SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
162เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
เอามาฝากแฟนเพลง ติวอินดี้ ง่ายโคตร ครับกระผม
.......เหมือนเดิมครับ ใครซื้อก็ซื้อไป ใครโหลดอ่านก็โหลดไป ตามศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส.......
ไม่มีใครอ่านน้อยแล้วจะรู้มาก ไม่มีใครอ่านมากแล้วจะรู้น้อย
ถ้าไม่อยากผิดหวังเป็นครั้งที่ร้อย.. ..อ่านเด้อครับ พี่น้อง....
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
163เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สรุปสาระสาคัญ
พระราชบัญญัติ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐
ชื่อ พรบ. ให้ไว้ ณ วันที่ มีผลบังคับใช้
พระราชบัญญัติ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐
วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ้นกาหนดเก้าสิบวัน
- นับแต่วันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
โครงสร้าง
พระราชบัญญัติ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐
หมวด ๑ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
หมวด ๒ ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย
หมวด ๓ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
หมวด ๔ เอกสารประวัติศาสตร์
หมวด ๕ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
หมวด ๖ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
หมวด ๗ บทกาหนดโทษ
- บทเฉพาะกาล
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
164เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
1 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า - พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐
2 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อ - พ้นกาหนดเก้าสิบวัน
- นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3 มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และ
ข้อบังคับอื่น ในส่วนที่บัญญัติไว้แล้วใน
พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบท
แห่งพระราชบัญญัตินี้
- ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
4 มาตรา ๔
ข้อมูลข่าวสาร หมายความว่า
- สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง
- ข้อมูล หรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทา
ได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ
และไม่ว่าจะได้จัดทาไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม
รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย
ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ หรือวิธีอื่นใดที่ทาให้สิ่งที่บันทึกไว้
ปรากฏได้
5 ข้อมูลข่าวสารของราชการ” หมายความว่า - ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครอง
- หรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ
- ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินงาน
ของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน
6 หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า - ราชการส่วนกลาง
- ราชการส่วนภูมิภาค
- ราชการส่วนท้องถิ่น
- รัฐวิสาหกิจ
- ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
- ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณา
พิพากษาคดี
- องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ
- หน่วยงานอิสระของรัฐและหน่วยงานอื่นตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
7 เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า - ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
165เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
8 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” หมายความว่า - ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น
- การศึกษา
- ฐานะการเงิน
- ประวัติสุขภาพ
- ประวัติอาชญากรรม
- หรือประวัติการทางาน
บรรดาที่มีชื่อของผู้นั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือ
สิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทาให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น
- ลายพิมพ์นิ้วมือ
- แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถ่าย
- และให้หมายความรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่ง
เฉพาะตัวของผู้ที่ถึงแก่กรรมแล้วด้วย
9 “คณะกรรมการ” หมายความว่า - คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
10 คนต่างด้าว” หมายความว่า บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทยและไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยและนิติ
บุคคลดังต่อไปนี้
(๑) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเป็นของคนต่างด้าว ใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือให้ถือว่าใบ
หุ้นนั้นคนต่างด้าวเป็นผู้ถือ
(๒) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่างด้าว
(๓) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนต่างด้าว
(๔) นิติบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือนิติบุคคลอื่นใดที่มีผู้จัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่าง
ด้าว
นิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง ถ้าเข้าไปเป็นผู้จัดการหรือกรรมการ สมาชิก หรือมีทุนในนิติบุคคลอื่น ให้ถือว่า
ผู้จัดการหรือกรรมการ หรือสมาชิก หรือเจ้าของทุนดังกล่าวเป็นคนต่างด้าว
11 มาตรา ๕ ให้นายกรัฐมนตรี - รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
- และมีอานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติตาม
พระราชบัญญัตินี้
12 กฎกระทรวงนั้น ใช้บังคับได้เมื่อใด - เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
13 มาตรา ๖ ให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการ
ข้อมูลข่าวสารของราชการขึ้นใน
- สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
166เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
14 สานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ มีหน้าที่
- ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานวิชาการและธุรการ
- ให้แก่คณะกรรมการและคณะกรรมการวินิจฉัยการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ประสานงานกับหน่วยงาน
ของรัฐ และให้คาปรึกษาแก่เอกชนเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
167เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๑
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
15 มาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้
ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
(๑) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดาเนินงาน
(๒) สรุปอานาจหน้าที่ที่สาคัญและวิธีการดาเนินงาน
(๓) สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ
(๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้
เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่เกี่ยวข้อง
(๕) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกาหนด
ข้อมูลข่าวสารใดที่ได้มีการจัดพิมพ์เพื่อให้แพร่หลายตามจานวนพอสมควรแล้ว ถ้ามีการลงพิมพ์ใน
ราชกิจจานุเบกษาโดยอ้างอิงถึงสิ่งพิมพ์นั้นก็ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ว
16 ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวมและจัดให้มีข้อมูล
ข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่
- เพื่อขายหรือจาหน่ายจ่ายแจก
- ณ ที่ทาการของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นตามที่
เห็นสมควร
17 มาตรา ๘ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องลงพิมพ์ตาม
มาตรา ๗ (๔) ถ้ายังไม่ได้ลงพิมพ์ในราชกิจจา
นุเบกษา
- จะนามาใช้บังคับในทางที่ไม่เป็นคุณแก่ผู้ใดไม่ได้
- เว้นแต่ผู้นั้นจะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารนั้นตามความ
เป็นจริงมาก่อนแล้วเป็นเวลาพอสมควร
18 มาตรา ๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕
หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้
ไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด
(๑) ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้งและคาสั่งที่
เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว
(๒) นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา ๗ (๔)
(๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีของปีที่กาลังดาเนินการ
(๔) คู่มือหรือคาสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน
(๕) สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงตามมาตรา ๗ วรรคสอง
(๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการ
จัดทาบริการสาธารณะ
(๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ให้
ระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการพิจารณาไว้ด้วย
(๘) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกาหนด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
168เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
19 ข้อมูลข่าวสารที่จัดให้ประชาชนเข้าตรวจดู
ได้ตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีส่วนที่ต้องห้ามมิให้
เปิดเผยตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยู่
ด้วย
- ให้ลบ
- หรือตัดทอน
- หรือทาโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสารส่วนนั้น
20 บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็
ตาม
- ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดู
- ขอสาเนา
- หรือขอสาเนาที่มีคารับรองถูกต้อง
ของข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งได้
21 ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการ
- จะวางหลักเกณฑ์เรียกค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้
ในการนี้ให้คานึงถึง
- การช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย
- ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้เป็นอย่าง
อื่น
22 คนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรานี้เพียงใด - ให้เป็นไปตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง
23 มาตรา ๑๐ บทบัญญัติมาตรา ๗ และมาตรา
๙ ไม่กระทบถึงข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี
กฎหมายเฉพาะกาหนดให้
- มีการเผยแพร่หรือเปิดเผย ด้วยวิธีการอย่างอื่น
24 มาตรา ๑๑ นอกจากข้อมูลข่าวสารของ
ราชการที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
หรือที่จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้แล้ว
หรือที่มีการจัดให้ประชาชนได้ค้นคว้าตาม
มาตรา ๒๖ แล้ว
ถ้าบุคคลใดขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของ
ราชการและคาขอของผู้นั้นระบุข้อมูล
ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจเข้าใจได้
ตามควร หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติอย่างไร
- ให้หน่วยงานของรัฐผู้รับผิดชอบจัดหาข้อมูล
ข่าวสารนั้น
- ให้แก่ผู้ขอภายในเวลาอันสมควร
- เว้นแต่ผู้นั้นขอจานวนมากหรือบ่อยครั้งโดยไม่มี
เหตุผลอันสมควร
25 ข้อมูลข่าวสารของราชการใดมีสภาพที่อาจ
บุบสลายง่าย
- หน่วยงานของรัฐจะขอขยายเวลาในการจัดหาให้
- หรือจะจัดทาสาเนาให้ในสภาพอย่างหนึ่งอย่างใด
- เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ข้อมูลข่าวสารนั้นก็ได้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
169เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
26 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐ
จัดหาให้ตามวรรคหนึ่ง ต้องมีลักษณะ
อย่างไร
- เป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้วในสภาพที่พร้อมจะให้
ได้
- มิใช่เป็นการต้องไปจัดทา วิเคราะห์ จาแนก รวบรวม
หรือจัดให้มีขึ้นใหม่
- เว้นแต่เป็นการแปรสภาพเป็นเอกสารจากข้อมูล
ข่าวสารที่บันทึกไว้ในระบบการบันทึกภาพหรือเสียง
ระบบคอมพิวเตอร์ หรือระบบอื่นใด
- ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการกาหนด
27 ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่ากรณีที่ขอนั้นมิใช่
การแสวงหาผลประโยชน์ทางการค้า และ
เป็นเรื่องที่จาเป็นเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ
สาหรับผู้นั้นหรือเป็นเรื่องที่จะเป็นประโยชน์
แก่สาธารณะ
- หน่วยงานของรัฐจะจัดหาข้อมูลข่าวสารนั้นให้ก็ได้
28 บทบัญญัติวรรคสามไม่เป็นการห้าม
หน่วยงานของรัฐที่จะจัดให้มีข้อมูลข่าวสาร
ของราชการใดขึ้นใหม่ให้แก่ผู้ร้องขอ
- หากเป็นการสอดคล้องด้วยอานาจหน้าที่ตามปกติ
ของหน่วยงานของรัฐนั้นอยู่แล้ว
29 ให้นาความในมาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม
และวรรคสี่
- มาใช้บังคับแก่การจัดหาข้อมูลข่าวสาร
ให้ตามมาตรานี้ โดยอนุโลม
30 มาตรา ๑๒ ในกรณีที่มีผู้ยื่นคาขอข้อมูล
ข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๑ แม้ว่า
ข้อมูลข่าวสารที่ขอจะอยู่ในความควบคุมดูแล
ของหน่วยงานส่วนกลางหรือส่วนสาขาของ
หน่วยงานแห่งนั้น หรือจะอยู่ในความ
ควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นก็
ตาม
- ให้หน่วยงานของรัฐที่รับคาขอให้คาแนะนา
- เพื่อไปยื่นคาขอต่อหน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแล
ข้อมูลข่าวสารนั้นโดยไม่ชักช้า
31 ถ้าหน่วยงานของรัฐผู้รับคาขอเห็นว่าข้อมูล
ข่าวสารที่มีคาขอเป็นข้อมูลข่าวสารที่จัดทา
โดยหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น และได้ระบุห้าม
การเปิดเผยไว้ตามระเบียบที่กาหนดตาม
มาตรา ๑๖
- ให้ส่งคาขอนั้นให้หน่วยงานของรัฐผู้จัดทาข้อมูล
ข่าวสารนั้นพิจารณาเพื่อมีคาสั่งต่อไป
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
170เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
32 มาตรา ๑๓ ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐไม่
จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๗ หรือไม่
จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้
ตามมาตรา ๙ หรือไม่จัดหาข้อมูลข่าวสาร
ให้แก่ตนตามมาตรา ๑๑ หรือฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติ
หน้าที่ล่าช้า หรือเห็นว่าตนไม่ได้รับความ
สะดวกโดยไม่มีเหตุอันสมควร
- ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการ
- เว้นแต่เป็นเรื่องเกี่ยวกับ
การมีคาสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามมาตรา
๑๕
หรือคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้านตามมาตรา ๑๗
หรือคาสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล
ข่าวสารส่วนบุคคลตามมาตรา ๒๕
33 ในกรณีที่มีการร้องเรียนต่อคณะกรรมการ
ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการต้องพิจารณา
ให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
- 30 วัน
- นับแต่วันที่ได้รับคาร้องเรียน
34 ในกรณีที่มีเหตุจาเป็นให้ขยายเวลาออกไปได้
แต่ต้องแสดงเหตุผลและรวมเวลาทั้งหมด
แล้วต้องไม่เกินกี่วัน
- 60วัน
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
171เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๒
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
32 มาตรา ๑๔ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่
อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบัน
พระมหากษัตริย์
- จะเปิดเผยมิได้
33 มาตรา ๑๕ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
- หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้
- โดยคานึงถึงการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์
ของเอกชนที่เกี่ยวข้องประกอบกัน
๑) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ
(๒) การเปิดเผยจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสาเร็จตามวัตถุประสงค์
ได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้
แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารหรือไม่ก็ตาม
(๓) ความเห็นหรือคาแนะนาภายในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด แต่ทั้งนี้ไม่
รวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการทาความเห็นหรือ
คาแนะนาภายในดังกล่าว
(๔) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด
(๕) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดย
ไม่สมควร
(๖) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่
ประสงค์ให้ทางราชการนาไปเปิดเผยต่อผู้อื่น
(๗) กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
34 คาสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะ
กาหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แต่ต้องระบุด้วยว่า
- ที่เปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภท
ใดและเพราะเหตุใด
35 การมีคาสั่งเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ - เป็นดุลพินิจโดยเฉพาะของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ตามลาดับสายการบังคับบัญชา
- แต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัย
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ตามที่กาหนดใน
พระราชบัญญัตินี้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
172เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
36 มาตรา ๑๖ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ
ว่าข้อมูลข่าวสารของราชการจะเปิดเผยต่อบุคคล
ใดได้หรือไม่ภายใต้เงื่อนไขเช่นใด และสมควรมี
วิธีรักษามิให้รั่วไหล ให้
- หน่วยงานของรัฐกาหนดวิธีการคุ้มครองข้อมูล
ข่าวสารนั้น
- ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนดว่าด้วย
การรักษาความลับของทางราชการ
37 มาตรา ๑๗ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใด
อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด
- ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคาคัดค้าน
ภายในเวลาที่กาหนด
- แต่ต้องให้เวลาอันสมควรที่ผู้นั้นอาจเสนอคา
คัดค้านได้
38 การเสนอคาคัดค้าน ต้องทาภายในกี่วัน - ไม่น้อยกว่า 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
39 ผู้ที่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ที่ทราบว่าการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบ
ถึงประโยชน์ได้เสียของตน ผู้นั้นมีสิทธิอย่างไร
- มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้
- โดยทาเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ผู้รับผิดชอบ
40 การคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
กระทาอย่างไร
- โดยทาเป็นหนังสือ
ถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ
41 ในกรณีที่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ผู้รับผิดชอบต้อง
- พิจารณาคาคัดค้าน
- และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้คัดค้านทราบโดยไม่
ชักช้า
42 ในกรณีที่มีคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้าน เจ้าหน้าที่
ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นมิได้จนกว่า
- จะล่วงพ้นกาหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๘
- หรือจนกว่าคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสารได้มีคาวินิจฉัยให้เปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารนั้นได้ แล้วแต่กรณี
43 มาตรา ๑๘ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคาสั่งมิให้
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดตามมาตรา ๑๔ หรือ
มาตรา ๑๕ หรือมีคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้านของผู้
มีประโยชน์ได้เสียตามมาตรา ๑๗
- ผู้นั้นอาจอุทธรณ์
- ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสาร
-
44 การอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสาร ภายในกี่วัน
- ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่งนั้น
โดยยื่นคาอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
173เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
45 มาตรา ๑๙ การพิจารณาเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร
ที่มีคาสั่งมิให้เปิดเผยนั้นไม่ว่าจะเป็นการ
พิจารณาของคณะกรรมการ คณะกรรมการ
วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือศาลก็ตาม
จะต้องดาเนินกระบวนการพิจารณาโดย
- มิให้ข้อมูลข่าวสารนั้นเปิดเผยแก่บุคคลอื่นใดที่ไม่
จาเป็นแก่การพิจารณา
- และในกรณีที่จาเป็นจะพิจารณาลับหลังคู่กรณี
หรือคู่ความฝ่ายใดก็ได้
46 มาตรา ๒๐ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดแม้จะเข้าข่ายต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใด
ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิดหากเป็นการกระทาโดยสุจริตในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ดาเนินการโดยถูกต้องตามระเบียบตาม
มาตรา ๑๖
(๒) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มีคาสั่ง
ให้เปิดเผยเป็นการทั่วไปหรือเฉพาะแก่บุคคลใดเพื่อประโยชน์อันสาคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ
หรือชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่นของบุคคล และคาสั่งนั้นได้กระทาโดยสมควรแก่เหตุ ในการนี้จะ
มีการกาหนดข้อจากัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเหมาะสมก็ได้
47 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง - ไม่เป็นเหตุให้หน่วยงานของรัฐพ้นจากความรับ
ผิดตามกฎหมายหากจะพึงมีในกรณีดังกล่าว
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
174เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๓
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
48 มาตรา ๒๑ “บุคคล” หมายความว่า - บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย
- และบุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทยแต่มีถิ่นที่อยู่
ในประเทศไทย
49 มาตรา ๒๒ สานักข่าวกรองแห่งชาติ สานักงาน
สภาความมั่นคงแห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐ
แห่งอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
- อาจออกระเบียบ
- โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
50 กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่มิให้นา
บทบัญญัติวรรคหนึ่ง (๓) ของมาตรา ๒๓
- มาใช้บังคับกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ใน
ความควบคุมดูแลของหน่วยงานดังกล่าวก็ได้
51 หน่วยงานของรัฐแห่งอื่นที่จะกาหนดใน
กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งนั้น
- ต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ
- ซึ่งการเปิดเผยประเภทข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง (๓) จะเป็นอุปสรรค
ร้ายแรงต่อการดาเนินการของหน่วยงานดังกล่าว
52 มาตรา ๒๓ หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลดังต่อไปนี้
(๑) ต้องจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเพียงเท่าที่เกี่ยวข้องและจาเป็นเพื่อการดาเนินงานของ
หน่วยงานของรัฐให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์เท่านั้น และยกเลิกการจัดให้มีระบบดังกล่าวเมื่อหมดความ
จาเป็น
(๒) พยายามเก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่จะกระทบถึง
ประโยชน์ได้เสียโดยตรงของบุคคลนั้น
(๓) จัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาและตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องอยู่เสมอเกี่ยวกับสิ่งดังต่อไปนี้
(ก) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้
(ข) ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
(ค) ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ
(ง) วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของข้อมูล
(จ) วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล
(ฉ) แหล่งที่มาของข้อมูล
(๔) ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผิดชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ
(๕) จัดระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตามความเหมาะสมเพื่อป้องกัน
มิให้มีการนาไปใช้โดยไม่เหมาะสมหรือเป็นผลร้ายต่อเจ้าของข้อมูล
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
175เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
54 ในกรณีที่เก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของ
ข้อมูล หน่วยงานของรัฐต้องทาอย่างไร
- แจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบล่วงหน้าหรือพร้อมกับ
การขอข้อมูลถึงวัตถุประสงค์ที่จะนาข้อมูลมาใช้
ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ
- และกรณีที่ขอข้อมูลนั้นเป็นกรณีที่อาจให้ข้อมูล
ได้โดยความสมัครใจหรือเป็นกรณีมีกฎหมาย
บังคับ
55 หน่วยงานของรัฐต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบ
ในกรณีใด
- กรณีมีการให้จัดส่งข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไปยัง
ที่ใด
- ซึ่งจะเป็นผลให้บุคคลทั่วไปทราบข้อมูลข่าวสาร
นั้นได้
- เว้นแต่เป็นไปตามลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ
56 มาตรา ๒๔ หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อ
หน่วยงานของรัฐแห่งอื่นหรือผู้อื่น โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลที่ให้ไว้ล่วงหน้า
หรือในขณะนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผย ดังต่อไปนี้
(๑) ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของตนเพื่อการนาไปใช้ตามอานาจหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
แห่งนั้น
(๒) เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลนั้น
(๓) ต่อหน่วยงานของรัฐที่ทางานด้านการวางแผนหรือการสถิติหรือสามะโนต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่ต้อง
รักษาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไว้ไม่ให้เปิดเผยต่อไปยังผู้อื่น
(๔) เป็นการให้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชื่อหรือส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสาร
ส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด
(๕) ต่อหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง
เพื่อการตรวจดูคุณค่าในการเก็บรักษา
(๖) ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อการป้องกันการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การ
สอบสวน หรือการฟ้องคดี ไม่ว่าเป็นคดีประเภทใดก็ตาม
(๗) เป็นการให้ซึ่งจาเป็นเพื่อการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล
(๘) ต่อศาลและเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่มีอานาจตามกฎหมายที่จะขอ
ข้อเท็จจริงดังกล่าว
(๙) กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
57 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตาม
วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙)
- ให้มีการจัดทาบัญชีแสดงการเปิดเผยกากับไว้กับ
ข้อมูลข่าวสารนั้น
- ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
176เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
58 มาตรา ๒๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา
๑๕
- บุคคลย่อมมีสิทธิที่จะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารส่วน
บุคคลที่เกี่ยวกับตน
59 และเมื่อบุคคลนั้นมีคาขอเป็นหนังสือ
หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้น
จะต้อง
- ให้บุคคลนั้นหรือผู้กระทาการแทนบุคคลนั้นได้
ตรวจดูหรือได้รับสาเนาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น
- และให้นามาตรา ๙ วรรคสอง และวรรคสาม มา
ใช้บังคับโดยอนุโลม
60 การเปิดเผยรายงานการแพทย์ที่เกี่ยวกับบุคคลใด
ถ้ากรณีมีเหตุอันควร
- เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยต่อเฉพาะแพทย์ที่
บุคคลนั้นมอบหมายก็ได้
61 ถ้าบุคคลใดเห็นว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่
เกี่ยวกับตนส่วนใดไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง
- ให้มีสิทธิยื่นคาขอเป็น หนังสือ
ให้หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสาร
แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนนั้น
ได้
- หน่วยงานของรัฐจะต้องพิจารณาคาขอดังกล่าว
และแจ้งให้บุคคลนั้นทราบโดยไม่ชักช้า
62 ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรือลบข้อมูลข่าวสารให้ตรงตามที่มีคาขอ
ให้ผู้นั้นมีสิทธิ
- อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสาร
- ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาสั่งไม่
ยินยอมแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสาร
- โดยยื่นคาอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
- และไม่ว่ากรณีใดๆ ให้เจ้าของข้อมูลมีสิทธิร้อง
ขอให้หน่วยงานของรัฐหมายเหตุคาขอของตน
แนบไว้กับข้อมูลข่าวสารส่วนที่เกี่ยวข้องได้
63 ให้บุคคลตามที่กาหนดในกฎกระทรวง - มีสิทธิดาเนินการตามมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔
- และมาตรานี้แทนผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คน
เสมือนไร้ความสามารถ หรือเจ้าของข้อมูลที่ถึง
แก่กรรมแล้วได้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
177เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๔
เอกสารประวัติศาสตร์
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
64 มาตรา ๒๖ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่
หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรักษาหรือมี
อายุครบกาหนดตามวรรคสองนับแต่วันที่เสร็จ
สิ้นการจัดให้มีข้อมูลข่าวสารนั้น
- ให้หน่วยงานของรัฐส่งมอบให้แก่หอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ กรมศิลปากร
- หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กาหนดในพระ
ราชกฤษฎีกา
- เพื่อคัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า
65 กาหนดเวลาต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการ
ตามวรรคหนึ่งให้แยกตามประเภท ดังนี้
๑) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๔
เมื่อครบเจ็ดสิบห้าปี
๒) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๕
เมื่อครบยี่สิบปี
66 ๑) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๔ เมื่อครบ 75 ปี
(มาตรา ๑๔ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์จะเปิดเผย
มิได้)
67 ๒) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๕ เมื่อครบ 20 ปี
๑) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ
(๒) การเปิดเผยจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้
ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้แหล่งที่มา
ของข้อมูลข่าวสารหรือไม่ก็ตาม
(๓) ความเห็นหรือคาแนะนาภายในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึง
รายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการทาความเห็นหรือคาแนะนา
ภายในดังกล่าว
(๔) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด
(๕) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดย
ไม่สมควร
(๖) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่
ประสงค์ให้ทางราชการนาไปเปิดเผยต่อผู้อื่น
(๗) กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
178เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
68 กาหนดเวลาตามวรรคสอง อาจขยายออกไปได้ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) หน่วยงานของรัฐยังจาเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารของราชการไว้เองเพื่อประโยชน์ในการใช้
สอย โดยต้องจัดเก็บและจัดให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้าตามที่จะตกลงกับหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
กรมศิลปากร
(๒) หน่วยงานของรัฐเห็นว่า ข้อมูลข่าวสารของราชการนั้น ยังไม่ควรเปิดเผยโดยมีคาสั่งขยายเวลา
กากับไว้เป็นการเฉพาะราย คาสั่งการขยายเวลานั้นให้กาหนดระยะเวลาไว้ด้วย
แต่จะกาหนดเกินคราวละห้าปีไม่ได้
69 การตรวจสอบหรือทบทวนมิให้มีการขยาย
ระยะเวลาไม่เปิดเผยจนเกินความจาเป็น
- ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
70 บทบัญญัติตามมาตรานี้
มิให้ใช้บังคับกับ
- ข้อมูลข่าวสารของราชการ
- ตามที่คณะรัฐมนตรีออกระเบียบกาหนดให้
หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้อง
ทาลายหรืออาจทาลายได้โดยไม่ต้องเก็บรักษา
-
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
179เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๕
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
71 มาตรา ๒๗ ให้มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ประกอบด้วย
- รัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน
- ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
- ปลัดกระทรวงกลาโหม
- ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ปลัดกระทรวงการคลัง
- ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย
- ปลัดกระทรวงพาณิชย์
- เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
- เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
- เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
- เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
- ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ
- ผู้อานวยการสานักงบประมาณ
- ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจากภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง อีก 9 คน เป็นกรรมการ
- ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งข้าราชการของสานักงานปลัด สานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งเป็น
เลขานุการ และอีกสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
72 คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ประกอบด้วย
ประธาน 1 คน
กรรมการ 22 คน
เลขานุการ 1 คน
ผู้ช่วยเลขานุการ 2 คน
73 ประธาน - รัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
74 ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจากภาครัฐและภาคเอกชน - จานวน 9 คน
- คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
75 เลขานุการ 1 คน
ผู้ช่วยเลขานุการ 2 คน
- ข้าราชการของสานักงานปลัด สานัก
นายกรัฐมนตรี
- ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
180เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
76 มาตรา ๒๘ คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) สอดส่องดูแลและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยงานของรัฐใน
การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ให้คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ตามที่ได้รับคาขอ
(๓) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะรัฐมนตรีตาม
พระราชบัญญัตินี้
(๔) พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียนตามมาตรา ๑๓
(๕) จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเป็นครั้งคราวตามความ
เหมาะสม แต่อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
(๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้
(๗) ดาเนินการเรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
77 มาตรา ๒๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับ
แต่งตั้งตามมาตรา ๒๗ มีวาระอยู่ในตาแหน่ง
คราวละกี่ปี
- 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
- ผู้ที่พ้นจากตาแหน่งแล้วอาจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้
78 มาตรา ๓๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๒๗
พ้นจากตาแหน่ง เมื่อ
๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่อง หรือไม่สุจริตต่อหน้าที่หรือหย่อน
ความสามารถ
(๔) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๖) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดย
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
79 มาตรา ๓๑ การประชุมของคณะกรรมการต้องมี
กรรมการมาประชุม
- ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด
จึงจะเป็นองค์ประชุม
90 ให้ประธานกรรมการ - เป็นประธานในที่ประชุม
91 ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ
ปฏิบัติหน้าที่ได้
- ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง
เป็นประธานในที่ประชุม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
181เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
92 การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม - ให้ถือเสียงข้างมาก
93 กรรมการคนหนึ่ง - ให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน
94 ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน - ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง
หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
95 มาตรา ๓๒ ให้คณะกรรมการมีอานาจ - เรียกให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคา
- หรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมา
ประกอบการพิจารณาได้
96 มาตรา ๓๓ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐปฏิเสธว่า
ไม่มีข้อมูลข่าวสารตามที่มีคาขอไม่ว่าจะเป็นกรณี
ตามมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๒๕ ถ้าผู้มีคาขอไม่
เชื่อว่าเป็นความจริงและร้องเรียนต่อ
- คณะกรรมการตามมาตรา ๑๓
97 ให้คณะกรรมการมีอานาจ - เข้าดาเนินการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของ
ราชการที่เกี่ยวข้องได้
- และแจ้งผลการตรวจสอบให้ผู้ร้องเรียนทราบ
98 หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต้อง - ยินยอมให้คณะกรรมการ
- หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายเข้าตรวจสอบ
ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของตนได้
- ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยได้หรือไม่ก็
ตาม
99 มาตรา ๓๔ คณะกรรมการจะแต่งตั้ง - คณะอนุกรรมการ
- เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้
- และให้นาความในมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
182เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๖
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
100 มาตรา ๓๕ ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาต่างๆ ตามความ
เหมาะสมซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตามข้อเสนอ
ของคณะกรรมการ มีอานาจหน้าที่
- พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕
- หรือคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้านตามมาตรา ๑๗
- และคาสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล
ข่าวสารส่วนบุคคลตามมาตรา ๒๕
101 การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง ให้แต่งตั้ง
- ตามสาขาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านของ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ เช่น
ความมั่นคงของประเทศ
เศรษฐกิจและการคลังของประเทศ
หรือการบังคับใช้กฎหมาย
102 มาตรา ๓๖ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสารคณะหนึ่งๆ ประกอบด้วย
- บุคคลตามความจาเป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าสาม
คน
- และให้ข้าราชการที่คณะกรรมการแต่งตั้งปฏิบัติ
หน้าที่เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ
103 บุคคลตามความจาเป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคน
104 ข้าราชการ
คณะกรรมการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่เป็น
- เลขานุการ
- และผู้ช่วยเลขานุการ
105 ในกรณีพิจารณาเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของ
หน่วยงานของรัฐแห่งใด กรรมการวินิจฉัยการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารซึ่งมาจากหน่วยงานของ
รัฐแห่งนั้น
- จะเข้าร่วมพิจารณาด้วยไม่ได้
106 กรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - จะเป็นเลขานุการหรือผู้ช่วยเลขานุการไม่ได้
107 มาตรา ๓๗ ให้คณะกรรมการพิจารณาส่งคา
อุทธรณ์ให้คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสาร
- โดยคานึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านของ
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
แต่ละสาขา
- ภายใน 7 วันนับแต่วันที่คณะกรรมการได้รับคา
อุทธรณ์
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
183เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
108 คาวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสาร
- ให้เป็นที่สุด
109 ในการมีคาวินิจฉัย - จะมีข้อสังเกตเสนอต่อคณะกรรมการ
- เพื่อให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ
เกี่ยวกับกรณีใดตามที่เห็นสมควรก็ได้
110 ให้นาความในมาตรา ๑๓ วรรคสอง - มาใช้บังคับแก่การพิจารณาอุทธรณ์ของ
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
โดยอนุโลม
111 มาตรา ๓๘ อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแต่ละสาขาวิธี
พิจารณาและวินิจฉัย และองค์คณะในการ
พิจารณาและวินิจฉัย
- ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
112 มาตรา ๓๙ ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๒๙ มาตรา
๓๐ มาตรา ๓๒ และบทกาหนดโทษที่ประกอบ
กับบทบัญญัติดังกล่าว
- มาใช้บังคับกับคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย
ข้อมูลข่าวสารโดยอนุโลม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
184เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
หมวด ๗
บทกาหนดโทษ
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
113 มาตรา ๔๐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของ
คณะกรรมการที่สั่งตามมาตรา ๓๒ ต้องระวาง
โทษ
(มาตรา ๓๒ ให้คณะกรรมการมีอานาจเรียกให้
บุคคลใดมาให้ถ้อยคาหรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร
หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาได้)
- จาคุกไม่เกิน สามเดือน หรือปรับไม่เกิน ห้าพัน
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
( ไม่เกิน 3 เดือน หรือ ไม่เกิน5,000 หรือ จา-ปรับ)
114 มาตรา ๔๑ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
ข้อจากัดหรือเงื่อนไขที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกาหนด
ตามมาตรา ๒๐ ต้องระวางโทษ
- จาคุกไม่เกิน หนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่น
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ
185เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
บทเฉพาะกาล
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
115 มาตรา ๔๒ บทบัญญัติมาตรา ๗ มาตรา ๘ และ
มาตรา ๙
- มิให้ใช้บังคับกับข้อมูลข่าวสารของราชการที่
เกิดขึ้นก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
116 ให้หน่วยงานของรัฐ - จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง หรือจัดให้
มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เพื่อให้
ประชาชนเข้าตรวจดูได้
- แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
คณะกรรมการจะได้กาหนด
117 มาตรา ๔๓ ให้ระเบียบว่าด้วยการรักษาความ
ปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ในส่วนที่
เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการ
- ยังคงใช้บังคับต่อไปได้
- เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อพระราชบัญญัตินี้
- เว้นแต่ระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนดตาม
มาตรา ๑๖ จะได้กาหนดเป็นอย่างอื่น
118 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ - พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายกรัฐมนตรี
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
- ในระบอบประชาธิปไตย การให้ประชาชนมีโอกาสกว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ
ดาเนินการต่างๆ ของรัฐเป็นสิ่งจาเป็น
เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง
อันเป็นการส่งเสริมให้มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากยิ่งขึ้น สมควรกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้
ข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยมีข้อยกเว้นอันไม่ต้องเปิดเผยที่แจ้งชัดและจากัดเฉพาะข้อมูลข่าวสารที่หาก
เปิดเผยแล้วจะเกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือต่อประโยชน์ที่สาคัญของเอกชน
ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มั่นคงและจะยังผลให้ประชาชนมีโอกาสรู้ถึงสิทธิหน้าที่ของตน
อย่างเต็มที่ เพื่อที่จะปกปักรักษาประโยชน์ของตนได้อีกประการหนึ่งด้วย ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิ
ส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อมกัน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

Contenu connexe

En vedette

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานSatapon Yosakonkun
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘Watcharapon Donpakdee
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
บทที่5
บทที่5 บทที่5
บทที่5 airly2011
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 

En vedette (20)

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตรสอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคขคู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
บทที่5
บทที่5 บทที่5
บทที่5
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 

Plus de ติวอินดี้ ง่ายโคตร

ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งคู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Plus de ติวอินดี้ ง่ายโคตร (10)

ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
ตัวอย่าง คู่มือครูผู้ช่วย อบจ. ชัยภูมิ / สกลนคร ครับผม ( ตัวอย่าง)
 
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งคู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
วิชาการศึกษา
วิชาการศึกษาวิชาการศึกษา
วิชาการศึกษา
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 

ข้อมูลข่าวสาร

  • 1. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 162เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) เอามาฝากแฟนเพลง ติวอินดี้ ง่ายโคตร ครับกระผม .......เหมือนเดิมครับ ใครซื้อก็ซื้อไป ใครโหลดอ่านก็โหลดไป ตามศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส....... ไม่มีใครอ่านน้อยแล้วจะรู้มาก ไม่มีใครอ่านมากแล้วจะรู้น้อย ถ้าไม่อยากผิดหวังเป็นครั้งที่ร้อย.. ..อ่านเด้อครับ พี่น้อง....
  • 2. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 163เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สรุปสาระสาคัญ พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ชื่อ พรบ. ให้ไว้ ณ วันที่ มีผลบังคับใช้ พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ้นกาหนดเก้าสิบวัน - นับแต่วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โครงสร้าง พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หมวด ๑ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร หมวด ๒ ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย หมวด ๓ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หมวด ๔ เอกสารประวัติศาสตร์ หมวด ๕ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ หมวด ๖ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร หมวด ๗ บทกาหนดโทษ - บทเฉพาะกาล
  • 3. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 164เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 1 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า - พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ 2 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อ - พ้นกาหนดเก้าสิบวัน - นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 3 มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และ ข้อบังคับอื่น ในส่วนที่บัญญัติไว้แล้วใน พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบท แห่งพระราชบัญญัตินี้ - ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน 4 มาตรา ๔ ข้อมูลข่าวสาร หมายความว่า - สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง - ข้อมูล หรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทา ได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ และไม่ว่าจะได้จัดทาไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือวิธีอื่นใดที่ทาให้สิ่งที่บันทึกไว้ ปรากฏได้ 5 ข้อมูลข่าวสารของราชการ” หมายความว่า - ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครอง - หรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ - ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินงาน ของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน 6 หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า - ราชการส่วนกลาง - ราชการส่วนภูมิภาค - ราชการส่วนท้องถิ่น - รัฐวิสาหกิจ - ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา - ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณา พิพากษาคดี - องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ - หน่วยงานอิสระของรัฐและหน่วยงานอื่นตามที่ กาหนดในกฎกระทรวง 7 เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า - ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ
  • 4. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 165เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 8 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” หมายความว่า - ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น - การศึกษา - ฐานะการเงิน - ประวัติสุขภาพ - ประวัติอาชญากรรม - หรือประวัติการทางาน บรรดาที่มีชื่อของผู้นั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือ สิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทาให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น - ลายพิมพ์นิ้วมือ - แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถ่าย - และให้หมายความรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่ง เฉพาะตัวของผู้ที่ถึงแก่กรรมแล้วด้วย 9 “คณะกรรมการ” หมายความว่า - คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 10 คนต่างด้าว” หมายความว่า บุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทยและไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยและนิติ บุคคลดังต่อไปนี้ (๑) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเป็นของคนต่างด้าว ใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือให้ถือว่าใบ หุ้นนั้นคนต่างด้าวเป็นผู้ถือ (๒) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่างด้าว (๓) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนต่างด้าว (๔) นิติบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือนิติบุคคลอื่นใดที่มีผู้จัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่าง ด้าว นิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง ถ้าเข้าไปเป็นผู้จัดการหรือกรรมการ สมาชิก หรือมีทุนในนิติบุคคลอื่น ให้ถือว่า ผู้จัดการหรือกรรมการ หรือสมาชิก หรือเจ้าของทุนดังกล่าวเป็นคนต่างด้าว 11 มาตรา ๕ ให้นายกรัฐมนตรี - รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ - และมีอานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ 12 กฎกระทรวงนั้น ใช้บังคับได้เมื่อใด - เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว 13 มาตรา ๖ ให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการขึ้นใน - สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
  • 5. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 166เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 14 สานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ ราชการ มีหน้าที่ - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานวิชาการและธุรการ - ให้แก่คณะกรรมการและคณะกรรมการวินิจฉัยการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ประสานงานกับหน่วยงาน ของรัฐ และให้คาปรึกษาแก่เอกชนเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
  • 6. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 167เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๑ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 15 มาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (๑) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดาเนินงาน (๒) สรุปอานาจหน้าที่ที่สาคัญและวิธีการดาเนินงาน (๓) สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ (๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่เกี่ยวข้อง (๕) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกาหนด ข้อมูลข่าวสารใดที่ได้มีการจัดพิมพ์เพื่อให้แพร่หลายตามจานวนพอสมควรแล้ว ถ้ามีการลงพิมพ์ใน ราชกิจจานุเบกษาโดยอ้างอิงถึงสิ่งพิมพ์นั้นก็ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ว 16 ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวมและจัดให้มีข้อมูล ข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่ - เพื่อขายหรือจาหน่ายจ่ายแจก - ณ ที่ทาการของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นตามที่ เห็นสมควร 17 มาตรา ๘ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องลงพิมพ์ตาม มาตรา ๗ (๔) ถ้ายังไม่ได้ลงพิมพ์ในราชกิจจา นุเบกษา - จะนามาใช้บังคับในทางที่ไม่เป็นคุณแก่ผู้ใดไม่ได้ - เว้นแต่ผู้นั้นจะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารนั้นตามความ เป็นจริงมาก่อนแล้วเป็นเวลาพอสมควร 18 มาตรา ๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด (๑) ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้งและคาสั่งที่ เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว (๒) นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา ๗ (๔) (๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีของปีที่กาลังดาเนินการ (๔) คู่มือหรือคาสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน (๕) สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการ จัดทาบริการสาธารณะ (๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ให้ ระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการพิจารณาไว้ด้วย (๘) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกาหนด
  • 7. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 168เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 19 ข้อมูลข่าวสารที่จัดให้ประชาชนเข้าตรวจดู ได้ตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีส่วนที่ต้องห้ามมิให้ เปิดเผยตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยู่ ด้วย - ให้ลบ - หรือตัดทอน - หรือทาโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารส่วนนั้น 20 บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ ตาม - ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดู - ขอสาเนา - หรือขอสาเนาที่มีคารับรองถูกต้อง ของข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งได้ 21 ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการ - จะวางหลักเกณฑ์เรียกค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้ ในการนี้ให้คานึงถึง - การช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย - ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้เป็นอย่าง อื่น 22 คนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรานี้เพียงใด - ให้เป็นไปตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง 23 มาตรา ๑๐ บทบัญญัติมาตรา ๗ และมาตรา ๙ ไม่กระทบถึงข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กฎหมายเฉพาะกาหนดให้ - มีการเผยแพร่หรือเปิดเผย ด้วยวิธีการอย่างอื่น 24 มาตรา ๑๑ นอกจากข้อมูลข่าวสารของ ราชการที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว หรือที่จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้แล้ว หรือที่มีการจัดให้ประชาชนได้ค้นคว้าตาม มาตรา ๒๖ แล้ว ถ้าบุคคลใดขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของ ราชการและคาขอของผู้นั้นระบุข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจเข้าใจได้ ตามควร หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติอย่างไร - ให้หน่วยงานของรัฐผู้รับผิดชอบจัดหาข้อมูล ข่าวสารนั้น - ให้แก่ผู้ขอภายในเวลาอันสมควร - เว้นแต่ผู้นั้นขอจานวนมากหรือบ่อยครั้งโดยไม่มี เหตุผลอันสมควร 25 ข้อมูลข่าวสารของราชการใดมีสภาพที่อาจ บุบสลายง่าย - หน่วยงานของรัฐจะขอขยายเวลาในการจัดหาให้ - หรือจะจัดทาสาเนาให้ในสภาพอย่างหนึ่งอย่างใด - เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ข้อมูลข่าวสารนั้นก็ได้
  • 8. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 169เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 26 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐ จัดหาให้ตามวรรคหนึ่ง ต้องมีลักษณะ อย่างไร - เป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้วในสภาพที่พร้อมจะให้ ได้ - มิใช่เป็นการต้องไปจัดทา วิเคราะห์ จาแนก รวบรวม หรือจัดให้มีขึ้นใหม่ - เว้นแต่เป็นการแปรสภาพเป็นเอกสารจากข้อมูล ข่าวสารที่บันทึกไว้ในระบบการบันทึกภาพหรือเสียง ระบบคอมพิวเตอร์ หรือระบบอื่นใด - ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการกาหนด 27 ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่ากรณีที่ขอนั้นมิใช่ การแสวงหาผลประโยชน์ทางการค้า และ เป็นเรื่องที่จาเป็นเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ สาหรับผู้นั้นหรือเป็นเรื่องที่จะเป็นประโยชน์ แก่สาธารณะ - หน่วยงานของรัฐจะจัดหาข้อมูลข่าวสารนั้นให้ก็ได้ 28 บทบัญญัติวรรคสามไม่เป็นการห้าม หน่วยงานของรัฐที่จะจัดให้มีข้อมูลข่าวสาร ของราชการใดขึ้นใหม่ให้แก่ผู้ร้องขอ - หากเป็นการสอดคล้องด้วยอานาจหน้าที่ตามปกติ ของหน่วยงานของรัฐนั้นอยู่แล้ว 29 ให้นาความในมาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ - มาใช้บังคับแก่การจัดหาข้อมูลข่าวสาร ให้ตามมาตรานี้ โดยอนุโลม 30 มาตรา ๑๒ ในกรณีที่มีผู้ยื่นคาขอข้อมูล ข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๑ แม้ว่า ข้อมูลข่าวสารที่ขอจะอยู่ในความควบคุมดูแล ของหน่วยงานส่วนกลางหรือส่วนสาขาของ หน่วยงานแห่งนั้น หรือจะอยู่ในความ ควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นก็ ตาม - ให้หน่วยงานของรัฐที่รับคาขอให้คาแนะนา - เพื่อไปยื่นคาขอต่อหน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแล ข้อมูลข่าวสารนั้นโดยไม่ชักช้า 31 ถ้าหน่วยงานของรัฐผู้รับคาขอเห็นว่าข้อมูล ข่าวสารที่มีคาขอเป็นข้อมูลข่าวสารที่จัดทา โดยหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น และได้ระบุห้าม การเปิดเผยไว้ตามระเบียบที่กาหนดตาม มาตรา ๑๖ - ให้ส่งคาขอนั้นให้หน่วยงานของรัฐผู้จัดทาข้อมูล ข่าวสารนั้นพิจารณาเพื่อมีคาสั่งต่อไป
  • 9. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 170เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 32 มาตรา ๑๓ ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐไม่ จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๗ หรือไม่ จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ ตามมาตรา ๙ หรือไม่จัดหาข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ตนตามมาตรา ๑๑ หรือฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติ หน้าที่ล่าช้า หรือเห็นว่าตนไม่ได้รับความ สะดวกโดยไม่มีเหตุอันสมควร - ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการ - เว้นแต่เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การมีคาสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ หรือคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้านตามมาตรา ๑๗ หรือคาสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคลตามมาตรา ๒๕ 33 ในกรณีที่มีการร้องเรียนต่อคณะกรรมการ ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการต้องพิจารณา ให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน - 30 วัน - นับแต่วันที่ได้รับคาร้องเรียน 34 ในกรณีที่มีเหตุจาเป็นให้ขยายเวลาออกไปได้ แต่ต้องแสดงเหตุผลและรวมเวลาทั้งหมด แล้วต้องไม่เกินกี่วัน - 60วัน
  • 10. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 171เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๒ ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 32 มาตรา ๑๔ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ - จะเปิดเผยมิได้ 33 มาตรา ๑๕ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ - หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ - โดยคานึงถึงการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ ของเอกชนที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ๑) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ (๒) การเปิดเผยจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้ แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารหรือไม่ก็ตาม (๓) ความเห็นหรือคาแนะนาภายในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด แต่ทั้งนี้ไม่ รวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการทาความเห็นหรือ คาแนะนาภายในดังกล่าว (๔) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด (๕) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดย ไม่สมควร (๖) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่ ประสงค์ให้ทางราชการนาไปเปิดเผยต่อผู้อื่น (๗) กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา 34 คาสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะ กาหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แต่ต้องระบุด้วยว่า - ที่เปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภท ใดและเพราะเหตุใด 35 การมีคาสั่งเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ - เป็นดุลพินิจโดยเฉพาะของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามลาดับสายการบังคับบัญชา - แต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ตามที่กาหนดใน พระราชบัญญัตินี้
  • 11. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 172เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 36 มาตรา ๑๖ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ ว่าข้อมูลข่าวสารของราชการจะเปิดเผยต่อบุคคล ใดได้หรือไม่ภายใต้เงื่อนไขเช่นใด และสมควรมี วิธีรักษามิให้รั่วไหล ให้ - หน่วยงานของรัฐกาหนดวิธีการคุ้มครองข้อมูล ข่าวสารนั้น - ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนดว่าด้วย การรักษาความลับของทางราชการ 37 มาตรา ๑๗ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใด อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด - ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคาคัดค้าน ภายในเวลาที่กาหนด - แต่ต้องให้เวลาอันสมควรที่ผู้นั้นอาจเสนอคา คัดค้านได้ 38 การเสนอคาคัดค้าน ต้องทาภายในกี่วัน - ไม่น้อยกว่า 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง 39 ผู้ที่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ที่ทราบว่าการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบ ถึงประโยชน์ได้เสียของตน ผู้นั้นมีสิทธิอย่างไร - มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ - โดยทาเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้รับผิดชอบ 40 การคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร กระทาอย่างไร - โดยทาเป็นหนังสือ ถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ 41 ในกรณีที่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้รับผิดชอบต้อง - พิจารณาคาคัดค้าน - และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้คัดค้านทราบโดยไม่ ชักช้า 42 ในกรณีที่มีคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้าน เจ้าหน้าที่ ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นมิได้จนกว่า - จะล่วงพ้นกาหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๘ - หรือจนกว่าคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารได้มีคาวินิจฉัยให้เปิดเผยข้อมูล ข่าวสารนั้นได้ แล้วแต่กรณี 43 มาตรา ๑๘ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคาสั่งมิให้ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดตามมาตรา ๑๔ หรือ มาตรา ๑๕ หรือมีคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้านของผู้ มีประโยชน์ได้เสียตามมาตรา ๑๗ - ผู้นั้นอาจอุทธรณ์ - ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร - 44 การอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร ภายในกี่วัน - ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่งนั้น โดยยื่นคาอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
  • 12. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 173เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 45 มาตรา ๑๙ การพิจารณาเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร ที่มีคาสั่งมิให้เปิดเผยนั้นไม่ว่าจะเป็นการ พิจารณาของคณะกรรมการ คณะกรรมการ วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือศาลก็ตาม จะต้องดาเนินกระบวนการพิจารณาโดย - มิให้ข้อมูลข่าวสารนั้นเปิดเผยแก่บุคคลอื่นใดที่ไม่ จาเป็นแก่การพิจารณา - และในกรณีที่จาเป็นจะพิจารณาลับหลังคู่กรณี หรือคู่ความฝ่ายใดก็ได้ 46 มาตรา ๒๐ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดแม้จะเข้าข่ายต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใด ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิดหากเป็นการกระทาโดยสุจริตในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ดาเนินการโดยถูกต้องตามระเบียบตาม มาตรา ๑๖ (๒) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มีคาสั่ง ให้เปิดเผยเป็นการทั่วไปหรือเฉพาะแก่บุคคลใดเพื่อประโยชน์อันสาคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ หรือชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่นของบุคคล และคาสั่งนั้นได้กระทาโดยสมควรแก่เหตุ ในการนี้จะ มีการกาหนดข้อจากัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเหมาะสมก็ได้ 47 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง - ไม่เป็นเหตุให้หน่วยงานของรัฐพ้นจากความรับ ผิดตามกฎหมายหากจะพึงมีในกรณีดังกล่าว
  • 13. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 174เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๓ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 48 มาตรา ๒๑ “บุคคล” หมายความว่า - บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย - และบุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทยแต่มีถิ่นที่อยู่ ในประเทศไทย 49 มาตรา ๒๒ สานักข่าวกรองแห่งชาติ สานักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐ แห่งอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง - อาจออกระเบียบ - โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ 50 กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่มิให้นา บทบัญญัติวรรคหนึ่ง (๓) ของมาตรา ๒๓ - มาใช้บังคับกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ใน ความควบคุมดูแลของหน่วยงานดังกล่าวก็ได้ 51 หน่วยงานของรัฐแห่งอื่นที่จะกาหนดใน กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งนั้น - ต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ - ซึ่งการเปิดเผยประเภทข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง (๓) จะเป็นอุปสรรค ร้ายแรงต่อการดาเนินการของหน่วยงานดังกล่าว 52 มาตรา ๒๓ หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลดังต่อไปนี้ (๑) ต้องจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเพียงเท่าที่เกี่ยวข้องและจาเป็นเพื่อการดาเนินงานของ หน่วยงานของรัฐให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์เท่านั้น และยกเลิกการจัดให้มีระบบดังกล่าวเมื่อหมดความ จาเป็น (๒) พยายามเก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่จะกระทบถึง ประโยชน์ได้เสียโดยตรงของบุคคลนั้น (๓) จัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาและตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องอยู่เสมอเกี่ยวกับสิ่งดังต่อไปนี้ (ก) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ (ข) ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (ค) ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ (ง) วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของข้อมูล (จ) วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล (ฉ) แหล่งที่มาของข้อมูล (๔) ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลในความรับผิดชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ (๕) จัดระบบรักษาความปลอดภัยให้แก่ระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตามความเหมาะสมเพื่อป้องกัน มิให้มีการนาไปใช้โดยไม่เหมาะสมหรือเป็นผลร้ายต่อเจ้าของข้อมูล
  • 14. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 175เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 54 ในกรณีที่เก็บข้อมูลข่าวสารโดยตรงจากเจ้าของ ข้อมูล หน่วยงานของรัฐต้องทาอย่างไร - แจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบล่วงหน้าหรือพร้อมกับ การขอข้อมูลถึงวัตถุประสงค์ที่จะนาข้อมูลมาใช้ ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ - และกรณีที่ขอข้อมูลนั้นเป็นกรณีที่อาจให้ข้อมูล ได้โดยความสมัครใจหรือเป็นกรณีมีกฎหมาย บังคับ 55 หน่วยงานของรัฐต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบ ในกรณีใด - กรณีมีการให้จัดส่งข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไปยัง ที่ใด - ซึ่งจะเป็นผลให้บุคคลทั่วไปทราบข้อมูลข่าวสาร นั้นได้ - เว้นแต่เป็นไปตามลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ 56 มาตรา ๒๔ หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อ หน่วยงานของรัฐแห่งอื่นหรือผู้อื่น โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลที่ให้ไว้ล่วงหน้า หรือในขณะนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผย ดังต่อไปนี้ (๑) ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของตนเพื่อการนาไปใช้ตามอานาจหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ แห่งนั้น (๒) เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลนั้น (๓) ต่อหน่วยงานของรัฐที่ทางานด้านการวางแผนหรือการสถิติหรือสามะโนต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่ต้อง รักษาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไว้ไม่ให้เปิดเผยต่อไปยังผู้อื่น (๔) เป็นการให้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชื่อหรือส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสาร ส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด (๕) ต่อหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง เพื่อการตรวจดูคุณค่าในการเก็บรักษา (๖) ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อการป้องกันการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การ สอบสวน หรือการฟ้องคดี ไม่ว่าเป็นคดีประเภทใดก็ตาม (๗) เป็นการให้ซึ่งจาเป็นเพื่อการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล (๘) ต่อศาลและเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่มีอานาจตามกฎหมายที่จะขอ ข้อเท็จจริงดังกล่าว (๙) กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา 57 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตาม วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) - ให้มีการจัดทาบัญชีแสดงการเปิดเผยกากับไว้กับ ข้อมูลข่าวสารนั้น - ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
  • 15. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 176เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 58 มาตรา ๒๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ - บุคคลย่อมมีสิทธิที่จะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารส่วน บุคคลที่เกี่ยวกับตน 59 และเมื่อบุคคลนั้นมีคาขอเป็นหนังสือ หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้น จะต้อง - ให้บุคคลนั้นหรือผู้กระทาการแทนบุคคลนั้นได้ ตรวจดูหรือได้รับสาเนาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น - และให้นามาตรา ๙ วรรคสอง และวรรคสาม มา ใช้บังคับโดยอนุโลม 60 การเปิดเผยรายงานการแพทย์ที่เกี่ยวกับบุคคลใด ถ้ากรณีมีเหตุอันควร - เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยต่อเฉพาะแพทย์ที่ บุคคลนั้นมอบหมายก็ได้ 61 ถ้าบุคคลใดเห็นว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่ เกี่ยวกับตนส่วนใดไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง - ให้มีสิทธิยื่นคาขอเป็น หนังสือ ให้หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสาร แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนนั้น ได้ - หน่วยงานของรัฐจะต้องพิจารณาคาขอดังกล่าว และแจ้งให้บุคคลนั้นทราบโดยไม่ชักช้า 62 ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือลบข้อมูลข่าวสารให้ตรงตามที่มีคาขอ ให้ผู้นั้นมีสิทธิ - อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร - ภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาสั่งไม่ ยินยอมแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสาร - โดยยื่นคาอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ - และไม่ว่ากรณีใดๆ ให้เจ้าของข้อมูลมีสิทธิร้อง ขอให้หน่วยงานของรัฐหมายเหตุคาขอของตน แนบไว้กับข้อมูลข่าวสารส่วนที่เกี่ยวข้องได้ 63 ให้บุคคลตามที่กาหนดในกฎกระทรวง - มีสิทธิดาเนินการตามมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ - และมาตรานี้แทนผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คน เสมือนไร้ความสามารถ หรือเจ้าของข้อมูลที่ถึง แก่กรรมแล้วได้
  • 16. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 177เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๔ เอกสารประวัติศาสตร์ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 64 มาตรา ๒๖ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรักษาหรือมี อายุครบกาหนดตามวรรคสองนับแต่วันที่เสร็จ สิ้นการจัดให้มีข้อมูลข่าวสารนั้น - ให้หน่วยงานของรัฐส่งมอบให้แก่หอจดหมายเหตุ แห่งชาติ กรมศิลปากร - หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กาหนดในพระ ราชกฤษฎีกา - เพื่อคัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า 65 กาหนดเวลาต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการ ตามวรรคหนึ่งให้แยกตามประเภท ดังนี้ ๑) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๔ เมื่อครบเจ็ดสิบห้าปี ๒) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๕ เมื่อครบยี่สิบปี 66 ๑) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๔ เมื่อครบ 75 ปี (มาตรา ๑๔ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์จะเปิดเผย มิได้) 67 ๒) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา ๑๕ เมื่อครบ 20 ปี ๑) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ (๒) การเปิดเผยจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรู้แหล่งที่มา ของข้อมูลข่าวสารหรือไม่ก็ตาม (๓) ความเห็นหรือคาแนะนาภายในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึง รายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นามาใช้ในการทาความเห็นหรือคาแนะนา ภายในดังกล่าว (๔) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด (๕) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดย ไม่สมควร (๖) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่ ประสงค์ให้ทางราชการนาไปเปิดเผยต่อผู้อื่น (๗) กรณีอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
  • 17. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 178เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 68 กาหนดเวลาตามวรรคสอง อาจขยายออกไปได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) หน่วยงานของรัฐยังจาเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารของราชการไว้เองเพื่อประโยชน์ในการใช้ สอย โดยต้องจัดเก็บและจัดให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้าตามที่จะตกลงกับหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร (๒) หน่วยงานของรัฐเห็นว่า ข้อมูลข่าวสารของราชการนั้น ยังไม่ควรเปิดเผยโดยมีคาสั่งขยายเวลา กากับไว้เป็นการเฉพาะราย คาสั่งการขยายเวลานั้นให้กาหนดระยะเวลาไว้ด้วย แต่จะกาหนดเกินคราวละห้าปีไม่ได้ 69 การตรวจสอบหรือทบทวนมิให้มีการขยาย ระยะเวลาไม่เปิดเผยจนเกินความจาเป็น - ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดใน กฎกระทรวง 70 บทบัญญัติตามมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับกับ - ข้อมูลข่าวสารของราชการ - ตามที่คณะรัฐมนตรีออกระเบียบกาหนดให้ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้อง ทาลายหรืออาจทาลายได้โดยไม่ต้องเก็บรักษา -
  • 18. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 179เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๕ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 71 มาตรา ๒๗ ให้มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ประกอบด้วย - รัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน - ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี - ปลัดกระทรวงกลาโหม - ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - ปลัดกระทรวงการคลัง - ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - ปลัดกระทรวงมหาดไทย - ปลัดกระทรวงพาณิชย์ - เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา - เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน - เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ - เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ - ผู้อานวยการสานักงบประมาณ - ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจากภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง อีก 9 คน เป็นกรรมการ - ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งข้าราชการของสานักงานปลัด สานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งเป็น เลขานุการ และอีกสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ 72 คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ประกอบด้วย ประธาน 1 คน กรรมการ 22 คน เลขานุการ 1 คน ผู้ช่วยเลขานุการ 2 คน 73 ประธาน - รัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย 74 ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจากภาครัฐและภาคเอกชน - จานวน 9 คน - คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง 75 เลขานุการ 1 คน ผู้ช่วยเลขานุการ 2 คน - ข้าราชการของสานักงานปลัด สานัก นายกรัฐมนตรี - ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
  • 19. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 180เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 76 มาตรา ๒๘ คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) สอดส่องดูแลและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยงานของรัฐใน การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ให้คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ได้รับคาขอ (๓) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะรัฐมนตรีตาม พระราชบัญญัตินี้ (๔) พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียนตามมาตรา ๑๓ (๕) จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเป็นครั้งคราวตามความ เหมาะสม แต่อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ (๗) ดาเนินการเรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย 77 มาตรา ๒๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับ แต่งตั้งตามมาตรา ๒๗ มีวาระอยู่ในตาแหน่ง คราวละกี่ปี - 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง - ผู้ที่พ้นจากตาแหน่งแล้วอาจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้ 78 มาตรา ๓๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๒๗ พ้นจากตาแหน่ง เมื่อ ๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่อง หรือไม่สุจริตต่อหน้าที่หรือหย่อน ความสามารถ (๔) เป็นบุคคลล้มละลาย (๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๖) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ 79 มาตรา ๓๑ การประชุมของคณะกรรมการต้องมี กรรมการมาประชุม - ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม 90 ให้ประธานกรรมการ - เป็นประธานในที่ประชุม 91 ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ - ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุม
  • 20. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 181เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 92 การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม - ให้ถือเสียงข้างมาก 93 กรรมการคนหนึ่ง - ให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน 94 ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน - ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียง หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด 95 มาตรา ๓๒ ให้คณะกรรมการมีอานาจ - เรียกให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคา - หรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมา ประกอบการพิจารณาได้ 96 มาตรา ๓๓ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐปฏิเสธว่า ไม่มีข้อมูลข่าวสารตามที่มีคาขอไม่ว่าจะเป็นกรณี ตามมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๒๕ ถ้าผู้มีคาขอไม่ เชื่อว่าเป็นความจริงและร้องเรียนต่อ - คณะกรรมการตามมาตรา ๑๓ 97 ให้คณะกรรมการมีอานาจ - เข้าดาเนินการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของ ราชการที่เกี่ยวข้องได้ - และแจ้งผลการตรวจสอบให้ผู้ร้องเรียนทราบ 98 หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต้อง - ยินยอมให้คณะกรรมการ - หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายเข้าตรวจสอบ ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของตนได้ - ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยได้หรือไม่ก็ ตาม 99 มาตรา ๓๔ คณะกรรมการจะแต่งตั้ง - คณะอนุกรรมการ - เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ - และให้นาความในมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับโดย อนุโลม
  • 21. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 182เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๖ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 100 มาตรา ๓๕ ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาต่างๆ ตามความ เหมาะสมซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตามข้อเสนอ ของคณะกรรมการ มีอานาจหน้าที่ - พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล ข่าวสารตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ - หรือคาสั่งไม่รับฟังคาคัดค้านตามมาตรา ๑๗ - และคาสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคลตามมาตรา ๒๕ 101 การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง ให้แต่งตั้ง - ตามสาขาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านของ ข้อมูลข่าวสารของราชการ เช่น ความมั่นคงของประเทศ เศรษฐกิจและการคลังของประเทศ หรือการบังคับใช้กฎหมาย 102 มาตรา ๓๖ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารคณะหนึ่งๆ ประกอบด้วย - บุคคลตามความจาเป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าสาม คน - และให้ข้าราชการที่คณะกรรมการแต่งตั้งปฏิบัติ หน้าที่เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ 103 บุคคลตามความจาเป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคน 104 ข้าราชการ คณะกรรมการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่เป็น - เลขานุการ - และผู้ช่วยเลขานุการ 105 ในกรณีพิจารณาเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของ หน่วยงานของรัฐแห่งใด กรรมการวินิจฉัยการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารซึ่งมาจากหน่วยงานของ รัฐแห่งนั้น - จะเข้าร่วมพิจารณาด้วยไม่ได้ 106 กรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - จะเป็นเลขานุการหรือผู้ช่วยเลขานุการไม่ได้ 107 มาตรา ๓๗ ให้คณะกรรมการพิจารณาส่งคา อุทธรณ์ให้คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร - โดยคานึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านของ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร แต่ละสาขา - ภายใน 7 วันนับแต่วันที่คณะกรรมการได้รับคา อุทธรณ์
  • 22. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 183เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 108 คาวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร - ให้เป็นที่สุด 109 ในการมีคาวินิจฉัย - จะมีข้อสังเกตเสนอต่อคณะกรรมการ - เพื่อให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ เกี่ยวกับกรณีใดตามที่เห็นสมควรก็ได้ 110 ให้นาความในมาตรา ๑๓ วรรคสอง - มาใช้บังคับแก่การพิจารณาอุทธรณ์ของ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร โดยอนุโลม 111 มาตรา ๓๘ อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแต่ละสาขาวิธี พิจารณาและวินิจฉัย และองค์คณะในการ พิจารณาและวินิจฉัย - ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา 112 มาตรา ๓๙ ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๒ และบทกาหนดโทษที่ประกอบ กับบทบัญญัติดังกล่าว - มาใช้บังคับกับคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารโดยอนุโลม
  • 23. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 184เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) หมวด ๗ บทกาหนดโทษ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 113 มาตรา ๔๐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของ คณะกรรมการที่สั่งตามมาตรา ๓๒ ต้องระวาง โทษ (มาตรา ๓๒ ให้คณะกรรมการมีอานาจเรียกให้ บุคคลใดมาให้ถ้อยคาหรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาได้) - จาคุกไม่เกิน สามเดือน หรือปรับไม่เกิน ห้าพัน บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ( ไม่เกิน 3 เดือน หรือ ไม่เกิน5,000 หรือ จา-ปรับ) 114 มาตรา ๔๑ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ข้อจากัดหรือเงื่อนไขที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกาหนด ตามมาตรา ๒๐ ต้องระวางโทษ - จาคุกไม่เกิน หนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่น บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 24. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ 185เรียบเรียงโดย นายวัชรพล ดลภักดี (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) บทเฉพาะกาล ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 115 มาตรา ๔๒ บทบัญญัติมาตรา ๗ มาตรา ๘ และ มาตรา ๙ - มิให้ใช้บังคับกับข้อมูลข่าวสารของราชการที่ เกิดขึ้นก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ 116 ให้หน่วยงานของรัฐ - จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง หรือจัดให้ มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เพื่อให้ ประชาชนเข้าตรวจดูได้ - แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการจะได้กาหนด 117 มาตรา ๔๓ ให้ระเบียบว่าด้วยการรักษาความ ปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ในส่วนที่ เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการ - ยังคงใช้บังคับต่อไปได้ - เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อพระราชบัญญัตินี้ - เว้นแต่ระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนดตาม มาตรา ๑๖ จะได้กาหนดเป็นอย่างอื่น 118 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ - พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ - ในระบอบประชาธิปไตย การให้ประชาชนมีโอกาสกว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ ดาเนินการต่างๆ ของรัฐเป็นสิ่งจาเป็น เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง อันเป็นการส่งเสริมให้มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากยิ่งขึ้น สมควรกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้ ข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยมีข้อยกเว้นอันไม่ต้องเปิดเผยที่แจ้งชัดและจากัดเฉพาะข้อมูลข่าวสารที่หาก เปิดเผยแล้วจะเกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือต่อประโยชน์ที่สาคัญของเอกชน ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มั่นคงและจะยังผลให้ประชาชนมีโอกาสรู้ถึงสิทธิหน้าที่ของตน อย่างเต็มที่ เพื่อที่จะปกปักรักษาประโยชน์ของตนได้อีกประการหนึ่งด้วย ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิ ส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อมกัน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้