SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  45
Télécharger pour lire hors ligne
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
29เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ตัวอย่าง เนื้อหา รายละเอียด ในหนังสือเล่มนี้
คู่มือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร ภาค ข
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ใช้กับทุกตาแหน่งที่สอบ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
30เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สรุปสาระสาคัญ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
โครงสร้าง
หมวด ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร
หมวด ๒ การบริหารกรุงเทพมหานคร
ส่วนที่ ๑ สภากรุงเทพมหานคร
ส่วนที่ ๒ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
หมวด ๓ การจัดระเบียบราชการของกรุงเทพมหานคร
ส่วนที่ ๑ ส่วนราชการของกรุงเทพมหานคร
ส่วนที่ ๒ เขตและสภากรุงเทพ
หมวด ๔ การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน
หมวด ๕ อานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
หมวด ๖ ข้อบัญญัติ
หมวด ๗ การคลังและทรัพย์สินของกรุงเทพมหานคร
หมวด ๘ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับกรุงเทพมหานคร
บทเฉพาะกาล
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
31เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
1 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
2 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ - วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น
ไป
3 มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๑๘
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๘
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๑๙
(๔) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๔ ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐
(๕) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๒
(๖) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๓
4 มาตรา ๔ บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ
ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งอื่นใด
อ้างถึงกรุงเทพมหานคร เขต แขวง จังหวัด
อาเภอ ตาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด
เทศบาล สุขาภิบาล
- ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
5 กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งนั้น อ้างถึง
กรุงเทพมหานคร เขตหรือแขวง ตาม
พระราชบัญญัตินี้ แล้วแต่กรณี
- เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติ
แห่งพระราชบัญญัตินี้
6 มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย
- รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
32เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๑
การจัดระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
7 มาตรา ๖ ให้กรุงเทพมหานครมีฐานะเป็น - นิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
- มีระเบียบการบริหารตามพระราชบัญญัตินี้
- มีอาณาเขตท้องที่ตามที่กรุงเทพมหานครมีอยู่ในวันที่
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
8 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงอาณาเขตท้องที่
กรุงเทพมหานคร ให้ตราเป็น
- พระราชบัญญัติ
9 มาตรา ๗ ให้แบ่งพื้นที่การบริหาร
กรุงเทพมหานคร เป็นอย่างไร
- เขตและแขวงตามพื้นที่เขตและแขวง
- ที่มีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
10 การตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตให้
กระทาโดย
- ประกาศของกระทรวงมหาดไทย
- และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
11 ในเขตหนึ่งถ้าเห็นสมควร
อาจแบ่งพื้นที่การบริหารออกเป็นอะไรก็ได้
- แขวง
12 การตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงให้ทา
เป็น
- ประกาศของกรุงเทพมหานคร
- และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
13 มาตรา ๘ บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดอ้างถึง
เขตท้องที่จังหวัด ให้หมายถึงอะไร
- กรุงเทพมหานคร
14 อ้างถึงเขตท้องที่อาเภอ ให้หมายถึงอะไร - เขต
15 อ้างถึงเขตท้องที่ตาบลให้หมายถึงอะไร - แขวง
16 อ้างถึงหัวหน้าเขตให้หมายถึงใคร - ผู้อานวยการเขตตามพระราชบัญญัตินี้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
33เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๒
การบริหารกรุงเทพมหานคร
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
17 มาตรา ๙ การบริหารกรุงเทพมหานคร
ประกอบด้วย
๑) สภากรุงเทพมหานคร
(๒) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ส่วนที่ ๑
สภากรุงเทพมหานคร
18 มาตรา ๑๐ สภากรุงเทพมหานคร
ประกอบด้วย
- สมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง
- มีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๑
19 มาตรา ๑๑ การเลือกตั้งสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานครจะกระทาได้
- เมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้มีการเลือกตั้ง
แล้ว
- ในพระราชกฤษฎีกานั้นให้ระบุวันเลือกตั้งและ
ระยะเวลารับสมัครเลือกตั้ง
20 การกาหนดเขตเลือกตั้ง - ให้ถือเกณฑ์ราษฎรหนึ่งแสนคนเป็นประมาณ
21 โดยพยายามจัดให้แต่ละเขตเลือกตั้งมีจานวน
ราษฎรใกล้เคียงกันเท่าที่จะเป็นไปได้
- แต่ต้องไม่เป็นการนาเอาพื้นที่ของเขตหนึ่งไปรวมกับ
เขตอื่นหรือนาพื้นที่เพียงบางส่วนของแขวงหนึ่งไป
รวมกับแขวงอื่น
22 ในเขตเลือกตั้งหนึ่งให้มีสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานครได้ กี่คน
- 1 คน
23 ถ้าเขตใดมีจานวนราษฎรไม่พอที่จะจัดให้เป็น
หนึ่งเขตเลือกตั้ง
- ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครในเขต
นั้นหนึ่งคน
- และให้ถือเป็นเขตเลือกตั้งหนึ่ง
24 การกาหนดเขตเลือกตั้งให้คานวณตามเกณฑ์
จานวนราษฎรตามสิ่งใด
- หลักฐานการทะเบียนราษฎรที่กระทรวงมหาดไทย
- -ประกาศครั้งสุดท้ายก่อนวันประกาศพระราช
กฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
- และให้ทาเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย
25 หลักเกณฑ์และวิธีการของการกาหนดเขต
เลือกตั้ง
- จานวนแตกต่างของราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง
26 วิธีการเลือกตั้งให้เป็นไปตาม - กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
34เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
27
มาตรา ๑๒ บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
๑) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้ว ไม่น้อยกว่าห้าปี
(๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑ มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง และ
(๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน
28
มาตรา ๑๓ บุคคลผู้มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้งเป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร คือ
(๑) วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
(๒) (ยกเลิก)
(๓) ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(๔) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
(๕) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
29
มาตรา ๑๔ ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(๒) อายุไม่ต่ากว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง และ
(๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานครเป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อย
แปดสิบวัน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร และได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษี
โรงเรือนและที่ดิน หรือตามกฎหมายว่าด้วยภาษีบารุงท้องที่ให้กรุงเทพมหานครในปีที่สมัครหรือปีก่อนที่สมัคร
หนึ่งปี
30 มาตรา ๑๕ (ยกเลิก)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
35เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
31 มาตรา ๑๖ บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานคร คือ
(๑) ติดยาเสพติดให้โทษ
(๒) เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี
(๓) เป็นบุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งตามมาตรา ๑๓ (๑) (๓) หรือ (๕)
(๔) ต้องคาพิพากษาให้จาคุก และถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล
(๕) เคยต้องคาพิพากษาให้จาคุกตั้งแต่สองปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่
ความผิดอันได้กระทาโดยประมาท
(๖) (ยกเลิก)
(๗) เป็นสมาชิกสภาซึ่งมีหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น
(๘) เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาซึ่งมีหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหาร
ท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๙) เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา
(๑๐) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น
(๑๑) เป็นบุคคลซึ่งทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจไล่ออก ปลดออก ให้ออกหรือเลิกจ้างเพราะทุจริตต่อหน้าที่
หรือถือว่ากระทาการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
(๑๒) เป็นผู้ถูกถอดถอนให้ออกจากตาแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครถึงวันสมัครรับเลือกตั้งยังไม่ครบสี่ปี
(๑๓) เป็นผู้ถูกให้ออกจากตาแหน่งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครตามมาตรา ๒๓ (๘) ถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
ยังไม่ครบสี่ปี
(๑๔) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือมี
ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
32 มาตรา ๑๗ อายุของสภากรุงเทพมหานครมี
กาหนดคราวละกี่ปี
- สี่ปี นับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
33 เมื่ออายุของสภากรุงเทพมหานครสิ้นสุดลง ให้
จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
ขึ้นใหม่
- เป็นการเลือกตั้งทั่วไป
34 เมื่ออายุสภาสิ้นสุดลงต้องกาหนดวันเลือกตั้ง
ภายในกี่วัน
- 60 วันนับแต่วันที่อายุของสภากรุงเทพมหานคร
สิ้นสุดลง
35 วันเลือกตั้งนั้นต้องกาหนดเป็น - วันเดียวกัน
- ทั่วกรุงเทพมหานคร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
36เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
36 มาตรา ๑๘ ในกรณีที่การดาเนินงานของผู้ว่า
ราชการกรุงเทพมหานครและสภา
กรุงเทพมหานคร ขัดแย้งกันจนอาจก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่กรุงเทพมหานคร หรือแก่
ราชการโดยส่วนรวม
- ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอาจยื่นข้อเสนอพร้อม
ด้วยเหตุผล
- ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้ยุบสภา
กรุงเทพมหานคร
- เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
ใหม่ได้
37 ถ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไม่
ประกาศยุบสภากรุงเทพมหานครภายในสิบห้า
วันนับแต่วันที่ได้รับข้อเสนอให้ยุบสภา
กรุงเทพมหานคร
- ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอาจยื่นข้อเสนอทบทวน
ให้พิจารณาใหม่ได้อีกครั้งหนึ่ง
- ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยได้รับข้อเสนอตามวรรคหนึ่ง
38 ในการนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจะ
เห็นควรให้ยุบสภากรุงเทพมหานครตาม
ข้อเสนอทบทวนหรือไม่ก็ได้
- แต่ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่
วันที่ได้รับข้อเสนอทบทวนดังกล่าว
39 ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจะเสนอ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้สั่งยุบ
สภากรุงเทพมหานครในเหตุการณ์เดียวกันอีก
ให้กระทาได้เมื่อ
- พ้นกาหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ครบกาหนดสามสิบ
วันที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้รับ
ข้อเสนอทบทวนตามวรรคสอง
40 มาตรา ๑๙ ถ้าปรากฏว่าการดาเนินงานของ
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภา
กรุงเทพมหานครขัดแย้งกัน หรือการ
ดาเนินงานของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
และสภากรุงเทพมหานครเป็นไปในทางที่ไม่
ถูกต้อง จนอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่
กรุงเทพมหานคร หรือแก่ราชการโดยส่วนรวม
และการแก้ไขสภาพเช่นนั้นไม่อาจกระทาได้
โดยเหมาะสมด้วยวิธีการอื่นนอกจากการยุบ
สภากรุงเทพมหานคร
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยอนุมัติ
คณะรัฐมนตรีอาจให้ยุบสภากรุงเทพมหานครเพื่อให้
มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครใหม่ได้
41 มาตรา ๒๐ การยุบสภากรุงเทพมหานครตาม
มาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ และการที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไม่เห็นชอบ
ด้วยกับข้อเสนอทบทวนของผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครตามมาตรา ๑๘ วรรคสาม
- ให้ทาเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทยพร้อมกับแสดง
เหตุผลโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
37เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
42 มาตรา ๒๑ สมาชิกภาพของสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานคร
- เริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้งและอยู่ในตาแหน่งตามอายุของ
สภากรุงเทพมหานคร
43 เมื่อตาแหน่งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครว่าง
ลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตาม
อายุของสภากรุงเทพมหานครหรือมีการยุบ
สภากรุงเทพมหานคร ให้มีการเลือกตั้งสมาชิก
สภากรุงเทพมหานครภายในกาหนดเวลา
- เก้าสิบวัน
- เว้นแต่อายุของสภากรุงเทพมหานครจะเหลือไม่ถึง
หนึ่งร้อยแปดสิบวัน
44 สมาชิกสภากรุงเทพมหานครผู้เข้ามาแทนนั้น
ให้อยู่ในตาแหน่ง
- ได้เพียงเท่าอายุของสภากรุงเทพมหานครที่เหลืออยู่
45 มาตรา ๒๒ สมาชิกสภากรุงเทพมหานครต้อง
ไม่ดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่อื่นใด
- ในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
- หรือการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานคร
- หรือบริษัทซึ่งกรุงเทพมหานครถือหุ้น
- หรือตาแหน่งผู้บริหารท้องถิ่นหรือพนักงานส่วน
ท้องถิ่น
46 มาตรา ๒๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสิ้นสุดลงด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) ถึงคราวออกตามอายุของสภากรุงเทพมหานครหรือมีการยุบสภากรุงเทพมหานคร
(๒) ตาย
(๓) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานสภากรุงเทพมหานครและให้มีผลนับแต่วันถัดจากวันยื่นหนังสือ
ลาออก
(๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๔ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖ เว้นแต่กรณีตามมาตรา ๑๖ (๔)
(๕) กระทาการอันต้องห้ามตามมาตรา ๒๒
(๖) ถูกจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ความผิดอันได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๗) ขาดการประชุมสภากรุงเทพมหานครตลอดสมัยประชุมที่มีกาหนดเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันโดยไม่ได้รับ
อนุญาตจากประธานสภากรุงเทพมหานคร
(๘) สภากรุงเทพมหานครวินิจฉัยให้ออก เพราะเห็นว่าได้กระทาการอันเป็นการเสื่อมเสียแก่เกียรติศักดิ์ของ
ตาแหน่ง มติของสภากรุงเทพมหานครในข้อนี้ต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวนสมาชิก
ทั้งหมดของสภากรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่สภากรุงเทพมหานครลงมติ
(๙) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานครได้ลงคะแนนเสียงให้พ้นจากตาแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น และถ้าสมาชิกภาพของสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานครสิ้นสุดลงพร้อมกันทั้งหมดเพราะเหตุดังกล่าว ให้ถือว่าเป็นการยุบสภากรุงเทพมหานคร
47 ในกรณีตาม (๘) ให้กระทาเมื่อ - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยร้องขอ
- หรือเมื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานครไม่น้อยกว่าหนึ่ง
ในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเข้าชื่อเสนอเป็น
ญัตติให้สภากรุงเทพมหานครพิจารณา
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
38เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
48 มาตรา ๒๔ ในกรณีที่มีข้อกล่าวหาว่าสมาชิก
ภาพของสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสิ้นสุดลง
เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา ๒๓
(๔) (๕) หรือ (๗)
- ให้ประธานสภากรุงเทพมหานครดาเนินการสอบสวน
49 ถ้าประธานสภากรุงเทพมหานครรายงานว่า
สมาชิกภาพของสมาชิกคนนั้นสิ้นสุดลงตามข้อ
กล่าวหานั้น และรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบด้วย
- ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีคาสั่งให้พ้น
จากตาแหน่ง
50 การพ้นจากตาแหน่งตามมาตรานี้ ให้นามาตรา ๕๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
51 มาตรา ๒๕ ให้สภากรุงเทพมหานครเลือก
สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
เป็นประธานสภากรุงเทพมหานครคนหนึ่ง
โดยให้ดารงตาแหน่งทันทีที่ได้รับเลือก
52 รองประธานสภากรุงเทพมหานคร - ไม่เกินสองคน
- โดยให้ดารงตาแหน่งทันทีที่ได้รับเลือก
53 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศ
ชื่อประธานสภาและรองประธานสภา
กรุงเทพมหานครผู้ได้รับเลือก
ในราชกิจจานุเบกษา
54 ประธานสภาและรองประธานสภา
กรุงเทพมหานครดารงตาแหน่งตามวาระคราว
ละกี่ปี
- สองปี
55 มาตรา ๒๖ ประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานครพ้นจากตาแหน่งก่อนถึงวาระด้วยเหตุใดเหตุ
หนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) ขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
(๒) ลาออกจากตาแหน่ง โดยยื่นหนังสือลาออกต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และให้มีผลนับแต่วันถัด
จากวันที่ยื่นหนังสือลาออก
(๓) เมื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานครไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเข้าชื่อเสนอญัตติให้สภา
กรุงเทพมหานครมีการเลือกตั้งประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานครใหม่ และสภา
กรุงเทพมหานครมีมติตามนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจานวนสมาชิกทั้งหมด โดยให้พ้นจาก
ตาแหน่งเมื่อได้มีการเลือกตั้งประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้สภากรุงเทพมหานครเลือกประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานครคนใหม่
ขึ้นแทน แล้วแต่กรณี และให้ผู้ได้รับเลือกนั้นอยู่ในตาแหน่งตามวาระของผู้ซึ่งตนแทน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
39เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
56 มาตรา ๒๗ ประธานสภากรุงเทพมหานครมี
อานาจหน้าที่ดาเนินกิจการของสภา
กรุงเทพมหานครให้เป็นไปตาม
- ข้อบังคับของสภากรุงเทพมหานคร
57 รองประธานสภากรุงเทพมหานครมีอานาจ
หน้าที่
- กระทากิจการแทนประธานสภากรุงเทพมหานคร
- เมื่อประธานสภากรุงเทพมหานครไม่อยู่หรือไม่อาจ
ปฏิบัติหน้าที่ได้
- หรือตามที่ประธานสภากรุงเทพมหานครมอบหมาย
58 เมื่อประธานสภาและรองประธานสภา
กรุงเทพมหานครไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจ
ปฏิบัติหน้าที่ได้
- ให้สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเลือกสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานครคนหนึ่ง
- ทาหน้าที่ประธานเฉพาะในการประชุมคราวนั้น
59 มาตรา ๒๘ ให้มีเลขานุการประธานสภา
กรุงเทพมหานคร
- หนึ่งคน
60 เลขานุการรองประธานสภากรุงเทพมหานคร - ไม่เกินจานวนรองประธานสภากรุงเทพมหานคร
- โดยประธานสภากรุงเทพมหานครเป็นผู้แต่งตั้ง
61 มาตรา ๒๙ สภากรุงเทพมหานครมีอานาจ - ตราข้อบังคับเกี่ยวกับจรรยาบรรณของสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานคร
- ข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติ
หน้าที่ของประธานสภากรุงเทพมหานคร รอง
ประธานสภากรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการ
สามัญหรือวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร
- วิธีการประชุม
- การเสนอและพิจารณาร่างข้อบัญญัติ
- การเสนอญัตติ
- การปรึกษา การอภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้
ถาม การเปิดอภิปรายทั่วไป
- การรักษาระเบียบ และความเรียบร้อยของกิจการอื่น
อันเป็นหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานคร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
40เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
62 มาตรา ๓๐ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันเลือกตั้ง
สมาชิกสภากรุงเทพมหานครอันเป็นการ
เลือกตั้งทั่วไป
- ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเรียกประชุม
สภากรุงเทพมหานครเพื่อให้สมาชิกได้มาประชุมเป็น
ครั้งแรก
63 ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญของสภา
กรุงเทพมหานคร
- ไม่น้อยกว่าสองสมัย
- แต่ต้องไม่เกินสี่สมัย
-
64 จานวนสมัยประชุมสามัญและวันเริ่มสมัย
ประชุมสามัญประจาปีแต่ละสมัย
- ให้สภากรุงเทพมหานครกาหนด
65 สมัยประชุมสามัญของสภากรุงเทพมหานคร
สมัยหนึ่ง ๆ ให้มีกาหนดเวลา
- สามสิบวัน
66 แต่ถ้ามีกรณีจาเป็นให้ - ประธานสภากรุงเทพมหานคร
- สั่งขยายสมัยประชุมสามัญออกไปอีกได้ตามความ
จาเป็น
67 ประธานสภากรุงเทพมหานครสั่งขยายสมัย
ประชุมสามัญออกไปอีกครั้งละกี่วัน
- ไม่เกินสิบห้าวัน
68 การปิดสมัยประชุมสามัญก่อนครบ
กาหนดเวลาสามสิบวัน กระทาได้หรือไม่
- จะกระทาได้
- แต่โดยความเห็นชอบของสภากรุงเทพมหานคร
69 ให้ประธานสภากรุงเทพมหานคร - เป็นผู้เรียกประชุมสภากรุงเทพมหานครตามสมัย
ประชุม
- และเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม
70 มาตรา ๓๑ นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว
เมื่อมีกรณีเป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์ของ
กรุงเทพมหานคร
- ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
- หรือสมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีจานวนไม่น้อย
กว่าหนึ่งในสาม ของจานวนสมาชิกทั้งหมด
อาจทาคาร้องยื่นต่อประธานสภากรุงเทพมหานคร
- ขอให้เรียกประชุมสภากรุงเทพมหานครเป็นการ
ประชุมสมัยวิสามัญได้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
41เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
71 ให้ประธานสภากรุงเทพมหานครเรียกประชุม
โดยกาหนดวันประชุม
- ภายในสิบห้าวันนับแต่วันได้รับคาร้อง
72 สมัยประชุมวิสามัญให้มีกาหนดเวลา - สามสิบวัน
73 แต่ถ้ามีกรณีจาเป็นให้ประธานสภา
กรุงเทพมหานครสั่งขยายสมัยประชุมวิสามัญ
ออกไปอีกได้ตามความจาเป็นครั้งละกี่วัน
- ไม่เกินสิบห้าวัน
74 การปิดสมัยประชุมวิสามัญก่อนครบ
กาหนดเวลาสามสิบวัน
- จะกระทาได้แต่โดยความเห็นชอบของสภา
กรุงเทพมหานคร
75 มาตรา ๓๒ การประชุมสภากรุงเทพมหานคร
ทุกคราวต้องมีสมาชิกมาประชุม
- ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมด
จึงจะเป็นองค์ประชุม
76 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานคร และหรือผู้ที่ผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครมอบหมาย
- มีสิทธิเข้าประชุมสภากรุงเทพมหานคร
- และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับงานในหน้าที่ต่อที่ประชุม
- แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน
77 มาตรา ๓๓ การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษา - ให้ถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์
- เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในพระราชบัญญัตินี้
หรือในข้อบังคับการประชุมสภากรุงเทพมหานคร
78 สมาชิกสภากรุงเทพมหานครคนหนึ่ง - ให้มีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน
79 ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน - ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง
เป็นเสียงชี้ขาด
80 มาตรา ๓๔ ห้ามมิให้สภากรุงเทพมหานคร - ประชุมปรึกษาหารือในเรื่องนอกเหนืออานาจหน้าที่
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
42เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
81 มาตรา ๓๕ การประชุมของสภา
กรุงเทพมหานคร
- ย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่กาหนดใน
ข้อบังคับการประชุมสภากรุงเทพมหานคร
82 การประชุมลับของ ของสภากรุงเทพมหานคร
กระทาได้โดย
- ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
- หรือสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร จานวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจานวนสมาชิกทั้งหมด
- ร้องขอให้ประชุมลับ ก็ให้ประชุมลับ
83 มาตรา ๓๖ ในที่ประชุมสภากรุงเทพมหานคร
สมาชิกย่อมมีสิทธิ
- ตั้งกระทู้ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในเรื่องใด
ๆ อันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
84 แต่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครย่อมมีสิทธิที่ - จะไม่ตอบเมื่อเห็นว่าเรื่องนั้น ๆ ยังไม่ควรเปิดเผย
เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สาคัญของกรุงเทพมหานคร
85 มาตรา ๓๗ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
จานวนเท่าใด ถึงจะมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติ
ขอให้เปิดอภิปรายทั่วไป
- ไม่น้อยกว่าสองในห้า
ของจานวนสมาชิกทั้งหมด
การเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อ
วัตถุประสงค์ใด
- เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริง
- หรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาอันเกี่ยวกับการ
บริหารราชการกรุงเทพมหานคร
86 ญัตติดังกล่าวในวรรคหนึ่งให้ยื่นต่อ - ประธานสภากรุงเทพมหานคร
87 ประธานสภากรุงเทพมหานครแจ้งไปยัง
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อ
- เพื่อกาหนดวันเวลาสาหรับการเปิดอภิปรายทั่วไป
- ซึ่งต้องไม่ช้ากว่าสิบห้าวัน
นับแต่วันที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้รับแจ้ง
88 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรานี้ - สภากรุงเทพมหานคร
- จะลงมติในปัญหาที่อภิปรายมิได้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
43เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
89 มาตรา ๓๘ สภากรุงเทพมหานครมีอานาจ
เลือก
- สมาชิกสภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น
คณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพมหานคร
- เลือกบุคคลผู้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือ
มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น
คณะกรรมการวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร
90 คณะกรรมการสามัญของสภา
กรุงเทพมหานคร
คณะกรรมการวิสามัญของสภ
กรุงเทพมหานคร
มีหน้าที่
- กระทากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่อง
ใด ๆ อันอยู่ในอานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
- แล้วรายงานต่อสภากรุงเทพมหานคร
91 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อ - สมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือบุคคลผู้มิได้เป็น
สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
- ให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็นกรรมการใน
คณะกรรมการวิสามัญได้
92 จานวนกรรมการที่ผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอนั้นให้เป็นไป
ตามที่กาหนดใน
- ข้อบังคับของสภากรุงเทพมหานคร
93 มาตรา ๓๙ คณะกรรมการวิสามัญพิจารณา
ร่างข้อบัญญัติงบประมาณ
- ให้มีกรรมการจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของ
จานวนสมาชิกทั้งหมดของสภากรุงเทพมหานคร
94 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีสิทธิเสนอชื่อ
บุคคลผู้ที่เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกสภา
กรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้ง
เป็นกรรมการ
- ได้ไม่เกินหนึ่งในสามของจานวนกรรมการทั้งคณะ
95 มาตรา ๔๐ การประชุมคณะกรรมการตาม
มาตรา ๓๘ และมาตรา ๓๙ ต้องมีกรรมการ
มาประชุม
- ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมดจึง
จะเป็นองค์ประชุม
- และให้ใช้ข้อบังคับการประชุมสภากรุงเทพมหานคร
โดยอนุโลม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
44เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
96 มาตรา ๔๑ คณะกรรมการของสภา
กรุงเทพมหานครมีอานาจ
- เรียกเจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานครมาแถลง
ข้อเท็จจริง
- หรือแสดงความคิดเห็นในกิจการที่กระทาหรือใน
เรื่องที่พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาอยู่นั้นได้
- ทั้งนี้ จะกระทานอกสมัยประชุมของสภา
กรุงเทพมหานครก็ได้
97 ถ้ามีความจาเป็นคณะกรรมการแต่ละคณะ
อาจตั้ง
- คณะอนุกรรมการขึ้นพิจารณารายละเอียดในเรื่องที่
เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ
- แล้วเสนอรายงานต่อคณะกรรมการก็ได้
98 มาตรา ๔๒ คณะกรรมการสามัญของสภา
กรุงเทพมหานครให้มีวาระการปฏิบัติหน้าที่
คราวละ
- สองปี
99 คณะกรรมการวิสามัญตามมาตรา ๓๘ และ
มาตรา ๓๙ ให้สิ้นสภาพไป
- หลังจากที่ได้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
- และเสนอรายงานต่อสภากรุงเทพมหานครเรียบร้อย
แล้ว
100 มาตรา ๔๓ ให้ประธานสภากรุงเทพมหานคร
รองประธานสภากรุงเทพมหานคร และ
สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร รวมทั้ง
คณะกรรมการที่สภากรุงเทพมหานครตั้งขึ้น
หรือคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการตั้งขึ้น
- ได้รับเงินประจาตาแหน่ง
- เงินค่าเบี้ยประชุม
- และเงินตอบแทนอื่น
- ตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกาจากงบประมาณ
ของกรุงเทพมหานคร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
45เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
46เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สรุปสาระสาคัญ
พรบ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
ชื่อ พรบ. ให้ไว้ ณ ประกาศใช้วันที่
พรบ. ระเบียบข้าราชการ
กรุงเทพมหานครและบุคลากร
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔
(เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน)
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๒๘๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย บัญญัติให้การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการและลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ้นจากตาแหน่ง ต้อง
เป็นไปตามความเหมาะสมและความจาเป็นของแต่ละท้องถิ่น รวมทั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ข้าราชการส่วนท้องถิ่นซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนข้าราชการส่วนท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีจานวนเท่ากัน โดยการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นต้องมีองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมของข้าราชการส่วนท้องถิ่นเพื่อสร้างระบบคุ้มครองคุณธรรมและ
จริยธรรมในการบริหารงานบุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติประกอบกับในปัจจุบันได้มีการปรับปรุงระบบ
ตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งมีผลกระทบต่อการที่
กรุงเทพมหานครได้นากฎหมายดังกล่าวมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ดังนั้น เพื่อให้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยและสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน จึงจาเป็นต้องตรา
พระราชบัญญัตินี้
โครงสร้าง
หมวด ๑ คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
หมวด ๒ คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมกรุงเทพมหานคร
หมวด ๓ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป
ส่วนที่ ๒ การกาหนดตาแหน่ง การบรรจุ และการแต่งตั้ง
ส่วนที่ ๓ วินัยและการดาเนินการทางวินัย
ส่วนที่ ๔ การอุทธรณ์
ส่วนที่ ๕ การร้องทุกข์
หมวด ๔ การคุ้มครองระบบคุณธรรม
หมวด ๕ บุคลากรกรุงเทพมหานคร
บทเฉพาะกาล
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
47เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
1 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและ
บุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔”
2 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3 มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๒๘
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒
4 มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้าราชการกรุงเทพมหานคร” หมายความ
ว่า
- บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการ
โดยได้รับเงินเดือนจาก
- เงินงบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานคร
หรือ
จากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่
กรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานครนามาจัดเป็นเงินเดือน
ของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
5 ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ”
หมายความว่า
- ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งรับราชการในสังกัด
กรุงเทพมหานคร
แต่ไม่รวมถึง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษกรุงเทพมหานคร
และข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา
6 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
กรุงเทพมหานคร” หมายความว่า
(๑) ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้าน
การเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ หรือ
(๒) ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งดารงตาแหน่งผู้บริหาร
สถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และให้หมายความรวมถึง
ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งดารงตาแหน่งที่มีหน้าที่
ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการ
เรียนการสอน การนิเทศ การบริหาร การศึกษา และ
ปฏิบัติงานอื่น
- ในหน่วยงานการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ตามที่
คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและ
บุคลากรกรุงเทพมหานครกาหนด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
48เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
8 “ข้าราชการกรุงเทพมหานครใน
สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า
- ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งทาหน้าที่หลัก
ทางด้านการสอนและการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา
ตามที่คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและ
บุคลากรกรุงเทพมหานครกาหนด
9 “บุคลากรกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า - ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร
- และพนักงานกรุงเทพมหานคร
10 “ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า - บุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานของ
กรุงเทพมหานคร
- โดยได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณหมวดค่าจ้าง
ของกรุงเทพมหานคร
- หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของ
รัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานครและ
กรุงเทพมหานครนามาจัดเป็นค่าจ้างของลูกจ้าง
กรุงเทพมหานคร
11 พนักงานกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า - บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างโดยได้รับ
ค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณหมวดค่าตอบแทนของ
กรุงเทพมหานคร
12 “หน่วยงานการศึกษา” หมายความว่า ๑) สถานศึกษา
(๒) แหล่งการเรียนรู้ตามประกาศกรุงเทพมหานคร
(๓) ส่วนราชการอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร
13 สถานศึกษา” หมายความว่า - โรงเรียนหรือสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร
ที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร
14 สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า - สถาบันการศึกษาที่จัดการศึกษาระดับปริญญาของ
กรุงเทพมหานครตามประกาศกรุงเทพมหานคร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
49เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
10 มาตรา ๕ ในกรณีที่มีกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับใด ใช้บังคับเพื่อให้สวัสดิการหรือสิทธิ
ประโยชน์อื่นแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ
- ให้ใช้กฎหมาย ประกาศ ระเบียบหรือข้อบังคับนั้นแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครด้วย
โดยให้บรรดาคาว่า “ข้าราชการพลเรือน” หรือ “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หรือ
“ข้าราชการครู” หรือ “บุคลากรทางการศึกษา” หรือ “ข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา” ที่มีอยู่ในกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้น
- หมายความถึง“ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ” หรือ “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
กรุงเทพมหานคร”หรือ “ข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา” แล้วแต่กรณีด้วย
แต่ให้ใช้งบประมาณของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ เว้นแต่จะได้มีกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับอื่น
ใดบัญญัติไว้สาหรับข้าราชการกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะ
11 มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรี - รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
50เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๑
คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
8 มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง
เรียกว่า “
- คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร
และบุคลากรกรุงเทพมหานคร
9 คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร
และบุคลากรกรุงเทพมหานคร
เรียกโดยย่อว่าอะไร
- ก.ก.
10 คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ก.ก. ประกอบด้วย
(๑) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ
(๒) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนห้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการ ก.พ.
เลขาธิการ ก.พ.ร. เลขาธิการ ก.ค.ศ. และเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(๓) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนกรุงเทพมหานคร จานวนสี่คน ได้แก่ รองผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้แทนบุคลากร
กรุงเทพมหานครซึ่งคัดเลือกกันเองจานวนหนึ่งคน และหัวหน้าสานักงานคณะกรรมการข้าราชการ
กรุงเทพมหานคร
(๔) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครโดยข้าราชการกรุงเทพมหานครแต่ละประเภท
คัดเลือกกันเอง จานวนห้าคน ได้แก่
(ก) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จานวนสองคน
(ข) ผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จานวนสองคน
(ค) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา จานวนหนึ่งคน
(๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งกรรมการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) ประชุมร่วมกันคัดเลือกจากบุคคลซึ่งมี
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในด้านการบริหารงานส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหาร
ทรัพยากรบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา หรือด้านอื่น
ที่เป็นประโยชน์แก่การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จานวนห้าคน
- ให้รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นรองประธานกรรมการ
- และหัวหน้าสานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นเลขานุการ ก.ก.
- ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครดาเนินการให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร
กรุงเทพมหานครคัดเลือกกันเองเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้แทนกรุงเทพมหานคร
ในส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี
- หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคัดเลือกกรรมการตาม (๓) ในส่วนของผู้แทนบุคลากร
กรุงเทพมหานคร รวมทั้งกรรมการตาม (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ก.
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
51เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
11 มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปีบริบูรณ์
(๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๔) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่
ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๕) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา
(๖) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น
(๗) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
(๘) ไม่เป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือ
เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๙) ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร
12 มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและ
กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ
กรุงเทพมหานคร
มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละกี่ปี
- 4 ปี
13 เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง
หากยังมิได้มีการคัดเลือกกรรมการขึ้นใหม่
- ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ใน
ตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
- จนกว่ากรรมการซึ่งได้รับคัดเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่
14 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็น
ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งพ้นจาก
ตาแหน่งตามวาระ
- อาจได้รับคัดเลือกอีกได้
15 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหรือกรรมการ
ซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานคร
จะพ้นจากตาแหน่งตามวาระ
- ให้ดาเนินการคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิหรือกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ
กรุงเทพมหานครประเภทนั้นแทน
- ก่อนวันครบวาระภายในหกสิบวัน
16 มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่ง
ตามวาระ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
52เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
17 มาตรา ๑๑ นอกจากการพ้นจากตาแหน่ง
ตามวาระ กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ
กรุงเทพมหานครพ้นจากตาแหน่งเมื่อ
๑) ตาย
(๒) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๓) พ้นจากการเป็นข้าราชการประเภทที่ตนเป็นผู้แทน
18 มาตรา ๑๒ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
หรือกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ
กรุงเทพมหานครพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ
ให้ดาเนินการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
หรือกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ
ประเภทนั้นแทนภายในกี่วัน
- สามสิบวัน
- นับแต่วันที่กรรมการผู้นั้นพ้นจากตาแหน่ง
19 ให้ผู้ได้รับคัดเลือกแทนตาแหน่งที่ว่างอยู่ใน
ตาแหน่ง
- เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ
ซึ่งได้คัดเลือกไว้แล้ว
- เว้นแต่วาระของกรรมการผู้นั้นเหลือไม่ถึง
- หนึ่งร้อยแปดสิบวัน( 180 วัน) จะไม่ดาเนินการ
คัดเลือกกรรมการแทนก็ได้
20 ในระหว่างที่ยังมิได้ดาเนินการคัดเลือก
กรรมการแทนตาแหน่งที่ว่างตามวรรคหนึ่ง
และยังมีกรรมการเหลืออยู่เกินกึ่งหนึ่ง
- ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้
21 มาตรา ๑๓ ให้นาความในมาตรา ๙ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับผู้แทนกรุงเทพมหานครใน
ส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานครด้วยโดยอนุโลม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
53เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
22 มาตรา ๑๔ ก.ก. มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ให้คาแนะนาแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากร
บุคคล การจัดระบบราชการกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร
กรุงเทพมหานคร
(๒) ร่วมกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเสนอให้มีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๔๔
(๓) ออกกฎ ก.ก. ข้อบังคับ หรือระเบียบ เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานเกี่ยวกับการ
บริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่นที่พระราชบัญญัตินี้ให้
นามาใช้บังคับ กฎ ก.ก. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
(๔) ให้ความเห็นชอบการตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงสานัก หรือการแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานของ
กรุงเทพมหานคร
(๕) ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากาลังของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร
(๖) พิจารณาเทียบตาแหน่งและระดับตาแหน่งของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
(๗) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ ก.ก. มีมติเป็น
ประการใดแล้วให้กรุงเทพมหานครปฏิบัติตามนั้น
(๘) กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ
กรุงเทพมหานครเพื่อรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลรวมทั้งตรวจสอบ
และติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ ให้มีอานาจเรียกเอกสารและหลักฐานจากหน่วยงาน
และส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร และให้ผู้แทนหน่วยงานและส่วนราชการ
การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ข้าราชการกรุงเทพมหานครบุคลากรกรุงเทพมหานคร หรือ
บุคคลใด ๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริงได้
(๙) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การสอบคัดเลือก การคัดเลือกและการ
ขึ้นบัญชี รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบและการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ
(๑๐) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
(๑๑) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด และการ
ควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
(๑๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น
23 มาตรา ๑๕ ให้นาบทบัญญัติว่าด้วย
คณะกรรมการที่มีอานาจดาเนินการพิจารณา
ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง
- มาใช้บังคับแก่การประชุม ก.ก. โดยอนุโลม
- เว้นแต่กรณีตามมาตรา ๔๓ วรรคสอง
24 มาตรา ๑๖ ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ
ประจากรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า “
- อ.ก.ก.สามัญข้าราชการ”
25 อ.ก.ก.สามัญข้าราชการ” เป็นองค์กร - เป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคล
ของกรุงเทพมหานคร
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข

Contenu connexe

Tendances

แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)kidsana pajjaika
 

Tendances (9)

แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
 
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป กรุงเทพมหานคร (กทม)
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
ชุดที่18
ชุดที่18ชุดที่18
ชุดที่18
 

En vedette

หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1คน ขี้เล่า
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์imdnmu
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาRawiwan Promlee
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 

En vedette (20)

หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
 
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตรสอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสาร
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

Plus de ติวอินดี้ ง่ายโคตร

Plus de ติวอินดี้ ง่ายโคตร (6)

ขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
วิชาการศึกษา
วิชาการศึกษาวิชาการศึกษา
วิชาการศึกษา
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 

คู่มือสอบ กทม ภาคข

  • 1. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 29เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ตัวอย่าง เนื้อหา รายละเอียด ในหนังสือเล่มนี้ คู่มือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร ภาค ข ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ใช้กับทุกตาแหน่งที่สอบ
  • 2. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 30เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สรุปสาระสาคัญ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ โครงสร้าง หมวด ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร หมวด ๒ การบริหารกรุงเทพมหานคร ส่วนที่ ๑ สภากรุงเทพมหานคร ส่วนที่ ๒ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หมวด ๓ การจัดระเบียบราชการของกรุงเทพมหานคร ส่วนที่ ๑ ส่วนราชการของกรุงเทพมหานคร ส่วนที่ ๒ เขตและสภากรุงเทพ หมวด ๔ การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน หมวด ๕ อานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หมวด ๖ ข้อบัญญัติ หมวด ๗ การคลังและทรัพย์สินของกรุงเทพมหานคร หมวด ๘ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับกรุงเทพมหานคร บทเฉพาะกาล
  • 3. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 31เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 1 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ 2 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ - วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น ไป 3 มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๑๘ (๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๘ (๓) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๑๙ (๔) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๔ ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐ (๕) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๒ (๖) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๓ 4 มาตรา ๔ บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งอื่นใด อ้างถึงกรุงเทพมหานคร เขต แขวง จังหวัด อาเภอ ตาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล - ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย 5 กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคาสั่งนั้น อ้างถึง กรุงเทพมหานคร เขตหรือแขวง ตาม พระราชบัญญัตินี้ แล้วแต่กรณี - เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติ แห่งพระราชบัญญัตินี้ 6 มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย - รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
  • 4. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 32เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 7 มาตรา ๖ ให้กรุงเทพมหานครมีฐานะเป็น - นิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น - มีระเบียบการบริหารตามพระราชบัญญัตินี้ - มีอาณาเขตท้องที่ตามที่กรุงเทพมหานครมีอยู่ในวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ 8 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงอาณาเขตท้องที่ กรุงเทพมหานคร ให้ตราเป็น - พระราชบัญญัติ 9 มาตรา ๗ ให้แบ่งพื้นที่การบริหาร กรุงเทพมหานคร เป็นอย่างไร - เขตและแขวงตามพื้นที่เขตและแขวง - ที่มีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ 10 การตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตให้ กระทาโดย - ประกาศของกระทรวงมหาดไทย - และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 11 ในเขตหนึ่งถ้าเห็นสมควร อาจแบ่งพื้นที่การบริหารออกเป็นอะไรก็ได้ - แขวง 12 การตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงให้ทา เป็น - ประกาศของกรุงเทพมหานคร - และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 13 มาตรา ๘ บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดอ้างถึง เขตท้องที่จังหวัด ให้หมายถึงอะไร - กรุงเทพมหานคร 14 อ้างถึงเขตท้องที่อาเภอ ให้หมายถึงอะไร - เขต 15 อ้างถึงเขตท้องที่ตาบลให้หมายถึงอะไร - แขวง 16 อ้างถึงหัวหน้าเขตให้หมายถึงใคร - ผู้อานวยการเขตตามพระราชบัญญัตินี้
  • 5. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 33เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๒ การบริหารกรุงเทพมหานคร ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 17 มาตรา ๙ การบริหารกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ๑) สภากรุงเทพมหานคร (๒) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ส่วนที่ ๑ สภากรุงเทพมหานคร 18 มาตรา ๑๐ สภากรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย - สมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง - มีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๑ 19 มาตรา ๑๑ การเลือกตั้งสมาชิกสภา กรุงเทพมหานครจะกระทาได้ - เมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้มีการเลือกตั้ง แล้ว - ในพระราชกฤษฎีกานั้นให้ระบุวันเลือกตั้งและ ระยะเวลารับสมัครเลือกตั้ง 20 การกาหนดเขตเลือกตั้ง - ให้ถือเกณฑ์ราษฎรหนึ่งแสนคนเป็นประมาณ 21 โดยพยายามจัดให้แต่ละเขตเลือกตั้งมีจานวน ราษฎรใกล้เคียงกันเท่าที่จะเป็นไปได้ - แต่ต้องไม่เป็นการนาเอาพื้นที่ของเขตหนึ่งไปรวมกับ เขตอื่นหรือนาพื้นที่เพียงบางส่วนของแขวงหนึ่งไป รวมกับแขวงอื่น 22 ในเขตเลือกตั้งหนึ่งให้มีสมาชิกสภา กรุงเทพมหานครได้ กี่คน - 1 คน 23 ถ้าเขตใดมีจานวนราษฎรไม่พอที่จะจัดให้เป็น หนึ่งเขตเลือกตั้ง - ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครในเขต นั้นหนึ่งคน - และให้ถือเป็นเขตเลือกตั้งหนึ่ง 24 การกาหนดเขตเลือกตั้งให้คานวณตามเกณฑ์ จานวนราษฎรตามสิ่งใด - หลักฐานการทะเบียนราษฎรที่กระทรวงมหาดไทย - -ประกาศครั้งสุดท้ายก่อนวันประกาศพระราช กฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร - และให้ทาเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย 25 หลักเกณฑ์และวิธีการของการกาหนดเขต เลือกตั้ง - จานวนแตกต่างของราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง 26 วิธีการเลือกตั้งให้เป็นไปตาม - กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
  • 6. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 34เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 27 มาตรา ๑๒ บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ๑) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้ว ไม่น้อยกว่าห้าปี (๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑ มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง และ (๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน 28 มาตรา ๑๓ บุคคลผู้มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้งเป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร คือ (๑) วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (๒) (ยกเลิก) (๓) ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (๔) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย (๕) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 29 มาตรา ๑๔ ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (๒) อายุไม่ต่ากว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง และ (๓) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานครเป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อย แปดสิบวัน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร และได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษี โรงเรือนและที่ดิน หรือตามกฎหมายว่าด้วยภาษีบารุงท้องที่ให้กรุงเทพมหานครในปีที่สมัครหรือปีก่อนที่สมัคร หนึ่งปี 30 มาตรา ๑๕ (ยกเลิก)
  • 7. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 35เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 31 มาตรา ๑๖ บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร คือ (๑) ติดยาเสพติดให้โทษ (๒) เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี (๓) เป็นบุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งตามมาตรา ๑๓ (๑) (๓) หรือ (๕) (๔) ต้องคาพิพากษาให้จาคุก และถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล (๕) เคยต้องคาพิพากษาให้จาคุกตั้งแต่สองปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ ความผิดอันได้กระทาโดยประมาท (๖) (ยกเลิก) (๗) เป็นสมาชิกสภาซึ่งมีหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้บริหาร ท้องถิ่น (๘) เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาซึ่งมีหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหาร ท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (๙) เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา (๑๐) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น (๑๑) เป็นบุคคลซึ่งทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจไล่ออก ปลดออก ให้ออกหรือเลิกจ้างเพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทาการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (๑๒) เป็นผู้ถูกถอดถอนให้ออกจากตาแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครถึงวันสมัครรับเลือกตั้งยังไม่ครบสี่ปี (๑๓) เป็นผู้ถูกให้ออกจากตาแหน่งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครตามมาตรา ๒๓ (๘) ถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง ยังไม่ครบสี่ปี (๑๔) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือมี ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 32 มาตรา ๑๗ อายุของสภากรุงเทพมหานครมี กาหนดคราวละกี่ปี - สี่ปี นับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร 33 เมื่ออายุของสภากรุงเทพมหานครสิ้นสุดลง ให้ จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ขึ้นใหม่ - เป็นการเลือกตั้งทั่วไป 34 เมื่ออายุสภาสิ้นสุดลงต้องกาหนดวันเลือกตั้ง ภายในกี่วัน - 60 วันนับแต่วันที่อายุของสภากรุงเทพมหานคร สิ้นสุดลง 35 วันเลือกตั้งนั้นต้องกาหนดเป็น - วันเดียวกัน - ทั่วกรุงเทพมหานคร
  • 8. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 36เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 36 มาตรา ๑๘ ในกรณีที่การดาเนินงานของผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานครและสภา กรุงเทพมหานคร ขัดแย้งกันจนอาจก่อให้เกิด ความเสียหายแก่กรุงเทพมหานคร หรือแก่ ราชการโดยส่วนรวม - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอาจยื่นข้อเสนอพร้อม ด้วยเหตุผล - ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้ยุบสภา กรุงเทพมหานคร - เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ใหม่ได้ 37 ถ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไม่ ประกาศยุบสภากรุงเทพมหานครภายในสิบห้า วันนับแต่วันที่ได้รับข้อเสนอให้ยุบสภา กรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอาจยื่นข้อเสนอทบทวน ให้พิจารณาใหม่ได้อีกครั้งหนึ่ง - ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยได้รับข้อเสนอตามวรรคหนึ่ง 38 ในการนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจะ เห็นควรให้ยุบสภากรุงเทพมหานครตาม ข้อเสนอทบทวนหรือไม่ก็ได้ - แต่ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับข้อเสนอทบทวนดังกล่าว 39 ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจะเสนอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้สั่งยุบ สภากรุงเทพมหานครในเหตุการณ์เดียวกันอีก ให้กระทาได้เมื่อ - พ้นกาหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ครบกาหนดสามสิบ วันที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้รับ ข้อเสนอทบทวนตามวรรคสอง 40 มาตรา ๑๙ ถ้าปรากฏว่าการดาเนินงานของ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภา กรุงเทพมหานครขัดแย้งกัน หรือการ ดาเนินงานของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และสภากรุงเทพมหานครเป็นไปในทางที่ไม่ ถูกต้อง จนอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ กรุงเทพมหานคร หรือแก่ราชการโดยส่วนรวม และการแก้ไขสภาพเช่นนั้นไม่อาจกระทาได้ โดยเหมาะสมด้วยวิธีการอื่นนอกจากการยุบ สภากรุงเทพมหานคร - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยอนุมัติ คณะรัฐมนตรีอาจให้ยุบสภากรุงเทพมหานครเพื่อให้ มีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครใหม่ได้ 41 มาตรา ๒๐ การยุบสภากรุงเทพมหานครตาม มาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ และการที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไม่เห็นชอบ ด้วยกับข้อเสนอทบทวนของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครตามมาตรา ๑๘ วรรคสาม - ให้ทาเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทยพร้อมกับแสดง เหตุผลโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • 9. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 37เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 42 มาตรา ๒๑ สมาชิกภาพของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร - เริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้งและอยู่ในตาแหน่งตามอายุของ สภากรุงเทพมหานคร 43 เมื่อตาแหน่งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครว่าง ลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตาม อายุของสภากรุงเทพมหานครหรือมีการยุบ สภากรุงเทพมหานคร ให้มีการเลือกตั้งสมาชิก สภากรุงเทพมหานครภายในกาหนดเวลา - เก้าสิบวัน - เว้นแต่อายุของสภากรุงเทพมหานครจะเหลือไม่ถึง หนึ่งร้อยแปดสิบวัน 44 สมาชิกสภากรุงเทพมหานครผู้เข้ามาแทนนั้น ให้อยู่ในตาแหน่ง - ได้เพียงเท่าอายุของสภากรุงเทพมหานครที่เหลืออยู่ 45 มาตรา ๒๒ สมาชิกสภากรุงเทพมหานครต้อง ไม่ดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่อื่นใด - ในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ - หรือการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานคร - หรือบริษัทซึ่งกรุงเทพมหานครถือหุ้น - หรือตาแหน่งผู้บริหารท้องถิ่นหรือพนักงานส่วน ท้องถิ่น 46 มาตรา ๒๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสิ้นสุดลงด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้ (๑) ถึงคราวออกตามอายุของสภากรุงเทพมหานครหรือมีการยุบสภากรุงเทพมหานคร (๒) ตาย (๓) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานสภากรุงเทพมหานครและให้มีผลนับแต่วันถัดจากวันยื่นหนังสือ ลาออก (๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๔ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖ เว้นแต่กรณีตามมาตรา ๑๖ (๔) (๕) กระทาการอันต้องห้ามตามมาตรา ๒๒ (๖) ถูกจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ความผิดอันได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) ขาดการประชุมสภากรุงเทพมหานครตลอดสมัยประชุมที่มีกาหนดเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากประธานสภากรุงเทพมหานคร (๘) สภากรุงเทพมหานครวินิจฉัยให้ออก เพราะเห็นว่าได้กระทาการอันเป็นการเสื่อมเสียแก่เกียรติศักดิ์ของ ตาแหน่ง มติของสภากรุงเทพมหานครในข้อนี้ต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวนสมาชิก ทั้งหมดของสภากรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่สภากรุงเทพมหานครลงมติ (๙) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานครได้ลงคะแนนเสียงให้พ้นจากตาแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยการ ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น และถ้าสมาชิกภาพของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานครสิ้นสุดลงพร้อมกันทั้งหมดเพราะเหตุดังกล่าว ให้ถือว่าเป็นการยุบสภากรุงเทพมหานคร 47 ในกรณีตาม (๘) ให้กระทาเมื่อ - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยร้องขอ - หรือเมื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานครไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเข้าชื่อเสนอเป็น ญัตติให้สภากรุงเทพมหานครพิจารณา
  • 10. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 38เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 48 มาตรา ๒๔ ในกรณีที่มีข้อกล่าวหาว่าสมาชิก ภาพของสมาชิกสภากรุงเทพมหานครสิ้นสุดลง เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา ๒๓ (๔) (๕) หรือ (๗) - ให้ประธานสภากรุงเทพมหานครดาเนินการสอบสวน 49 ถ้าประธานสภากรุงเทพมหานครรายงานว่า สมาชิกภาพของสมาชิกคนนั้นสิ้นสุดลงตามข้อ กล่าวหานั้น และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบด้วย - ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีคาสั่งให้พ้น จากตาแหน่ง 50 การพ้นจากตาแหน่งตามมาตรานี้ ให้นามาตรา ๕๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 51 มาตรา ๒๕ ให้สภากรุงเทพมหานครเลือก สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เป็นประธานสภากรุงเทพมหานครคนหนึ่ง โดยให้ดารงตาแหน่งทันทีที่ได้รับเลือก 52 รองประธานสภากรุงเทพมหานคร - ไม่เกินสองคน - โดยให้ดารงตาแหน่งทันทีที่ได้รับเลือก 53 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศ ชื่อประธานสภาและรองประธานสภา กรุงเทพมหานครผู้ได้รับเลือก ในราชกิจจานุเบกษา 54 ประธานสภาและรองประธานสภา กรุงเทพมหานครดารงตาแหน่งตามวาระคราว ละกี่ปี - สองปี 55 มาตรา ๒๖ ประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานครพ้นจากตาแหน่งก่อนถึงวาระด้วยเหตุใดเหตุ หนึ่งดังต่อไปนี้ (๑) ขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (๒) ลาออกจากตาแหน่ง โดยยื่นหนังสือลาออกต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และให้มีผลนับแต่วันถัด จากวันที่ยื่นหนังสือลาออก (๓) เมื่อสมาชิกสภากรุงเทพมหานครไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเข้าชื่อเสนอญัตติให้สภา กรุงเทพมหานครมีการเลือกตั้งประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานครใหม่ และสภา กรุงเทพมหานครมีมติตามนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจานวนสมาชิกทั้งหมด โดยให้พ้นจาก ตาแหน่งเมื่อได้มีการเลือกตั้งประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้สภากรุงเทพมหานครเลือกประธานสภาหรือรองประธานสภากรุงเทพมหานครคนใหม่ ขึ้นแทน แล้วแต่กรณี และให้ผู้ได้รับเลือกนั้นอยู่ในตาแหน่งตามวาระของผู้ซึ่งตนแทน
  • 11. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 39เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 56 มาตรา ๒๗ ประธานสภากรุงเทพมหานครมี อานาจหน้าที่ดาเนินกิจการของสภา กรุงเทพมหานครให้เป็นไปตาม - ข้อบังคับของสภากรุงเทพมหานคร 57 รองประธานสภากรุงเทพมหานครมีอานาจ หน้าที่ - กระทากิจการแทนประธานสภากรุงเทพมหานคร - เมื่อประธานสภากรุงเทพมหานครไม่อยู่หรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ - หรือตามที่ประธานสภากรุงเทพมหานครมอบหมาย 58 เมื่อประธานสภาและรองประธานสภา กรุงเทพมหานครไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ - ให้สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเลือกสมาชิกสภา กรุงเทพมหานครคนหนึ่ง - ทาหน้าที่ประธานเฉพาะในการประชุมคราวนั้น 59 มาตรา ๒๘ ให้มีเลขานุการประธานสภา กรุงเทพมหานคร - หนึ่งคน 60 เลขานุการรองประธานสภากรุงเทพมหานคร - ไม่เกินจานวนรองประธานสภากรุงเทพมหานคร - โดยประธานสภากรุงเทพมหานครเป็นผู้แต่งตั้ง 61 มาตรา ๒๙ สภากรุงเทพมหานครมีอานาจ - ตราข้อบังคับเกี่ยวกับจรรยาบรรณของสมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร - ข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติ หน้าที่ของประธานสภากรุงเทพมหานคร รอง ประธานสภากรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการ สามัญหรือวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร - วิธีการประชุม - การเสนอและพิจารณาร่างข้อบัญญัติ - การเสนอญัตติ - การปรึกษา การอภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ ถาม การเปิดอภิปรายทั่วไป - การรักษาระเบียบ และความเรียบร้อยของกิจการอื่น อันเป็นหน้าที่ของสภากรุงเทพมหานคร
  • 12. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 40เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 62 มาตรา ๓๐ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภากรุงเทพมหานครอันเป็นการ เลือกตั้งทั่วไป - ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเรียกประชุม สภากรุงเทพมหานครเพื่อให้สมาชิกได้มาประชุมเป็น ครั้งแรก 63 ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญของสภา กรุงเทพมหานคร - ไม่น้อยกว่าสองสมัย - แต่ต้องไม่เกินสี่สมัย - 64 จานวนสมัยประชุมสามัญและวันเริ่มสมัย ประชุมสามัญประจาปีแต่ละสมัย - ให้สภากรุงเทพมหานครกาหนด 65 สมัยประชุมสามัญของสภากรุงเทพมหานคร สมัยหนึ่ง ๆ ให้มีกาหนดเวลา - สามสิบวัน 66 แต่ถ้ามีกรณีจาเป็นให้ - ประธานสภากรุงเทพมหานคร - สั่งขยายสมัยประชุมสามัญออกไปอีกได้ตามความ จาเป็น 67 ประธานสภากรุงเทพมหานครสั่งขยายสมัย ประชุมสามัญออกไปอีกครั้งละกี่วัน - ไม่เกินสิบห้าวัน 68 การปิดสมัยประชุมสามัญก่อนครบ กาหนดเวลาสามสิบวัน กระทาได้หรือไม่ - จะกระทาได้ - แต่โดยความเห็นชอบของสภากรุงเทพมหานคร 69 ให้ประธานสภากรุงเทพมหานคร - เป็นผู้เรียกประชุมสภากรุงเทพมหานครตามสมัย ประชุม - และเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม 70 มาตรา ๓๑ นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อมีกรณีเป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์ของ กรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร - หรือสมาชิกสภากรุงเทพมหานครมีจานวนไม่น้อย กว่าหนึ่งในสาม ของจานวนสมาชิกทั้งหมด อาจทาคาร้องยื่นต่อประธานสภากรุงเทพมหานคร - ขอให้เรียกประชุมสภากรุงเทพมหานครเป็นการ ประชุมสมัยวิสามัญได้
  • 13. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 41เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 71 ให้ประธานสภากรุงเทพมหานครเรียกประชุม โดยกาหนดวันประชุม - ภายในสิบห้าวันนับแต่วันได้รับคาร้อง 72 สมัยประชุมวิสามัญให้มีกาหนดเวลา - สามสิบวัน 73 แต่ถ้ามีกรณีจาเป็นให้ประธานสภา กรุงเทพมหานครสั่งขยายสมัยประชุมวิสามัญ ออกไปอีกได้ตามความจาเป็นครั้งละกี่วัน - ไม่เกินสิบห้าวัน 74 การปิดสมัยประชุมวิสามัญก่อนครบ กาหนดเวลาสามสิบวัน - จะกระทาได้แต่โดยความเห็นชอบของสภา กรุงเทพมหานคร 75 มาตรา ๓๒ การประชุมสภากรุงเทพมหานคร ทุกคราวต้องมีสมาชิกมาประชุม - ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม 76 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร และหรือผู้ที่ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครมอบหมาย - มีสิทธิเข้าประชุมสภากรุงเทพมหานคร - และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับงานในหน้าที่ต่อที่ประชุม - แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน 77 มาตรา ๓๓ การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษา - ให้ถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ - เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในพระราชบัญญัตินี้ หรือในข้อบังคับการประชุมสภากรุงเทพมหานคร 78 สมาชิกสภากรุงเทพมหานครคนหนึ่ง - ให้มีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน 79 ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน - ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง เป็นเสียงชี้ขาด 80 มาตรา ๓๔ ห้ามมิให้สภากรุงเทพมหานคร - ประชุมปรึกษาหารือในเรื่องนอกเหนืออานาจหน้าที่
  • 14. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 42เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 81 มาตรา ๓๕ การประชุมของสภา กรุงเทพมหานคร - ย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่กาหนดใน ข้อบังคับการประชุมสภากรุงเทพมหานคร 82 การประชุมลับของ ของสภากรุงเทพมหานคร กระทาได้โดย - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร - หรือสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร จานวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจานวนสมาชิกทั้งหมด - ร้องขอให้ประชุมลับ ก็ให้ประชุมลับ 83 มาตรา ๓๖ ในที่ประชุมสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกย่อมมีสิทธิ - ตั้งกระทู้ถามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร 84 แต่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครย่อมมีสิทธิที่ - จะไม่ตอบเมื่อเห็นว่าเรื่องนั้น ๆ ยังไม่ควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์สาคัญของกรุงเทพมหานคร 85 มาตรา ๓๗ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร จานวนเท่าใด ถึงจะมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติ ขอให้เปิดอภิปรายทั่วไป - ไม่น้อยกว่าสองในห้า ของจานวนสมาชิกทั้งหมด การเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อ วัตถุประสงค์ใด - เพื่อให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแถลงข้อเท็จจริง - หรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาอันเกี่ยวกับการ บริหารราชการกรุงเทพมหานคร 86 ญัตติดังกล่าวในวรรคหนึ่งให้ยื่นต่อ - ประธานสภากรุงเทพมหานคร 87 ประธานสภากรุงเทพมหานครแจ้งไปยัง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อ - เพื่อกาหนดวันเวลาสาหรับการเปิดอภิปรายทั่วไป - ซึ่งต้องไม่ช้ากว่าสิบห้าวัน นับแต่วันที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้รับแจ้ง 88 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรานี้ - สภากรุงเทพมหานคร - จะลงมติในปัญหาที่อภิปรายมิได้
  • 15. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 43เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 89 มาตรา ๓๘ สภากรุงเทพมหานครมีอานาจ เลือก - สมาชิกสภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น คณะกรรมการสามัญของสภากรุงเทพมหานคร - เลือกบุคคลผู้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือ มิได้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานครตั้งเป็น คณะกรรมการวิสามัญของสภากรุงเทพมหานคร 90 คณะกรรมการสามัญของสภา กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการวิสามัญของสภ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ - กระทากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่อง ใด ๆ อันอยู่ในอานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร - แล้วรายงานต่อสภากรุงเทพมหานคร 91 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอชื่อ - สมาชิกสภากรุงเทพมหานครหรือบุคคลผู้มิได้เป็น สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร - ให้สภากรุงเทพมหานครตั้งเป็นกรรมการใน คณะกรรมการวิสามัญได้ 92 จานวนกรรมการที่ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครมีสิทธิเสนอนั้นให้เป็นไป ตามที่กาหนดใน - ข้อบังคับของสภากรุงเทพมหานคร 93 มาตรา ๓๙ คณะกรรมการวิสามัญพิจารณา ร่างข้อบัญญัติงบประมาณ - ให้มีกรรมการจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของ จานวนสมาชิกทั้งหมดของสภากรุงเทพมหานคร 94 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีสิทธิเสนอชื่อ บุคคลผู้ที่เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกสภา กรุงเทพมหานครให้สภากรุงเทพมหานครตั้ง เป็นกรรมการ - ได้ไม่เกินหนึ่งในสามของจานวนกรรมการทั้งคณะ 95 มาตรา ๔๐ การประชุมคณะกรรมการตาม มาตรา ๓๘ และมาตรา ๓๙ ต้องมีกรรมการ มาประชุม - ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมดจึง จะเป็นองค์ประชุม - และให้ใช้ข้อบังคับการประชุมสภากรุงเทพมหานคร โดยอนุโลม
  • 16. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 44เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 96 มาตรา ๔๑ คณะกรรมการของสภา กรุงเทพมหานครมีอานาจ - เรียกเจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานครมาแถลง ข้อเท็จจริง - หรือแสดงความคิดเห็นในกิจการที่กระทาหรือใน เรื่องที่พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาอยู่นั้นได้ - ทั้งนี้ จะกระทานอกสมัยประชุมของสภา กรุงเทพมหานครก็ได้ 97 ถ้ามีความจาเป็นคณะกรรมการแต่ละคณะ อาจตั้ง - คณะอนุกรรมการขึ้นพิจารณารายละเอียดในเรื่องที่ เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ - แล้วเสนอรายงานต่อคณะกรรมการก็ได้ 98 มาตรา ๔๒ คณะกรรมการสามัญของสภา กรุงเทพมหานครให้มีวาระการปฏิบัติหน้าที่ คราวละ - สองปี 99 คณะกรรมการวิสามัญตามมาตรา ๓๘ และ มาตรา ๓๙ ให้สิ้นสภาพไป - หลังจากที่ได้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย - และเสนอรายงานต่อสภากรุงเทพมหานครเรียบร้อย แล้ว 100 มาตรา ๔๓ ให้ประธานสภากรุงเทพมหานคร รองประธานสภากรุงเทพมหานคร และ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร รวมทั้ง คณะกรรมการที่สภากรุงเทพมหานครตั้งขึ้น หรือคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการตั้งขึ้น - ได้รับเงินประจาตาแหน่ง - เงินค่าเบี้ยประชุม - และเงินตอบแทนอื่น - ตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกาจากงบประมาณ ของกรุงเทพมหานคร
  • 18. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 46เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สรุปสาระสาคัญ พรบ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ ชื่อ พรบ. ให้ไว้ ณ ประกาศใช้วันที่ พรบ. ระเบียบข้าราชการ กรุงเทพมหานครและบุคลากร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ (เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน) ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๒๘๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย บัญญัติให้การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการและลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ้นจากตาแหน่ง ต้อง เป็นไปตามความเหมาะสมและความจาเป็นของแต่ละท้องถิ่น รวมทั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนข้าราชการส่วนท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีจานวนเท่ากัน โดยการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นต้องมีองค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมของข้าราชการส่วนท้องถิ่นเพื่อสร้างระบบคุ้มครองคุณธรรมและ จริยธรรมในการบริหารงานบุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติประกอบกับในปัจจุบันได้มีการปรับปรุงระบบ ตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งมีผลกระทบต่อการที่ กรุงเทพมหานครได้นากฎหมายดังกล่าวมาใช้บังคับโดยอนุโลม ดังนั้น เพื่อให้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยและสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้ โครงสร้าง หมวด ๑ คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร หมวด ๒ คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมกรุงเทพมหานคร หมวด ๓ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ส่วนที่ ๒ การกาหนดตาแหน่ง การบรรจุ และการแต่งตั้ง ส่วนที่ ๓ วินัยและการดาเนินการทางวินัย ส่วนที่ ๔ การอุทธรณ์ ส่วนที่ ๕ การร้องทุกข์ หมวด ๔ การคุ้มครองระบบคุณธรรม หมวด ๕ บุคลากรกรุงเทพมหานคร บทเฉพาะกาล
  • 19. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 47เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 1 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและ บุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔” 2 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 3 มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ (๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒ 4 มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ข้าราชการกรุงเทพมหานคร” หมายความ ว่า - บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการ โดยได้รับเงินเดือนจาก - เงินงบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานคร หรือ จากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่ กรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานครนามาจัดเป็นเงินเดือน ของข้าราชการกรุงเทพมหานคร 5 ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ” หมายความว่า - ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งรับราชการในสังกัด กรุงเทพมหานคร แต่ไม่รวมถึง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษกรุงเทพมหานคร และข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา 6 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร” หมายความว่า (๑) ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้าน การเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ หรือ (๒) ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งดารงตาแหน่งผู้บริหาร สถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และให้หมายความรวมถึง ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งดารงตาแหน่งที่มีหน้าที่ ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการ เรียนการสอน การนิเทศ การบริหาร การศึกษา และ ปฏิบัติงานอื่น - ในหน่วยงานการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ตามที่ คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและ บุคลากรกรุงเทพมหานครกาหนด
  • 20. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 48เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 8 “ข้าราชการกรุงเทพมหานครใน สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า - ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งทาหน้าที่หลัก ทางด้านการสอนและการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา ตามที่คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและ บุคลากรกรุงเทพมหานครกาหนด 9 “บุคลากรกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า - ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร - และพนักงานกรุงเทพมหานคร 10 “ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า - บุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานของ กรุงเทพมหานคร - โดยได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณหมวดค่าจ้าง ของกรุงเทพมหานคร - หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของ รัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานครและ กรุงเทพมหานครนามาจัดเป็นค่าจ้างของลูกจ้าง กรุงเทพมหานคร 11 พนักงานกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า - บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างโดยได้รับ ค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณหมวดค่าตอบแทนของ กรุงเทพมหานคร 12 “หน่วยงานการศึกษา” หมายความว่า ๑) สถานศึกษา (๒) แหล่งการเรียนรู้ตามประกาศกรุงเทพมหานคร (๓) ส่วนราชการอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร 13 สถานศึกษา” หมายความว่า - โรงเรียนหรือสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร ที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร 14 สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า - สถาบันการศึกษาที่จัดการศึกษาระดับปริญญาของ กรุงเทพมหานครตามประกาศกรุงเทพมหานคร
  • 21. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 49เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 10 มาตรา ๕ ในกรณีที่มีกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับใด ใช้บังคับเพื่อให้สวัสดิการหรือสิทธิ ประโยชน์อื่นแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ - ให้ใช้กฎหมาย ประกาศ ระเบียบหรือข้อบังคับนั้นแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครด้วย โดยให้บรรดาคาว่า “ข้าราชการพลเรือน” หรือ “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หรือ “ข้าราชการครู” หรือ “บุคลากรทางการศึกษา” หรือ “ข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา” ที่มีอยู่ในกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้น - หมายความถึง“ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ” หรือ “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร”หรือ “ข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา” แล้วแต่กรณีด้วย แต่ให้ใช้งบประมาณของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ เว้นแต่จะได้มีกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับอื่น ใดบัญญัติไว้สาหรับข้าราชการกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะ 11 มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรี - รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
  • 22. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 50เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๑ คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 8 มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “ - คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร 9 คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่าอะไร - ก.ก. 10 คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ก.ก. ประกอบด้วย (๑) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนห้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ ก.พ.ร. เลขาธิการ ก.ค.ศ. และเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๓) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนกรุงเทพมหานคร จานวนสี่คน ได้แก่ รองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้แทนบุคลากร กรุงเทพมหานครซึ่งคัดเลือกกันเองจานวนหนึ่งคน และหัวหน้าสานักงานคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร (๔) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครโดยข้าราชการกรุงเทพมหานครแต่ละประเภท คัดเลือกกันเอง จานวนห้าคน ได้แก่ (ก) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จานวนสองคน (ข) ผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จานวนสองคน (ค) ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา จานวนหนึ่งคน (๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งกรรมการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) ประชุมร่วมกันคัดเลือกจากบุคคลซึ่งมี ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในด้านการบริหารงานส่วนท้องถิ่น ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา หรือด้านอื่น ที่เป็นประโยชน์แก่การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จานวนห้าคน - ให้รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นรองประธานกรรมการ - และหัวหน้าสานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครเป็นเลขานุการ ก.ก. - ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครดาเนินการให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร กรุงเทพมหานครคัดเลือกกันเองเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้แทนกรุงเทพมหานคร ในส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี - หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคัดเลือกกรรมการตาม (๓) ในส่วนของผู้แทนบุคลากร กรุงเทพมหานคร รวมทั้งกรรมการตาม (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ก.
  • 23. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 51เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 11 มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปีบริบูรณ์ (๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๔) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๕) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา (๖) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (๗) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง (๘) ไม่เป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือ เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (๙) ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร 12 มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและ กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ กรุงเทพมหานคร มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละกี่ปี - 4 ปี 13 เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการคัดเลือกกรรมการขึ้นใหม่ - ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ใน ตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป - จนกว่ากรรมการซึ่งได้รับคัดเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่ 14 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็น ผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งพ้นจาก ตาแหน่งตามวาระ - อาจได้รับคัดเลือกอีกได้ 15 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหรือกรรมการ ซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานคร จะพ้นจากตาแหน่งตามวาระ - ให้ดาเนินการคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิหรือกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ กรุงเทพมหานครประเภทนั้นแทน - ก่อนวันครบวาระภายในหกสิบวัน 16 มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่ง ตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ ๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘
  • 24. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 52เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 17 มาตรา ๑๑ นอกจากการพ้นจากตาแหน่ง ตามวาระ กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ กรุงเทพมหานครพ้นจากตาแหน่งเมื่อ ๑) ตาย (๒) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ (๓) พ้นจากการเป็นข้าราชการประเภทที่ตนเป็นผู้แทน 18 มาตรา ๑๒ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ หรือกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ กรุงเทพมหานครพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้ดาเนินการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ หรือกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการ ประเภทนั้นแทนภายในกี่วัน - สามสิบวัน - นับแต่วันที่กรรมการผู้นั้นพ้นจากตาแหน่ง 19 ให้ผู้ได้รับคัดเลือกแทนตาแหน่งที่ว่างอยู่ใน ตาแหน่ง - เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ ซึ่งได้คัดเลือกไว้แล้ว - เว้นแต่วาระของกรรมการผู้นั้นเหลือไม่ถึง - หนึ่งร้อยแปดสิบวัน( 180 วัน) จะไม่ดาเนินการ คัดเลือกกรรมการแทนก็ได้ 20 ในระหว่างที่ยังมิได้ดาเนินการคัดเลือก กรรมการแทนตาแหน่งที่ว่างตามวรรคหนึ่ง และยังมีกรรมการเหลืออยู่เกินกึ่งหนึ่ง - ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ 21 มาตรา ๑๓ ให้นาความในมาตรา ๙ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับผู้แทนกรุงเทพมหานครใน ส่วนของผู้แทนบุคลากรกรุงเทพมหานครด้วยโดยอนุโลม
  • 25. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 53เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 22 มาตรา ๑๔ ก.ก. มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ให้คาแนะนาแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากร บุคคล การจัดระบบราชการกรุงเทพมหานคร และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร กรุงเทพมหานคร (๒) ร่วมกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเสนอให้มีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๔๔ (๓) ออกกฎ ก.ก. ข้อบังคับ หรือระเบียบ เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานเกี่ยวกับการ บริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่นที่พระราชบัญญัตินี้ให้ นามาใช้บังคับ กฎ ก.ก. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ (๔) ให้ความเห็นชอบการตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงสานัก หรือการแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานของ กรุงเทพมหานคร (๕) ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากาลังของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร (๖) พิจารณาเทียบตาแหน่งและระดับตาแหน่งของข้าราชการกรุงเทพมหานคร (๗) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ ก.ก. มีมติเป็น ประการใดแล้วให้กรุงเทพมหานครปฏิบัติตามนั้น (๘) กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ กรุงเทพมหานครเพื่อรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลรวมทั้งตรวจสอบ และติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ ให้มีอานาจเรียกเอกสารและหลักฐานจากหน่วยงาน และส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร และให้ผู้แทนหน่วยงานและส่วนราชการ การพาณิชย์หรือสหการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ข้าราชการกรุงเทพมหานครบุคลากรกรุงเทพมหานคร หรือ บุคคลใด ๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริงได้ (๙) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การสอบคัดเลือก การคัดเลือกและการ ขึ้นบัญชี รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบและการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ (๑๐) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (๑๑) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด และการ ควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร (๑๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น 23 มาตรา ๑๕ ให้นาบทบัญญัติว่าด้วย คณะกรรมการที่มีอานาจดาเนินการพิจารณา ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง - มาใช้บังคับแก่การประชุม ก.ก. โดยอนุโลม - เว้นแต่กรณีตามมาตรา ๔๓ วรรคสอง 24 มาตรา ๑๖ ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ ประจากรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า “ - อ.ก.ก.สามัญข้าราชการ” 25 อ.ก.ก.สามัญข้าราชการ” เป็นองค์กร - เป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรุงเทพมหานคร