาร     สถานศึกษาพอเพียง                     เกียรติบัตร/แฟ้ม

                แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                 เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                         โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                          ศรีสะเกษ เขต 4
- 16 -


สถาน                                           สะสมงาน
ศึกษา
3.        3. บุคลากรของสถานศึกษามี             1. สังเกต/สัมภาษณ์
บุคลาก    ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ           ครูและผู้เกี่ยวข้อง
รของ      ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง             2. แฟ้มสะสมงาน
สถาน      4. บุคลากรจัดการทรัพยากร             3. แฟ้มองค์ความรู้
ศึกษา     และดำาเนินชีวิตด้านเศรษฐกิจ          4. เกียรติบัตร
          อย่างสอดคล้องกับปรัชญาของ
          เศรษฐกิจพอเพียง



 องค์                                          ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร
ประกอบ
                      ตัวชี้วัด                       หลักฐาน
          5. บุคลากรอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน       5. มาตรการการ
          สังคมตามหลักปรัชญาของ                ประหยัดพลังงาน
          เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ             6. สมุดบันทึกความดี
          เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติ
          ตนเพื่อส่วนรวมและสาธารณะ
          ประโยชน์
          6. บุคลากรรู้จักใช้และจัดการ
          ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
          แวดล้อมได้อย่างสมดุลและ
          พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
          ต่างๆ
          7. บุคลากรดำาเนินชีวิตอย่างมี
          ฐานรากทางวัฒนธรรมและ
          พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
          วัฒนธรรมจากกระแส
          โลกาภิวัฒน์
4.        8. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ       1. ผลงานนักเรียน
นักเรีย   เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจ           2. โครงงาน/
น         พอเพียงตามมาตรฐานการเรียน            โครงการ
          รู้เศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละ           3. สมุดบันทึกการ
               แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                        โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                         ศรีสะเกษ เขต 4
- 17 -


              ระดับชั้นปีการศึกษา                  อ่าน
              9. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน       4. บันทึกความดี
              ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ        5. ธนาคารความดี
              ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน              6. บันทึกรายรับราย
              วัตถุ/เศรษฐกิจ                       จ่าย
              10. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน      7. สมุดออมทรัพย์
              ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ        8. เกียรติบัตร
              ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน              9. สังเกต/สัมภาษณ์
              สังคม                                นักเรียนและผู้
              11. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน      เกี่ยวข้อง
              ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ
              ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านสิ่ง
              แวดล้อม
              12. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน
              ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ
              ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน
              วัฒนธรรม




                             คณะทำา งาน

ที่ป รึก ษา


                   แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                                    เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                            โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                             ศรีสะเกษ เขต 4
- 18 -


    นางสุจิตรา ภูมิภาค               ผู้อำานวยการ
โรงเรียนบ้านหนองหว้า
    นางพูลสุข บัวหอม            ครู คศ.3 ชำานาญการ
พิเศษ
    นางมยุรี จันทวี                  ครู คศ.3
     ชำานาญการพิเศษ
    นายนำาพล กิ่งมะณี           ครู คศ.3 ชำานาญการ
พิเศษ
    นายอุทัย บุญเต็ม            ครู คศ.2 ชำานาญการ
    นางอุษา เถินหิตย์           ครู คศ.3 ชำานาญการ
พิเศษ
    นายถาวร กล้าหาญ             ครู คศ.2 ชำานาญการ
    นางนงลักษณ์ เสตพันธ์        ครูชำานาญการ
    นายประวิตร ตระกูลวิทยานันท์      ครู คศ.2
     ชำานาญการ
    นายวสันต์ คำาเพราะ               ครู คศ.2
     ชำานาญการ
    นางสาวสุพิศ นาโหล่ง              ครู คศ.1
    น.ส.จันทนา คำาเพราะ              ครู คศ.2
     ชำานาญการ
    นายวรภัทร นันทา             ครู คศ.1
    นายสุธีรพันธ์ โพอุทัย            พนักงานราชการ
    น.ส.ธนิตตา พันธนู           ครู ผู้ช่วย
    นายน้อย คำาบาล              ช่าวครุภัณฑ์ 3
    นายประเสริฐ นันโช                ครู ธุรการ
    นางสว่างจิตร ทรงกลด         ครู พี่เลี้ยง
    นางสาวจิรัชยา ไชยคุณ        ครู พี่เลี้ยง
    นายวิชิต คำาล้อม            ครู พี่เลี้ยง
    นายวีระศักดิ์ ภาประกอบ      ครู พี่เลี้ยง

            แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                             เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
                     โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                                      ศรีสะเกษ เขต 4
- 19 -




แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
                 เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554)
         โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                                          ศรีสะเกษ เขต 4

Contenu connexe

Tendances

หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
Phuritchanart Thongmee
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
Nirut Uthatip
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
Wichai Likitponrak
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
charinruarn
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
krusoon1103
 
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
krooprakarn
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
krupornpana55
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
Kittisak Amthow
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
Kobwit Piriyawat
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 

Tendances (20)

หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองโอ๋
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02
 

Similaire à แผนยุทธศาสตร์ปศพ.

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
Nirut Uthatip
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 

Similaire à แผนยุทธศาสตร์ปศพ. (20)

การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Plus de wasan

แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณ
wasan
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
wasan
 
Social media data-from
Social media data-fromSocial media data-from
Social media data-from
wasan
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
wasan
 

Plus de wasan (9)

บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณ
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Social media data-from
Social media data-fromSocial media data-from
Social media data-from
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
 

แผนยุทธศาสตร์ปศพ.

  • 1. แผนยุท ธศาสตร์ก ารขับ เคลือ นปรัช ญาของ ่ เศรษฐกิจ พอเพีย ง สู่ก ารเรีย นรู้ใ นสถานศึก ษา (พ.ศ. 2552 - 2554) โรงเรีย นบ้า นหนองหว้า สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาศรีส ะเกษ เขต 4 ความเป็น มา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติ ในการดำาเนินชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลปัจจุบัน ทรงมีพระราชดำารัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า 30 ปี เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานแห่งความมั่นคงของแผ่นดิน ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล และลึกซึ้งยิ่งกว่านักพัฒนา หรือนัก วิชาการใดๆ จะมีสติปัญญาเสมอเหมือนได้ ดังพระบรมราโชวาทและพระราช ดำารัสของพระองค์นับตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา ที่ ได้ทรงเน้นยำ้า แนวทางการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน บนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพื่อให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ และมีความสุข โดยใช้ หลักความพอประมาณ การคำานึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรง เตือนสติประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาที่ สมดุล ก้าวหน้าไปอย่างเป็นขั้นเป็นตอนอย่างถูกต้องตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเป็นกรอบในการคิด และการกระทำา สามารถ ประยุกต์ใช้ในทุกมิติชีวิต ทุกภาคส่วน และทุกด้านของการ พัฒนา เพื่อสังคมส่วนรวมจักได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และ เจริญก้าวหน้าไปพร้อมกันอย่างมั่นคง และยั่งยืน กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำายุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 2. -2- สู่สถานศึกษา (2550-2554) โดยกำาหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ สถานศึกษานำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ การบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติในทุก ระดับได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล เกิดการปรับ เปลี่ยนกระบวนทัศน์ ในการดำาเนินชีวิต บนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง และสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำาหนดให้ สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง มีการน้อมนำาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ภายในปี พ.ศ. 2554 โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4 มีความสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงได้น้อมนำาพระ ราชดำารัสปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และยุทธศาสตร์การขับ เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการมาส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัดนำาไปประยุกต์ใช้ใน การจัดการศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่องมาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2549 ทั้งการศึกษาปฐมวัยและการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยบูรณาการเข้ากับการบริหารการศึกษา และการ จัดประสบการณ์หรือกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย และเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนสำานักงาน โรงเรียนบ้านหนองหว้า เขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 จึง จัดทำาแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงสู่การเรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) เพื่อ เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ทั้งด้านการ บริหารจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน เพื่อปลูกฝัง ให้ผู้เรียนรู้จักใช้ชีวิตที่พอเพียง เห็นคุณค่าของทรัพยากร เอื้อเฟื้อเผือแผ่และแบ่งปัน มีจิตสำานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม เห็นคุณค่า ่ ของวัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของความเป็นไทย วัต ถุป ระสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลัก แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 3. -3- ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ หน้าที่และการดำาเนินชีวิต วิส ัย ทัศ น์ เป็นเลิศทางวิชาการ เชี่ยวชาญอ่านเขียน รักเรียน ICT มากมีงานอาชีพ รีบเร่งจัดภูมิทัศน์ พัฒนาคุณธรรม น้อมนำาเศรษฐกิจพอเพียง เผดียงเอกลักษณ์ท้องถิ่น ภายในปี 2554 โรงเรียนบ้านหนองหว้า นำาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ พัน ธกิจ 1. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการ ศึกษา นักเรียน และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนากิจกรรม สื่อ เครื่องมือส่งเสริมการนำาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การเรียนรู้ในสถานศึกษา 3. ส่งเสริมการนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำา มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่และการดำาเนินชีวิต เป้า หมาย ปี 2552 เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการ เรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ปี 2553 เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการ เรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการทุกกลุ่มสาระ แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 4. -4- ปี 2554 เป็นสถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างมีคุณภาพ ยุท ธศาสตร์ ยุท ธศาสตร์ท ี่ 1 การพัฒ นาการจัด การศึก ษาตาม ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง การขับ เคลื่อ น 1. วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดย 1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการนำาปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การเรียนรู้ในสถานศึกษา ทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา 1.2 กำาหนดแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ปรับปรุงวิสัยทัศน์ เป้า หมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน พัฒนาหลักสูตรโดย บูรณาการเนื้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงไว้ในหลักสูตรสถาน ศึกษา 2. ดำาเนินการพัฒนาการจัดการศึกษาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย โดยสอดแทรก สาระเศรษฐกิจพอเพียงไว้ในสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้ เรียน เช่น 2.1 จัดทำาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 จัดทำาสื่อ/เอกสารการนิเทศ 3. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาการจัดการ ศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. นำาผลจากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการ พัฒนาการจัดการศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น ฐานในการพัฒนาการจัดการศึกษาต่อไป แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 5. -5- ยุท ธศาสตร์ท ี่ 2 การพัฒ นาบุค ลากร การขับ เคลื่อ น 2.1 วางแผนการพัฒนาบุคลากร เช่น ประชุมวางแผน จัดทำาโครงการพัฒนาบุคลากร 2.2 ดำาเนินการพัฒนาบุคลากร โดย 2.2.1 อบรมสัมมนาผู้บริหารการศึกษาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำา ไปบริหารการศึกษา 2.2.2 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบริหารจัดการ บูรณาการสู่การเรียน การสอน ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น อบรม สัมมนา ศึกษา ดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฯลฯ 2.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาบุคลากร เช่น การนิเทศ การรายงานสรุปผล การประเมินตนเอง การทำาวิจัย การจัด นิทรรศการ ฯลฯ 2.4 นำาผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและรายงาน ผลการพัฒนาบุคลากร มาเป็นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร ยุท ธศาสตร์ท ี่ 3 การขยายผลและการพัฒ นาเครือ ข่า ย การขับ เคลื่อ น 3.1 วางแผนการขยายผลและการพัฒนาเครือข่าย 3.2 ดำาเนินการขยายผลและพัฒนาเครือข่าย โดย 3.2.1 ให้สถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างสร้างความเข้ม แข็งในการนำาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ดำาเนินการ ขยายผล สร้างและพัฒนาเครือข่าย 1 : 3 แห่ง แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 6. -6- 3.2.2 ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และส่งเสริม สนับสนุน ประสานการดำาเนินงานของเครือข่าย 3.2.3 จัดทำาระบบข้อมูลสารสนเทศและเชื่อมโยงเครือ ข่ายกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการขยายผลและ พัฒนาเครือข่าย โดย 3.3.1 นิเทศ กำากับ ติดตามและประเมินผลการดำาเนิน งาน 3.3.2 รายงานผลการดำาเนินงาน 3.4 นำาผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ ดำาเนินงาน มาเป็นฐานในการปรับปรุงและพัฒนา ยุท ธศาสตร์ท ี่ 4 การเผยแพร่ป ระชาสัม พัน ธ์ การขับ เคลื่อ น 4.1 วางแผนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4.2 ดำาเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดย 4.2.1 เผยแพร่การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการศึกษา โดยจัดทำาสื่อรูปแบบต่าง ๆ 4.2.2 เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าของการ จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น คลินิก วิชาการ วารสาร เว็บไซต์ นิทรรศการ ฯลฯ 4.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ 4.4 ปรับปรุงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ยุท ธศาสตร์ท ี่ 5 การติด ตามประเมิน ผล การขับ เคลื่อ น 1. กำาหนดรูปแบบ แนวทาง เครื่องมือและคู่มือในการ ติดตามและประเมินผล 2. จัดให้มีคณะกรรมการติดตามประเมินผล ระดับเขต พื้นที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา โดยให้คณะกรรมการมีหน้าที่ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำาเนินงาน ในภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 7. -7- 3. ดำาเนินการติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ตัว ชี้ว ัด ความสำา เร็จ การนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาใน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้าน หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถาน ศึกษาและผลลัพธ์/ภาพความสำาเร็จ ได้นำาเสนอองค์ ประกอบ ตัวชี้วัด ตัวอย่างร่องรอย/เอกสาร/หลักฐาน และปัจจัยที่ช่วยให้การดำาเนินงานประสบผลสำาเร็จในแต่ละ องค์ประกอบ ซึงจะเป็นประโยชน์ต่อการนำาไปเป็น ่ แนวทางในการดำาเนินงานในสถานศึกษา 1. ด้า นการบริห ารจัด การสถานศึก ษา องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 1. 1. มีนโยบายน้อมนำาปรัชญา 1. วิสัยทัศน์ นโยบา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับ 2. แผนพัฒนา ย เคลื่อนในสถานศึกษา และบูรณ คุณภาพการศึกษา าการในแผนปฏิบัติงานประจำาปี 3. แผนปฏิบัติการ 2. ดำาเนินการตามนโยบาย และ ประจำาปี แผนปฏิบัติงานประจำาปีที่น้อมนำา 4. ปฏิทินการปฏิบัติ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งาน มาขับเคลื่อนในสถานศึกษา 5. แผนการนิเทศ 3. ติดตามผลการดำาเนินการ 6. คำาสั่งแต่งตั้งคณะ ตามนโยบายและแผนปฏิบัติการ กรรมการ ประจำาปีที่น้อมนำาปรัชญาของ 7. การบันทึกการ เศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อน ประชุม ในสถานศึกษา 8. รายงานการ 4. นำาผลการติดตามมาพัฒนา พัฒนาคุณภาพ การ นโยบาย/แผนงานโครงการ ขับ ศึกษาประจำาปี แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 8. -8- องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 9. รายงาน เพียงในสถานศึกษา โครงการ/กิจกรรม 10. ภาพถ่าย กิจกรรม องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 2. 5. มีแผนงาน/โครงการ/ 1. หลักสูตรสถาน วิชากา กิจกรรมด้านวิชาการ ศึกษา/หลักสูตร ร ที่ส่งเสริมการบูรณาการปรัชญา ระดับท้องถิ่น ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ 2. แผนพัฒนา เรียนการสอน คุณภาพการศึกษา 6. ดำาเนินการตามแผนงาน/ 3. แผนปฏิบัติการ โครงการ/กิจกรรมด้านวิชาการ ประจำาปี ที่ส่งเสริมการบูรณาการปรัชญา 4. ปฏิทินการปฏิบัติ ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ งาน เรียนการสอน 5. แผนการนิเทศ 7. ติดตามผล แผนงาน/ 6. คำาสั่งแต่งตั้งคณะ โครงการ/กิจกรรม ด้าน กรรมการ วิชาการที่ส่งเสริมการบูรณาการ 7. การบันทึกการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ ประชุม การเรียนการสอน 8. รายงานการ 8. นำาผลการติดตามไปพัฒนา พัฒนาคุณภาพ การ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ศึกษาประจำาปี ด้านวิชาการที่ส่งเสริมการ 9. รายงาน บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ โครงการ/กิจกรรม พอเพียง 10. ภาพถ่าย สู่การเรียนการสอน กิจกรรม 3. งบ 9. มีการวางแผนการบริหาร 1. แผนพัฒนา ประมาณ จัดการงบประมาณของสถาน คุณภาพการศึกษา ศึกษาที่สอดคล้องกับหลัก 2. แผนปฏิบัติการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำาปี 10. ดำาเนินการตามแผนงบ 3. ปฏิทินการปฏิบัติ แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 9. -9- ประมาณของสถานศึกษาตาม งาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 4. เอกสารการระดม เพียง ทุน/ทรัพยากร 11. ติดตามผลการดำาเนินงาน 5. การบันทึกการ ตามแผนงบประมาณของสถาน ประชุม ศึกษาตามหลักปรัชญาของ 6. รายงานการ เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพ การ 12. นำาผลการติดตามมาพัฒนา ศึกษาประจำาปี และปรับปรุงการบริหารจัดการ 7. รายงาน งบประมาณตามหลักปรัชญา โครงการ/กิจกรรม ของเศรษฐกิจพอเพียง 8. ภาพถ่ายกิจกรรม องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 4. 13. บริหารอาคารสถานที่และ 1. แผนพัฒนา บริหาร จัดการแหล่งการเรียนรู้ในสถาน คุณภาพการศึกษา ทั่วไป ศึกษา ตามหลักปรัชญาของ 2. แผนปฏิบัติการ เศรษฐกิจพอเพียง ประจำาปี 14. ประสานสัมพันธ์กับชุมชน 3. ปฏิทินการปฏิบัติ ให้มีส่วนร่วม งาน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อ 4. คำาสั่งแต่งตั้งคณะ การเป็นอยู่อย่างพอเพียง กรรมการ 5. การบันทึกการ ประชุม 6. ทะเบียนแหล่ง เรียนรู้และภูมิปัญญา ท้องถิ่น 7. เอกสารเผยแพร่ แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 10. - 10 - ประชาสัมพันธ์ 8. สังเกตสภาพจริง 2. ด้า นหลัก สูต รและการจัด การเรีย นการสอน องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 1. 1. มีหน่วยการเรียนรู้ปรัชญา 1. หลักสูตรสถาน หน่วย ของเศรษฐกิจพอเพียงทุกระดับ ศึกษา/หลักสูตร การ ชั้น ระดับท้องถิ่น เรียนรู้2. มีการนิเทศ/ติดตาม/ประเมิน 2. แผนการนิเทศ ปรัชญา ผล การนำาหน่วยการเรียนรู้ 3. แผนการจัดการ ของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรียนรู้ เศรษฐกิ ไปใช้ในการจัดการเรียนการ 4. หน่วยการเรียนรู้ จพอ สอน ที่จดตามบริบทของ ั เพียง 3. มีการศึกษา/วิเคราะห์/วิจัย ท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการ 5. รายงานการใช้ สอนหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับ แผนการจัดการเรียน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้ 2. การ 4. มีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณา 1. หลักสูตรสถาน บูรณา การหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ศึกษา/หลักสูตร การ พอเพียงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับท้องถิ่น หลัก ต่าง ๆ ทุกระดับชั้น 2. แผนการจัดการ ปรัชญา 5. คุณภาพของแผนจัดการ เรียนรู้ ของ เรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญา 3. บันทึกหลังสอน เศรษฐกิ ของเศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่ม 4. ชิ้นงานนักเรียน จพอ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ 5. แฟ้มสะสมงาน เพียง 6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของนักเรียน สู่การ ที่บูรณาการหลักปรัชญาของ 6. สัมภาษณ์ครู/ เรียน เศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มสาระ นักเรียน การ การเรียนรู้ต่างๆ สอน องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 11. - 11 - 7. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่ บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3. สือ่ 8. จัดหา/ผลิต/ใช้/เผยแพร่ สือ ่ 1. ทะเบียนผลิตสื่อ และ การเรียนรู้ เพื่อบูรณาการหลัก 2. บันทึกการใช้สื่อ แหล่ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. แผนการจัดการ เรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอน เรียนรู้ เกี่ยวกับ 9. จัดทำา/พัฒนา/เผยแพร่ 4. ทะเบียนแหล่ง ปรัชญา แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา เรียนรู้/ ของ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ เกี่ยว เศรษฐกิ กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 5. เอกสารการเผย จพอ เพียง แพร่สื่อ เพียง 6. รายงานไปศึกษา 10. ใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ใน/นอก ท้องถิ่นในชุมชน ที่ส่งเสริมการ สถานที่ เป็นอยู่อย่างพอเพียงของผู้เรียน 7. วิทยากรภายนอก 8. ภาพถ่ายกิจกรรม 4. การ 11. จัดทำาเครื่องมือวัดและ 1. แผนการจัดการ วัดและ ประเมินผลที่หลากหลายและ เรียนรู้ ประเมิน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ 2. บันทึกหลังสอน ผลการ หน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการ 3. ผลงานนักเรียน จัดการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เอกสารการ เรียน 12. ใช้วิธีการวัดผลและประเมิน ประเมิน การ ผลที่หลากหลายและสอดคล้อง 5. รายงานผลการ สอน กับการจัดกิจกรรมการเรียนการ ประเมิน ตาม สอนที่บูรณาการหลักปรัชญา 6. บันทึกการสอน หลัก ของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่อมเสริม ปรัชญา 13. รายงานผลการประเมิน 7. การจัด ของ และนำามาปรับปรุง/พัฒนาการ นิทรรศการ เศรษฐกิ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ 8. ผลสัมฤทธิ์ จพอ บูรณาการหลักปรัชญาของ ทางการเรียน เพียง เศรษฐกิจพอเพียง 14. จัดแสดง/เผยแพร่/ แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 12. - 12 - ประกวด/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผล งานของนักเรียนที่เกิดจาก การนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงไปประยุกต์ใช้ 3. ด้า นการจัด กิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย น องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 1. การ 1. มีแผนงาน/โครงการ 1. แผนปฏิบัติการ แนะแน แนะแนว และระบบดูแลช่วย ประจำาปี วและ เหลือผู้เรียน เพื่อสนับสนุนการ 2. คำาสั่ง ระบบ ดำาเนินชีวิตที่สอดคล้องกับ 3. ปฏิทินปฏิบัติงาน ดูแล ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. กิจกรรมชมรม/ ช่วย 2. จัดกิจกรรมแนะแนวให้ผู้ ชุมนุม เหลือผู้ เรียนได้รู้จักการวางแผนชีวิต 5. โฮมรูม เรียน ของตนเองได้ อย่างสอดคล้อง 6. แนะแนว กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 7. ระบบดูแลช่วย เพียง เหลือนักเรียน 3. มีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 8. ภาพถ่ายกิจกรรม ให้สามารถ แก้ปัญหา/พัฒนา 9. การสัมภาษณ์ครู/ ตนเองได้อย่างสอดคล้องกับ นักเรียน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ติดตามผล การจัดกิจกรรม แนะแนว และระบบดูแลช่วย เหลือผู้เรียนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 5. นำาผลการติดตามมาใช้ พัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 13. - 13 - พอเพียง 2. 6. มีแผนงาน/โครงการ ส่งเสริม 1. แผนปฏิบัติการ กิจกรร กิจกรรมนักเรียนให้อยู่อย่างพอ ประจำาปี ม เพียง 2. คำาสั่ง นักเรีย 7. จัดกิจกรรมลูกเสือ/เนตร 3. ปฏิทินปฏิบัติงาน น นารี/ยุวกาชาด หรือผู้บำาเพ็ญ 4. กิจกรรมลูกเสือ/ ประโยชน์ สอดคล้องกับปรัชญา เนตรนารียุวกาชาด ของเศรษฐกิจพอเพียง หรือผู้บำาเพ็ญ 8. ส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง ประโยชน์ ชุมนุม/ชมรมตามหลักปรัชญา 5. ชุมนุม/ชมรม ของเศรษฐกิจเศรษฐกิจพอเพียง ต่างๆ 9. มีการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา 6. วิทยากรภายนอก ท้องถิ่น/วัฒนธรรม/หลักคำาสอน 7. รายงาน ทางศาสนาในการจัดกิจกรรม โครงการ/กิจกรรม นักเรียนตามหลักปรัชญาของ 8. ภาพถ่ายกิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียง 9. สัมภาษณ์ครู/ 10. ติดตามผลการจัดกิจกรรม นักเรียน/ผู้ปกครอง/ นักเรียนตามหลักปรัชญาของ ผู้บริหาร/ผู้เกี่ยวข้อง เศรษฐกิจพอเพียง องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 11. นำาผลการติดตามมา ปรับปรุง/พัฒนา กิจกรรม นักเรียนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3. 12. มีแผนงาน/โครงการ เพื่อ 1. แผนปฏิบัติการ กิจกรร ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด ประจำาปี มเพื่อ จิตอาสา และมีส่วนร่วมใน 2. คำาสั่ง สังคม กิจกรรมเพื่อสังคมและ 3. ปฏิทินปฏิบัติงาน และ สาธารณประโยชน์ตามหลัก 4. โครงงาน สาธาร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. รายงานผลการ ณ- 13. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแก้ ร่วมกิจกรรม ประโย ปัญหาหรือพัฒนาสถานศึกษา 6. ภาพถ่ายกิจกรรม แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 14. - 14 - ชน์ ชุมชน ด้านเศรษฐกิจหรือสังคม 7. สังเกต/สัมภาษณ์ หรือสิ่งแวดล้อมหรือวัฒนธรรม ผู้เกี่ยวข้อง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 14. ติดตามผลการดำาเนิน กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ของผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 15. นำาผลการติดตามมา ปรับปรุง/พัฒนาการดำาเนิน กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ของผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. ด้า นพัฒ นาบุค ลากรของสถานศึก ษา องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 1. การ 1. มีแผนงาน/โครงการพัฒนา 1. แผนปฏิบัติการ พัฒนา บุคลากรของสถานศึกษาเพื่อ ประจำาปี บุคลาก สร้างความรู้ความเข้าใจ และ 2. คำาสั่ง รตาม ตระหนักในคุณค่าของปรัชญา 3. ปฏิทินปฏิบัติงาน หลัก ของเศรษฐกิจพอเพียง 4. บันทึกการประชุม ปรัชญา 2. จัดการประชุม/อบรม/ 5. รายงานการ ของ สัมมนา/ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ อบรม/สัมมนา/ เศรษฐกิ ต่างๆ เพื่อส่งเสริมการประยุกต์ ศึกษาดูงาน จพอ ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 6. เกียรติบัตร/ เพียง เพียงในการดำาเนินชีวิตและ วุฒิบัตร ปฏิบัติภารกิจหน้าที่ 7. ภาพถ่ายกิจกรรม องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 15. - 15 - 3. ส่งเสริมให้บุคลากรแสวงหา ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง อย่างสมำ่าเสมอ 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมการ ดำาเนินชีวิตและการปฏิบัติ ภารกิจหน้าที่ ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ บุคลากรของสถานศึกษา 2. การ 5. ติดตามผลการดำาเนิน 1. การนิเทศ ติดตาม โครงการ/กิจกรรมพัฒนา 2. รายงานการ และ บุคลากรเพื่อส่งเสริมการดำาเนิน พัฒนาคุณภาพการ ขยาย ชีวิตและปฏิบัติภารกิจหน้าที่ตาม ศึกษา ผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ 3. เกียรติบัตร เพียง 4. บันทึกการศึกษาดู 6. นำาผลการติดตามมา งาน ปรับปรุง/พัฒนาการดำาเนิน 5. บันทึกการตรวจ กิจกรรมเพื่อสังคมและ เยี่ยม สาธารณประโยชน์ของผู้เรียน 6. บันทึกการเผย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ แพร่เอกสาร พอเพียง 7. ขยายผลและเผยแพร่ผลการ ดำาเนินชีวิตและปฏิบัติภารกิจ หน้าที่ของบุคลากรตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. ผลลัพ ธ์/ภาพความสำา เร็จ องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 1.สถาน 1. คุณลักษณะของสถานศึกษา ดูสภาพจริง ศึกษา พอเพียง 2. ผู้ 2. คุณลักษณะของผู้บริหาร สังเกต/สัมภาษณ์/ บริหาร สถานศึกษาพอเพียง เกียรติบัตร/แฟ้ม แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 16. - 16 - สถาน สะสมงาน ศึกษา 3. 3. บุคลากรของสถานศึกษามี 1. สังเกต/สัมภาษณ์ บุคลาก ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ครูและผู้เกี่ยวข้อง รของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. แฟ้มสะสมงาน สถาน 4. บุคลากรจัดการทรัพยากร 3. แฟ้มองค์ความรู้ ศึกษา และดำาเนินชีวิตด้านเศรษฐกิจ 4. เกียรติบัตร อย่างสอดคล้องกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง องค์ ตัวอย่างร่องรอยเอกสาร ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน 5. บุคลากรอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน 5. มาตรการการ สังคมตามหลักปรัชญาของ ประหยัดพลังงาน เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ 6. สมุดบันทึกความดี เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติ ตนเพื่อส่วนรวมและสาธารณะ ประโยชน์ 6. บุคลากรรู้จักใช้และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมได้อย่างสมดุลและ พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ต่างๆ 7. บุคลากรดำาเนินชีวิตอย่างมี ฐานรากทางวัฒนธรรมและ พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมจากกระแส โลกาภิวัฒน์ 4. 8. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ 1. ผลงานนักเรียน นักเรีย เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจ 2. โครงงาน/ น พอเพียงตามมาตรฐานการเรียน โครงการ รู้เศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละ 3. สมุดบันทึกการ แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 17. - 17 - ระดับชั้นปีการศึกษา อ่าน 9. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน 4. บันทึกความดี ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ 5. ธนาคารความดี ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน 6. บันทึกรายรับราย วัตถุ/เศรษฐกิจ จ่าย 10. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน 7. สมุดออมทรัพย์ ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ 8. เกียรติบัตร ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน 9. สังเกต/สัมภาษณ์ สังคม นักเรียนและผู้ 11. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน เกี่ยวข้อง ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านสิ่ง แวดล้อม 12. ผู้เรียนปฏิบัติตนให้ดำาเนิน ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน วัฒนธรรม คณะทำา งาน ที่ป รึก ษา แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 18. - 18 - นางสุจิตรา ภูมิภาค ผู้อำานวยการ โรงเรียนบ้านหนองหว้า นางพูลสุข บัวหอม ครู คศ.3 ชำานาญการ พิเศษ นางมยุรี จันทวี ครู คศ.3 ชำานาญการพิเศษ นายนำาพล กิ่งมะณี ครู คศ.3 ชำานาญการ พิเศษ นายอุทัย บุญเต็ม ครู คศ.2 ชำานาญการ นางอุษา เถินหิตย์ ครู คศ.3 ชำานาญการ พิเศษ นายถาวร กล้าหาญ ครู คศ.2 ชำานาญการ นางนงลักษณ์ เสตพันธ์ ครูชำานาญการ นายประวิตร ตระกูลวิทยานันท์ ครู คศ.2 ชำานาญการ นายวสันต์ คำาเพราะ ครู คศ.2 ชำานาญการ นางสาวสุพิศ นาโหล่ง ครู คศ.1 น.ส.จันทนา คำาเพราะ ครู คศ.2 ชำานาญการ นายวรภัทร นันทา ครู คศ.1 นายสุธีรพันธ์ โพอุทัย พนักงานราชการ น.ส.ธนิตตา พันธนู ครู ผู้ช่วย นายน้อย คำาบาล ช่าวครุภัณฑ์ 3 นายประเสริฐ นันโช ครู ธุรการ นางสว่างจิตร ทรงกลด ครู พี่เลี้ยง นางสาวจิรัชยา ไชยคุณ ครู พี่เลี้ยง นายวิชิต คำาล้อม ครู พี่เลี้ยง นายวีระศักดิ์ ภาประกอบ ครู พี่เลี้ยง แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4
  • 19. - 19 - แผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ เรียนรู้ในสถานศึกษา (พ.ศ. 2552 – 2554) โรงเรียนบ้านหนองหว้า สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4