SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
23เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
24เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
1 คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง
ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑
2 คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ
ที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ใด
- ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
3 ใครเป็นผู้ลงนามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง
ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
- นายสมชาย วงษ์สวัสดิ์
4 ใครเป็นผู้มีอานาจในการยกเลิก เพิ่มเติม
เปลี่ยนแปลงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
- เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
5 การให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
เพื่อให้สอดคล้องกับอะไร
- ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจสังคม
- และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
6 โรงเรียนต้นแบบ
ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
ปีการศึกษา 2552
- (ป 1-6 และ ม.1,4)
ปีการศึกษา 2553
- (ป 1-6 และ ม. 1, 2, 4 , 5)
ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป
- ( ทุกชั้นเรียน)
โรงเรียนทั่วไป
ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
ปีการศึกษา 2553
- (ป 1-6 และ ม. 1,4)
ปีการศึกษา 2554
- (ป 1-6 และ ม. 1, 2, 4 , 5)
ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป
- ทุกชั้นเรียน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
25เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
7 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ครบทุกระดับชั้น ปีใด
- ปีการศึกษา 2555
8 จากผลการวิจัยพบว่าจุดดี
ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ คือ
- ส่งเสริมการกระจายอานาจทางการศึกษา
- ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาท
สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของท้องถิ่น
- มีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนา
ผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน
9 จากผลการวิจัย พบว่า ประเด็นปัญหา
ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ คือ
- ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับ
สถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
- หลักสูตรแน่น
- การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน
- ปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษา
และการเทียบโอนผลการ
- รวมทั้งปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้
ทักษะ
- ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันยัง
ไม่เป็นที่น่าพอใจ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
26เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
10 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 มีองค์ประกอบดังนี้
- วิสัยทัศน์
- หลักการ
- จุดหมาย
- สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- มาตรฐานการเรียนรู้
- ตัวชี้วัด
- สาระการเรียนรู้
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- ระดับการศึกษา
- การจัดเวลา
- การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
- การจัดการเรียนรู้
- สื่อการเรียนรู้
- การวัดและประเมินผลการ
- เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
- เอกสารหลักฐานการศึกษา
- การเทียบโอนผลการเรียน
- การบริหารจัดการหลักสูตร
- มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
27เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ
11 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีองค์ประกอบดังนี้
อินดี้ๆๆ ขาๆนะครับ
- วิสัยทัศน์ จาคาว่า ให้เป็นมนุษย์ที่สมดุล ( สมบูรณ์ พรบ.กศ.ชาติ 42)
- หลักการ เอก ชน จาย / ยืด เน้น ใน
- จุดหมาย คุณ รู้ / สุข ชาติ รักษ์
- สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สื่อ คิด แก้ / ทัก เทค
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชาติ สัตย์ นัย / ใฝ่ เพียง งาน/ รัก จิต
- มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้อง
คานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุ
ปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ สาระ
- ตัวชี้วัด ป.1 – ม. 3 ชั้นปี ม.6 – ม. 4 ช่วงชั้น
- สาระการเรียนรู้ องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุก
คนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ท ค ว / ส สุข ศิลป์/ การงาน ต่างประเทศ
(๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ๖๗ มาตรฐาน)
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนะ –นักเรียน-เพื่อสังคม
- ระดับการศึกษา ถม - ต้น - ปลาย
- การจัดเวลา ปี / ภาค – ภาค
(๔๐ ชม./ภาคเรียน = ๑ หน่วยกิต (นก.)
- การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - การศึกษาเฉพาะทาง
( นาหลักสูตรไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม) การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
การศึกษาทางเลือก
การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส
การศึกษาตามอัธยาศัย
- การจัดการเรียนรู้ ๑. หลักการจัดการเรียนรู้
๒. กระบวนการเรียนรู้
๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
๔. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
- สื่อการเรียนรู้ จัดให้มี – จัดทา - เลือกใช้ /ประเมิน – ค้นคว้าวิจัย - กากับติดตาม
- การวัดและประเมินผลการ ชั้นเรียน – สถานศึกษา- เขตพื้นที่ – ระดับชาติ
- เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
- เอกสารหลักฐานการศึกษา
- การเทียบโอนผลการเรียน
- การบริหารจัดการหลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษา / หลักสูตรท้องถิ่น
- มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 67 มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
28เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ
12 วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 51
- มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติ
ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย
ความรู้ คุณธรรม
- มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น
พลโลก
- ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่
จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิต
- โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน
ความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
13 หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี
หลักการที่สาคัญ ดังนี้
(เอก-ชน-จาย/ ยืด – เน้น- ใน)
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของ
ชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมาย
สาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจต
คติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่
กับความเป็นสากล
๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุก
คนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ
๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ
สภาพและความต้องการของท้องถิ่น
๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้ง
ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
๕. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ
นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และ
ประสบการณ์
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
29เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ
14 จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
- มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
15 จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน
เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
(คุณ – รู้ / –สุข - ชาติ –รักษ์)
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การ
แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรัก
การออกกาลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม
และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
16 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
(สื่อ – คิด – แก้ / ทัก – เทค)
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
17 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี
ความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
.
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
30เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ
18 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มี 8 อย่าง คือ
(ชาติ-ซื่อ-นัย /ใฝ่- เพียง-งาน /ไทย-จิต)
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
19 มาตรฐานการเรียนรู้ (8 กลุ่มสาระ)
ท-ค-ว /ส- สุข – ศิลปะ/
การงาน-ต่างประเทศ
คานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึง
กาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ดังนี้
๑. ภาษาไทย
๒.คณิตศาสตร์
๓.วิทยาศาสตร์
๔.สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕.สุขศึกษาและพลศึกษา
๖. ศิลปะ
๗.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘.ภาษาต่างประเทศ
20 ตัวชี้วัด แบ่งเป็น
(ป.1 –ม.3 ชั้นปี / ม.4- ม.6 ช่วงชั้น)
๑. ตัวชี้วัดชั้นปี ( ป 1 – ม.3 )
๒. ตัวชี้วัดช่วงชั้น ( ม.4 – ม 6)
21 ว ๑.๑ ป. ๑
ป.๑/๒ ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ข้อที่ ๒
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑
ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
22
ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓
ม.๔-๖/๓ ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ ๓
๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒
ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
31เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ
23 สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย - องค์ความรู้
- ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้
องค์ความรู้ ทักษะสาคัญและคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
24 ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการ
สื่อสาร ความชื่นชมการเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย
และภูมิใจในภาษาประจาชาติ
25 คณิตศาสตร์ : การนาความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปใช้ในการแก้ปัญหา การดาเนินชีวิต และศึกษาต่อ
การมีเหตุมีผลมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการ
26 วิทยาศาสตร์ : การนาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิด
วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์
27 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา
การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรัก
ชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย
28 สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพ
พลานามัยของตนเองและผู้อื่น การป้องกันและ
ปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและ
ทักษะในการดาเนินชีวิต
29 ศิลปะ : ความรู้และทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการ
สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่า
ทางศิลปะ
30 การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทางาน การจัดการ
การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการใช้
เทคโนโลยี
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
32เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ
31 ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้
ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้
และการประกอบอาชีพ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
33เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ความสัมพันธ์ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล
ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
จุดหมาย
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี
ทักษะชีวิต
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๑.กิจกรรมแนะแนว
๒.กิจกรรมนักเรียน
๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประประโยชน์
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
34เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
32 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด
มาตรฐานการเรียนรู้
- 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- 67 มาตรฐาน
33 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด
มาตรฐานการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ
34 ภาษาไทย มี 5 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 การอ่าน
สาระที่ 2 การเขียน
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
35 คณิตศาสตร์ มี 6 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
36 วิทยาศาสตร์ มี 8 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ 5 พลังงาน
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
35เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
37 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
มี 5 สาระ ดังนี้
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนิน
ชีวิตในสังคม
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
38 สุขศึกษาและพลศึกษา
มี 5 สาระ ดังนี้
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่น
เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและ
การป้องกันโรค
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
39 ศิลปะ
มี 3 สาระ ดังนี้
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
สาระที่ 2 ดนตรี
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
40 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มี 4 สาระ ดังนี้
สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สาระที่ 4 การอาชีพ
41 ภาษาต่างประเทศ
มี 4 สาระ ดังนี้
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
36เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
42 สูตรอินดี้ๆๆๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวนสาระ
ภาษาไทย 5
คณิตศาสตร์ 6
วิทยาศาสตร์ 8
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5
สุขศึกษาและพลศึกษา 5
ศิลปะ 3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4
ภาษาต่างประเทศ 4
8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ท่องว่า ทอ - คอ - วอ / สอ – สุข - ศิล/ การงาน - ต่างประเทศ
จานวนสาระ ท่องว่า หก-ไป-หา-สี่
8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวนสาระ
ทอ ห
คอ ก
วอ ป
สอ ห
สุข สระ -า
ศิล ส
การงาน สระ อี
ต่างประเทศ ไม้เอก
สูตรอินดี้ เปลี่ยนตัวหนังสือ เป็นตัวเลข ( หก – ไป-หา-สี่)
1 เขียนเป็นตัวหนังสือ หนึ่ง แทนด้วย พยัญชนะ น
2 - สอง - อ
3 - สาม - ส
4 - สี่ - สระ อี กับ ไม้ เอก
5 - ห้า - ห กับ สระ -า
6 - หก - ก
7 - เจ็ด - จ
8 - แปด - ป
9 - เก้า - ก
10 - สิบ - บ
ท-ค-ว / ส-สุข-ศิล / งาน-ต่างเทศ .............. หก – ไป – หา - สี่
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
37เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
43 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มุ่งให้ผู้เรียนมีลักษณะใด
- พัฒนาตนเองตามศักยภาพ
- พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
- เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ
วินัย
- ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์
เพื่อสังคม
- สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง
มีความสุข
44 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มีกี่กิจกรรม อะไรบ้าง
(แนะ-เรียน-สังคม)
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
45 1. กิจกรรมแนะแนว - ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง
- รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม
- สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน
ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่
ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน
46 2. กิจกรรมนักเรียน - เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย
ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี
- โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของผู้เรียน
- ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน
47 กิจกรรมนักเรียน 1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด
ผู้บาเพ็ญ ประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม
48 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตน
- ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตาม
ความสนใจ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
38เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
49 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัด
ระดับการศึกษาเป็น กี่ระดับ
- 3 ระดับ
50 ระดับการศึกษา แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
(ถม-ต้น-ปลาย)
- ระดับประถมศึกษา (ชั้น ป 1 – 6)
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้น ม1 – 3)
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้น ม 4 – 6)
51 ระดับประถมศึกษา
(ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6)
- การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาค
บังคับ
- มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การ
คิดคานวณ
- ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร
กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็น
มนุษย์
- การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้ง
ในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ
วัฒนธรรม
- โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
52 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3)
- มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สารวจความถนัดและ
ความสนใจของตนเอง
- ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะ
ในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิด
แก้ปัญหา
- มีทักษะในการดาเนินชีวิต
- มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือใน
การเรียนรู้
- มีความรับผิดชอบต่อสังคม
- มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดี
งาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย
- ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบ
อาชีพหรือการศึกษาต่อ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
39เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
53 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6)
- การศึกษาระดับนี้เน้นการเพิ่มพูนความรู้และ
ทักษะเฉพาะด้าน
- สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความ
สนใจของผู้เรียนแต่ละคนทั้งด้านวิชาการและ
วิชาชีพ
- มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี
กระบวนการคิดขั้นสูง
- สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนา
ตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็น
ผู้นา และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ
การจัดเวลาเรียน
54 ระดับชั้นประถมศึกษา
(ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6)
- ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี
- โดยมีเวลาเรียนวันละ ไม่น้อย 5 ชั่วโมง
55 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3)
- ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค
- มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
- คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต
ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนักวิชา
เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
(40 ชั่วโมง/ภาคเรียน= 1 หน่วยกิต)
56 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖)
- ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค
- มีเวลาเรียน วันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
- คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต
ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนัก
วิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
(40 ชั่วโมง/ภาคเรียน= 1 หน่วยกิต)
57 สรุป เวลาเรียน
.... ท่องว่า.. ถม – ต้น - ปลาย
ปี - ภาค - ภาค
ระดับ เวลาเรียน
ประถม รายปี
ม.ต้น รายภาค
ม.ปลาย รายภาค
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
40เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
โครงสร้างเวลาเรียน แก้ไขเพิ่มเติมตามคาสั่ง สพฐ.ที่ ๑๑๐/๒๕๕๕ ลว.๒๕ มกราคม ๒๕๕๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้/
กิจกรรม
เวลาเรียน
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 200 160 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
คณิตศาสตร์ 200 160 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
วิทยาศาสตร์ 80 80 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
 ประวัติศาสตร์
ศ า ส น า ศี ล ธ ร ร ม
จริยธรรม
ห น้ า ที่ พ ล เ มื อ ง
วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิต
ในสังคม
 เศรษฐศาสตร์
 ภูมิศาสตร์
120
40
80
120
40
80
160 (4 นก.)
40 (1 นก.)
120 (3 นก.)
320 (8 นก.)
80 (2 นก.)
240 (6 นก.)
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 (2 นก.) 120(3 นก.)
ศิลปะ 80 80 80 (2 นก.) 120(3 นก.)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 80 80 (2 นก.) 120(3 นก.)
ภาษาต่างประเทศ 40 80 120(3 นก.) 240 (6 นก.)
รวมเวลาเรียน
(พื้นฐาน) 840 840 880 (22 นก) 1640 (41 นก)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 360
รายวิชา/กิจกรรมที่
สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม
ความพร้อม
และจุดเน้น
ปีละไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง
ปีละ
ไม่น้อยกว่า 1600ชั่วโมง
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 1000 ชั่วโมง/ปี ไม่น้อยกว่า 1200 ชั่วโมง/ปี
รวม 3 ปี
ไม่น้อยกว่า 3600 ชั่วโมง
ส่วนเปลี่ยนแปลงส่วน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
41เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถดาเนินการ ดังนี้
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
58 ระดับประถมศึกษา - สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม
- ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ใน
โครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน
- และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด
59 ระดับมัธยมศึกษา - ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่
กาหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร
60 เวลาเรียนเพิ่มเติม
ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
- ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม
- หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับ
ความพร้อม
จุดเน้นของสถานศึกษา
เกณฑ์การจบหลักสูตร
61 วิชาเพิ่มเติม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3
สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับ
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
- ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
- และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
62 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
- ปีละ 120 ชั่วโมง
63 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
- จานวน 360 ชั่วโมง
-
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
64 ระดับประถมศึกษา (ป.1-6) - รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
65 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) - รวม 3 ปี จานวน 45 ชั่วโมง
66 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) - รวม 3 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
42เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
67 การจัดการศึกษาบางประเภท
สาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น
- การศึกษาเฉพาะทาง
- การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
- การศึกษาทางเลือก
- การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส
- การศึกษาตามอัธยาศัย
68 การจัดการศึกษาบางประเภทสาหรับ
กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ สามารถนาหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ได้
- ตามความเหมาะสม
- กับสภาพและบริบทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
การจัดการเรียนรู้
69 การจัดการเรียนรู้ - เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การ
ปฏิบัติ
70 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน - เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้
- -สมรรถนะสาคัญ
- และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
- เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน
71 การจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ต้อง - พยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้
- จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่
กาหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
- พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้
ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย
72 การจัดการเรียนรู้ 1) หลักการจัดการเรียนรู้
2) กระบวนการเรียนรู้
3) การออกแบบการจัดการเรียนรู้
4) บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
43เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
73 1. หลักการจัดการเรียนรู้ - โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
- ชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้
- ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
- กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
- คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ
ทางสมอง
- เน้นให้ความสาคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม
74 2. กระบวนการเรียนรู้ - กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
- กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
- กระบวนการสร้างความรู้
- กระบวนการคิด
- กระบวนการทางสังคม
- กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
- กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
- กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง
- กระบวนการจัดการ
- กระบวนการวิจัย
- กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง
- กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
75 กระบวนการเรียนรู้
ผู้สอน ต้อง
- ศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ
- เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
76 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้อง
- ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
- แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย
เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่ง
เรียนรู้ การวัดและประเมินผล
- เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและ
บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
44เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
77 4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
4.1 บทบาทของผู้สอน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทาย
ความสามารถของผู้เรียน
2) กาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็นความคิด
รวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง
สมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
4) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมา
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและ
ระดับพัฒนาการของผู้เรียน
7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผู้เรียน
1) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคาถาม คิดหา
คาตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ
3) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ
4) มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู
5 ) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
สื่อการเรียนรู้
78 สื่อการเรียนรู้ - เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการ
กระบวนการเรียนรู้
- ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และ
คุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
79 สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท - ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี
และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น
80 การเลือกใช้สื่อ ควรเลือกให้มี - ความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ
- และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
45เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
81 สถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง - เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
-
82 สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ควรดาเนินการดังนี้
1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
2. จัดทาและจัดหาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้ง
จัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้
3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง
กับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
4. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
6. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อ
การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่าเสมอ
83 สถานศึกษาควรคานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อ
การเรียนรู้ เช่น
- ความสอดคล้องกับหลักสูตร
- วัตถุประสงค์การเรียนรู้
- การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
- การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน
- เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย
- ไม่กระทบความมั่นคงของชาติ
- ไม่ขัดต่อศีลธรรม
- มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง
- รูปแบบการนาเสนอที่เข้าใจง่าย
- และน่าสนใจ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
46เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
84 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้อง - อยู่บนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ
85 หลักการพื้นฐานสองประการคือ - การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
- และเพื่อตัดสินผลการเรียน
86 การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ให้ประสบผลสาเร็จนั้น
ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนา
และประเมินตามตัวชี้วัด
87 การพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อ - ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
- สะท้อนสมรรถนะสาคัญ
- และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
88 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
- โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศ
ที่แสดง พัฒนาการ
ความก้าวหน้า
ความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน
89 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แบ่งออกเป็น กี่ระดับ
- 4 ระดับ
90 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ
- ระดับชั้นเรียน
- ระดับสถานศึกษา
- ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
- ระดับชาติ
91 1. การประเมินระดับชั้นเรียน - เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการ
จัดการเรียนรู้
- ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ
- โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครอง
ร่วมประเมิน
- ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มี การสอนซ่อมเสริม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
47เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
92 การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า - ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้
- อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนหรือไม่
93 2. การประเมินระดับสถานศึกษา - เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการ
- เพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/ราย
ภาค
- ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน
- ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา
ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่
ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด
- ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูล
และสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร
โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจน
เพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา
94 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา - เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่
การศึกษา
- ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
- สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์
ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการ
โดยเขตพื้นที่การศึกษา
- หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการ
ดาเนินการจัดสอบ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
48เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
95 4. การประเมินระดับชาติ - เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน
ใน ป.3 ป.6 / ม.3 ม.6
เข้ารับการประเมิน
- ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการ
เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ
- เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพ
การจัดการศึกษา
- ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจใน
ระดับนโยบายของประเทศ
96 สถานศึกษา จะต้อง - จัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศึกษา
- ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
แนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติ
ร่วมกัน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
49เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
97
1.1 การตัดสินผลการเรียน
- ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้
- การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น
ผู้สอนต้องคานึงถึง
- การพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก
- และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน
- รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
ระดับประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ใน
การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ระดับมัธยมศึกษา
(1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ใน
การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
++++สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คานึงถึง
- วุฒิภาวะ
- และความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
50เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
1.2 การรายงานผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา
98 ระดับผลการเรียน
หรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน
- ระบบตัวเลข
- ระบบตัวอักษร
- ระบบร้อยละ
- และระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน
99 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ให้ระดับผล การประเมินเป็น
- ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน
100 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้อง
พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม
การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น
- ผ่าน และไม่ผ่าน
ระดับมัธยมศึกษา
101 ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ - ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ
102 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น
ให้ระดับผลการประเมินเป็น
- ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน
103 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้อง
พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น
- ผ่าน และไม่ผ่าน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
51เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1 การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
104
1.3 การรายงานผลการเรียน
- การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
- ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ
หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
- การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน
มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
2 เกณฑ์การจบการศึกษา
105 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษา
เป็น กี่ระดับ
- 3 ระดับ
106 เกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษา
เป็น 3 ระดับ ได้แก่
- ระดับประถมศึกษา
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
- และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
107
2.1 เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด
(2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
6. ผลการเรียนของผู้เรียนที่ประเมินโดยสถานศึกษาและผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในสัดส่วน 80:20
( แก้ไขตามคาสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 5/2556 ลงวันที่ 4 มกราคม 2556)
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ

Contenu connexe

Tendances

แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้nitirot
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555Muhammadrusdee Almaarify
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 

Tendances (20)

แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
Math(1)
Math(1)Math(1)
Math(1)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 

En vedette

หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู
 
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)Watcharapon Donpakdee
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘Watcharapon Donpakdee
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1คน ขี้เล่า
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาRawiwan Promlee
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งคู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

En vedette (20)

การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตรสอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งคู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
 
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคขคู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
 

Similaire à 2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryArtit Promratpan
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1Apivat Vongkanha
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐Pattie Pattie
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55Manud Thesthong
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยAekapong Hemathulin
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1Montree Jareeyanuwat
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 

Similaire à 2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ (20)

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
2222222
22222222222222
2222222
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 1
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
สรุปเตรียมสอบผู้บริหาร ปี 55
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 

Plus de ติวอินดี้ ง่ายโคตร

ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Plus de ติวอินดี้ ง่ายโคตร (10)

ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
 
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
 
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสาร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
วิชาการศึกษา
วิชาการศึกษาวิชาการศึกษา
วิชาการศึกษา
 

2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ

  • 2. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 24เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 1 คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑ 2 คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๒๙๓ / ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ใด - ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ 3 ใครเป็นผู้ลงนามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ - นายสมชาย วงษ์สวัสดิ์ 4 ใครเป็นผู้มีอานาจในการยกเลิก เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ - เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 5 การให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สอดคล้องกับอะไร - ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจสังคม - และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ 6 โรงเรียนต้นแบบ ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2552 - (ป 1-6 และ ม.1,4) ปีการศึกษา 2553 - (ป 1-6 และ ม. 1, 2, 4 , 5) ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป - ( ทุกชั้นเรียน) โรงเรียนทั่วไป ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2553 - (ป 1-6 และ ม. 1,4) ปีการศึกษา 2554 - (ป 1-6 และ ม. 1, 2, 4 , 5) ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป - ทุกชั้นเรียน
  • 3. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 25เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 7 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครบทุกระดับชั้น ปีใด - ปีการศึกษา 2555 8 จากผลการวิจัยพบว่าจุดดี ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ - ส่งเสริมการกระจายอานาจทางการศึกษา - ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาท สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ ความต้องการของท้องถิ่น - มีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนา ผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน 9 จากผลการวิจัย พบว่า ประเด็นปัญหา ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ - ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับ สถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - หลักสูตรแน่น - การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน - ปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษา และการเทียบโอนผลการ - รวมทั้งปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ - ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันยัง ไม่เป็นที่น่าพอใจ
  • 4. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 26เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 10 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีองค์ประกอบดังนี้ - วิสัยทัศน์ - หลักการ - จุดหมาย - สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มาตรฐานการเรียนรู้ - ตัวชี้วัด - สาระการเรียนรู้ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ระดับการศึกษา - การจัดเวลา - การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - การจัดการเรียนรู้ - สื่อการเรียนรู้ - การวัดและประเมินผลการ - เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน - เอกสารหลักฐานการศึกษา - การเทียบโอนผลการเรียน - การบริหารจัดการหลักสูตร - มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
  • 5. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 27เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ 11 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีองค์ประกอบดังนี้ อินดี้ๆๆ ขาๆนะครับ - วิสัยทัศน์ จาคาว่า ให้เป็นมนุษย์ที่สมดุล ( สมบูรณ์ พรบ.กศ.ชาติ 42) - หลักการ เอก ชน จาย / ยืด เน้น ใน - จุดหมาย คุณ รู้ / สุข ชาติ รักษ์ - สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สื่อ คิด แก้ / ทัก เทค - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชาติ สัตย์ นัย / ใฝ่ เพียง งาน/ รัก จิต - มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้อง คานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุ ปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ สาระ - ตัวชี้วัด ป.1 – ม. 3 ชั้นปี ม.6 – ม. 4 ช่วงชั้น - สาระการเรียนรู้ องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุก คนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ท ค ว / ส สุข ศิลป์/ การงาน ต่างประเทศ (๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ๖๗ มาตรฐาน) - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนะ –นักเรียน-เพื่อสังคม - ระดับการศึกษา ถม - ต้น - ปลาย - การจัดเวลา ปี / ภาค – ภาค (๔๐ ชม./ภาคเรียน = ๑ หน่วยกิต (นก.) - การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - การศึกษาเฉพาะทาง ( นาหลักสูตรไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม) การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย - การจัดการเรียนรู้ ๑. หลักการจัดการเรียนรู้ ๒. กระบวนการเรียนรู้ ๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๔. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน - สื่อการเรียนรู้ จัดให้มี – จัดทา - เลือกใช้ /ประเมิน – ค้นคว้าวิจัย - กากับติดตาม - การวัดและประเมินผลการ ชั้นเรียน – สถานศึกษา- เขตพื้นที่ – ระดับชาติ - เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน - เอกสารหลักฐานการศึกษา - การเทียบโอนผลการเรียน - การบริหารจัดการหลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษา / หลักสูตรท้องถิ่น - มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 67 มาตรฐาน / ตัวชี้วัด
  • 6. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 28เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ 12 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 51 - มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม - มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก - ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข - มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่ จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต - โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน ความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 13 หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี หลักการที่สาคัญ ดังนี้ (เอก-ชน-จาย/ ยืด – เน้น- ใน) ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของ ชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมาย สาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจต คติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่ กับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุก คนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ สภาพและความต้องการของท้องถิ่น ๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้ง ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ๕. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และ ประสบการณ์
  • 7. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 29เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ 14 จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน - มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข - มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ 15 จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ (คุณ – รู้ / –สุข - ชาติ –รักษ์) ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การ แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรัก การออกกาลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 16 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (สื่อ – คิด – แก้ / ทัก – เทค) ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 17 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี ความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก .
  • 8. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 30เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ 18 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มี 8 อย่าง คือ (ชาติ-ซื่อ-นัย /ใฝ่- เพียง-งาน /ไทย-จิต) ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ 19 มาตรฐานการเรียนรู้ (8 กลุ่มสาระ) ท-ค-ว /ส- สุข – ศิลปะ/ การงาน-ต่างประเทศ คานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึง กาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒.คณิตศาสตร์ ๓.วิทยาศาสตร์ ๔.สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕.สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗.การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘.ภาษาต่างประเทศ 20 ตัวชี้วัด แบ่งเป็น (ป.1 –ม.3 ชั้นปี / ม.4- ม.6 ช่วงชั้น) ๑. ตัวชี้วัดชั้นปี ( ป 1 – ม.3 ) ๒. ตัวชี้วัดช่วงชั้น ( ม.4 – ม 6) 21 ว ๑.๑ ป. ๑ ป.๑/๒ ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ข้อที่ ๒ ๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 22 ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ ม.๔-๖/๓ ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ ๓ ๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒ ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  • 9. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 31เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ 23 สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย - องค์ความรู้ - ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ - ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ องค์ความรู้ ทักษะสาคัญและคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ 24 ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการ สื่อสาร ความชื่นชมการเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย และภูมิใจในภาษาประจาชาติ 25 คณิตศาสตร์ : การนาความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการแก้ปัญหา การดาเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผลมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการ 26 วิทยาศาสตร์ : การนาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ 27 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรัก ชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย 28 สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพ พลานามัยของตนเองและผู้อื่น การป้องกันและ ปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและ ทักษะในการดาเนินชีวิต 29 ศิลปะ : ความรู้และทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่า ทางศิลปะ 30 การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทางาน การจัดการ การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการใช้ เทคโนโลยี
  • 10. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 32เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ ประเด็นคาตอบ 31 ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ และการประกอบอาชีพ
  • 11. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 33เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ความสัมพันธ์ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ จุดหมาย ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี ทักษะชีวิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กิจกรรมนักเรียน ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประประโยชน์
  • 12. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 34เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 32 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด มาตรฐานการเรียนรู้ - 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - 67 มาตรฐาน 33 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด มาตรฐานการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ 34 ภาษาไทย มี 5 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 การอ่าน สาระที่ 2 การเขียน สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม 35 คณิตศาสตร์ มี 6 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ สาระที่ 2 การวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต สาระที่ 4 พีชคณิต สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 36 วิทยาศาสตร์ มี 8 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ สาระที่ 5 พลังงาน สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 13. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 35เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 37 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มี 5 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนิน ชีวิตในสังคม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 38 สุขศึกษาและพลศึกษา มี 5 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่น เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและ การป้องกันโรค สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต 39 ศิลปะ มี 3 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ สาระที่ 2 ดนตรี สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 40 การงานอาชีพและเทคโนโลยี มี 4 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาระที่ 4 การอาชีพ 41 ภาษาต่างประเทศ มี 4 สาระ ดังนี้ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
  • 14. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 36เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 42 สูตรอินดี้ๆๆๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวนสาระ ภาษาไทย 5 คณิตศาสตร์ 6 วิทยาศาสตร์ 8 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 ศิลปะ 3 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ภาษาต่างประเทศ 4 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ท่องว่า ทอ - คอ - วอ / สอ – สุข - ศิล/ การงาน - ต่างประเทศ จานวนสาระ ท่องว่า หก-ไป-หา-สี่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวนสาระ ทอ ห คอ ก วอ ป สอ ห สุข สระ -า ศิล ส การงาน สระ อี ต่างประเทศ ไม้เอก สูตรอินดี้ เปลี่ยนตัวหนังสือ เป็นตัวเลข ( หก – ไป-หา-สี่) 1 เขียนเป็นตัวหนังสือ หนึ่ง แทนด้วย พยัญชนะ น 2 - สอง - อ 3 - สาม - ส 4 - สี่ - สระ อี กับ ไม้ เอก 5 - ห้า - ห กับ สระ -า 6 - หก - ก 7 - เจ็ด - จ 8 - แปด - ป 9 - เก้า - ก 10 - สิบ - บ ท-ค-ว / ส-สุข-ศิล / งาน-ต่างเทศ .............. หก – ไป – หา - สี่
  • 15. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 37เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 43 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนมีลักษณะใด - พัฒนาตนเองตามศักยภาพ - พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม - เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วินัย - ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์ เพื่อสังคม - สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง มีความสุข 44 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีกี่กิจกรรม อะไรบ้าง (แนะ-เรียน-สังคม) 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 45 1. กิจกรรมแนะแนว - ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง - รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม - สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน 46 2. กิจกรรมนักเรียน - เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี - โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน - ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน 47 กิจกรรมนักเรียน 1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญ ประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร 2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม 48 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ - เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตน - ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตาม ความสนใจ
  • 16. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 38เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 49 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัด ระดับการศึกษาเป็น กี่ระดับ - 3 ระดับ 50 ระดับการศึกษา แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ (ถม-ต้น-ปลาย) - ระดับประถมศึกษา (ชั้น ป 1 – 6) - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้น ม1 – 3) - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้น ม 4 – 6) 51 ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) - การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาค บังคับ - มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การ คิดคานวณ - ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็น มนุษย์ - การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้ง ในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ วัฒนธรรม - โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 52 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) - มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สารวจความถนัดและ ความสนใจของตนเอง - ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะ ในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิด แก้ปัญหา - มีทักษะในการดาเนินชีวิต - มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้ - มีความรับผิดชอบต่อสังคม - มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดี งาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย - ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบ อาชีพหรือการศึกษาต่อ
  • 17. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 39เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 53 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6) - การศึกษาระดับนี้เน้นการเพิ่มพูนความรู้และ ทักษะเฉพาะด้าน - สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความ สนใจของผู้เรียนแต่ละคนทั้งด้านวิชาการและ วิชาชีพ - มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี กระบวนการคิดขั้นสูง - สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนา ตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็น ผู้นา และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ การจัดเวลาเรียน 54 ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6) - ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี - โดยมีเวลาเรียนวันละ ไม่น้อย 5 ชั่วโมง 55 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) - ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค - มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง - คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.) (40 ชั่วโมง/ภาคเรียน= 1 หน่วยกิต) 56 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖) - ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค - มีเวลาเรียน วันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง - คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนัก วิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.) (40 ชั่วโมง/ภาคเรียน= 1 หน่วยกิต) 57 สรุป เวลาเรียน .... ท่องว่า.. ถม – ต้น - ปลาย ปี - ภาค - ภาค ระดับ เวลาเรียน ประถม รายปี ม.ต้น รายภาค ม.ปลาย รายภาค
  • 18. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 40เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) โครงสร้างเวลาเรียน แก้ไขเพิ่มเติมตามคาสั่ง สพฐ.ที่ ๑๑๐/๒๕๕๕ ลว.๒๕ มกราคม ๒๕๕๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 160 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ 200 160 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) วิทยาศาสตร์ 80 80 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม  ประวัติศาสตร์ ศ า ส น า ศี ล ธ ร ร ม จริยธรรม ห น้ า ที่ พ ล เ มื อ ง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิต ในสังคม  เศรษฐศาสตร์  ภูมิศาสตร์ 120 40 80 120 40 80 160 (4 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 320 (8 นก.) 80 (2 นก.) 240 (6 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 (2 นก.) 120(3 นก.) ศิลปะ 80 80 80 (2 นก.) 120(3 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 80 80 (2 นก.) 120(3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 80 120(3 นก.) 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 840 840 880 (22 นก) 1640 (41 นก) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 360 รายวิชา/กิจกรรมที่ สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม ความพร้อม และจุดเน้น ปีละไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง ปีละ ไม่น้อยกว่า 1600ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 1000 ชั่วโมง/ปี ไม่น้อยกว่า 1200 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3600 ชั่วโมง ส่วนเปลี่ยนแปลงส่วน
  • 19. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 41เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถดาเนินการ ดังนี้ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 58 ระดับประถมศึกษา - สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม - ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ใน โครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน - และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด 59 ระดับมัธยมศึกษา - ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่ กาหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร 60 เวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา - ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม - หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับ ความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา เกณฑ์การจบหลักสูตร 61 วิชาเพิ่มเติม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน - ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย - และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 62 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 - ปีละ 120 ชั่วโมง 63 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 - จานวน 360 ชั่วโมง - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 64 ระดับประถมศึกษา (ป.1-6) - รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง 65 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) - รวม 3 ปี จานวน 45 ชั่วโมง 66 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) - รวม 3 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
  • 20. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 42เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 67 การจัดการศึกษาบางประเภท สาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น - การศึกษาเฉพาะทาง - การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ - การศึกษาทางเลือก - การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส - การศึกษาตามอัธยาศัย 68 การจัดการศึกษาบางประเภทสาหรับ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ สามารถนาหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ได้ - ตามความเหมาะสม - กับสภาพและบริบทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย การจัดการเรียนรู้ 69 การจัดการเรียนรู้ - เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การ ปฏิบัติ 70 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน - เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ - -สมรรถนะสาคัญ - และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน - เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน 71 การจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ต้อง - พยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ - จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่ กาหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้ ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย 72 การจัดการเรียนรู้ 1) หลักการจัดการเรียนรู้ 2) กระบวนการเรียนรู้ 3) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ 4) บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
  • 21. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 43เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 73 1. หลักการจัดการเรียนรู้ - โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด - ชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ - ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน - กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ - คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ ทางสมอง - เน้นให้ความสาคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม 74 2. กระบวนการเรียนรู้ - กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย - กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ - กระบวนการสร้างความรู้ - กระบวนการคิด - กระบวนการทางสังคม - กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา - กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง - กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง - กระบวนการจัดการ - กระบวนการวิจัย - กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง - กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย 75 กระบวนการเรียนรู้ ผู้สอน ต้อง - ศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ - เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 76 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้อง - ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา - แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่ง เรียนรู้ การวัดและประเมินผล - เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและ บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด
  • 22. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 44เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 77 4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน 4.1 บทบาทของผู้สอน 1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทาย ความสามารถของผู้เรียน 2) กาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็นความคิด รวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง สมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย 4) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมา ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและ ระดับพัฒนาการของผู้เรียน 7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการเรียน การสอนของตนเอง 4.2 บทบาทของผู้เรียน 1) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง 2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคาถาม คิดหา คาตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ 3) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ 4) มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู 5 ) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง สื่อการเรียนรู้ 78 สื่อการเรียนรู้ - เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการ กระบวนการเรียนรู้ - ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และ คุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 79 สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท - ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น 80 การเลือกใช้สื่อ ควรเลือกให้มี - ความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ - และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
  • 23. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 45เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 81 สถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง - เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง - 82 สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรดาเนินการดังนี้ 1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก 2. จัดทาและจัดหาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้ง จัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ 3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน 4. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ 5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน 6. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อ การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่าเสมอ 83 สถานศึกษาควรคานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อ การเรียนรู้ เช่น - ความสอดคล้องกับหลักสูตร - วัตถุประสงค์การเรียนรู้ - การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ - การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน - เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย - ไม่กระทบความมั่นคงของชาติ - ไม่ขัดต่อศีลธรรม - มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง - รูปแบบการนาเสนอที่เข้าใจง่าย - และน่าสนใจ
  • 24. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 46เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 84 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้อง - อยู่บนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ 85 หลักการพื้นฐานสองประการคือ - การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน - และเพื่อตัดสินผลการเรียน 86 การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนา และประเมินตามตัวชี้วัด 87 การพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อ - ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ - สะท้อนสมรรถนะสาคัญ - และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 88 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน - โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศ ที่แสดง พัฒนาการ ความก้าวหน้า ความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน 89 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น กี่ระดับ - 4 ระดับ 90 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ - ระดับชั้นเรียน - ระดับสถานศึกษา - ระดับเขตพื้นที่การศึกษา - ระดับชาติ 91 1. การประเมินระดับชั้นเรียน - เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ - ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ - โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครอง ร่วมประเมิน - ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มี การสอนซ่อมเสริม
  • 25. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 47เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 92 การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า - ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ - อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนหรือไม่ 93 2. การประเมินระดับสถานศึกษา - เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการ - เพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/ราย ภาค - ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน - ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด - ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูล และสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจน เพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา 94 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา - เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่ การศึกษา - ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน - เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา - สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการ โดยเขตพื้นที่การศึกษา - หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการ ดาเนินการจัดสอบ
  • 26. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 48เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 95 4. การประเมินระดับชาติ - เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน - สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน ใน ป.3 ป.6 / ม.3 ม.6 เข้ารับการประเมิน - ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการ เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ - เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษา - ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจใน ระดับนโยบายของประเทศ 96 สถานศึกษา จะต้อง - จัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล การเรียนของสถานศึกษา - ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ แนวปฏิบัติที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน - เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติ ร่วมกัน
  • 27. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 49เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน 1. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน 97 1.1 การตัดสินผลการเรียน - ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ - การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคานึงถึง - การพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก - และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน - รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ ระดับประถมศึกษา (1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด (2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ใน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษา (1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ (2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ใน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ++++สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คานึงถึง - วุฒิภาวะ - และความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ
  • 28. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 50เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 1.2 การรายงานผลการเรียน ระดับประถมศึกษา 98 ระดับผลการเรียน หรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน - ระบบตัวเลข - ระบบตัวอักษร - ระบบร้อยละ - และระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน 99 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ระดับผล การประเมินเป็น - ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน 100 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้อง พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น - ผ่าน และไม่ผ่าน ระดับมัธยมศึกษา 101 ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ - ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ 102 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการประเมินเป็น - ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน 103 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้อง พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น - ผ่าน และไม่ผ่าน
  • 29. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 51เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน 1 การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน 104 1.3 การรายงานผลการเรียน - การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการ เรียนรู้ของผู้เรียน - ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง - การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 เกณฑ์การจบการศึกษา 105 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษา เป็น กี่ระดับ - 3 ระดับ 106 เกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษา เป็น 3 ระดับ ได้แก่ - ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 107 2.1 เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา (1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด (2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด (3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด (4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด 6. ผลการเรียนของผู้เรียนที่ประเมินโดยสถานศึกษาและผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในสัดส่วน 80:20 ( แก้ไขตามคาสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 5/2556 ลงวันที่ 4 มกราคม 2556)