SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
135-305 การจัดการการส่งออกและนำาเข้า
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 1การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
การขนส่งสินค้าทางทะเล เป็นส่วนประกอบที่สำาคัญส่วนหนึ่งของ
ระบบการค้าระหว่างประเทศ ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และในอนาคต
เพราะเป็นเพียงการขนส่งชนิดเดียวที่ขนสินค้าได้คราวละมากๆ
และค่าระวางมีราคาถูกกว่าการขนส่งในรูปแบบอื่น ๆ
การขนส่งสินค้าทางทะเล
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 2การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทาง
ทะเล
• เจ้าของเรือ (SHIP OWNER)
• ผู้เช่าเรือ (SHIP CHARTERER)
• ตัวแทนสายเดินเรือ และตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้า
ระหว่างประเทศ (SHIPPING AGENT & FREIGHT FORWARDER)
• ผู้ส่งสินค้า (SHIPPER or EXPORTER)
• ผู้รับตราส่ง (CONSIGNEE)
• ผู้รับสินค้า (NOTIFY PARTY)
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 3การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้า
ทางทะเล
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 4การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
1. LINER TERM
 Conventional Vessel เรือสินค้าอเนกประสงค์แบบ
ดั้งเดิม ทำาการขนส่งสินค้าโดยการบรรทุกสินค้าลงใน
ระวางเรือใหญ่ ส่วนใหญ่ใช้ในการขนสินค้าแบบเทกอง
(Bulk Cargo)
 Container Vessel เรือสินค้าที่ทำาการขนส่งโดยระบบตู้
คอนเทนเนอร์ มักมีเส้นทางเดินเรือแบบเครือข่าย
(Network service) หรือเส้นทางเดินเรือแบบรอบโลก
(Round the worldservice)
 Semi container Vessel เรือสินค้าที่มีรูปแบบการขนส่ง
ผสมผสาน ระหว่างเรือ Conventional กับเรือContainer
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 5การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
2. CHARTER TERM
 Voyage Charter เป็นการเช่าเหมาเรือแบบเที่ยว
 Time Charter เป็นการเช่าเหมาเรือแบบระยะเวลา
 Bareboat Charter เป็นการเช่าเหมาเรือเฉพาะตัวเรือ
เปล่าๆ ไม่รวมลูกเรือ
 Hybrid Charter เป็นการเช่าเหมาเรือแบบผสมผสาน
กัน
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 6การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ข้อแตก ต่างระหว่าง LINER VESSEL กับ CHARTER
VESSEL
หัวข้อเรื่อง LINER VESSEL CHARTER VESSEL
SHIPPING
SCHEDULES
มีตารางการเดินเรือที่
แน่นอน ซึ่งเรือจะเข้า
เทียบท่าตามวันเวลาที่
กําหนด
ไม่มีตารางการเดินเรือที่
แน่นอนCharterer เป็นผู้
กําหนด
FREIGHT CHARGE
Owner เป็นผู้กําหนด คิด
ตาม หน่วย เช่น นน.
ปริมาตร
Owner เรียกเก็บจาก
Charterer แบบเหมาลํา
หรือ อัตราต่อวัน
ผู้ว่าจ้าง Exporter & Importer Charterer
ปริมาณว่าจ้าง
ปริมาตร นน. หรือจํา
นวน Container
เหมาทั้งลํา หรือบางส่วน
ของเรือ
DEMURRAGE/DESPAT
CH
มีเฉพาะ Demurrage
ของ container ที่คืนตู้
ช้า
มีสัญญาว่าจ้าง (Charter
Party) กําหนด
อัตราDemurrage/
Despatch money
เส้นทางเดินเรือ
มีกําหนดเส้นทางเดิน
เรือที่ตายตัว (เหมือน รถ
ไม่มีตารางกําหนดเส้น
ทางเดินเรือ (เหมือน
การเช่าเหมา รถบัสดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 7การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
การนําเข้า –
ส่งออกสินค้าโดยระบบตู้คอนเทนเอนร์ -
Container ตู้คอนเทนเนอร์ (Container) คือ บรรจุภัณฑ์
หรือตู้ที่มีระบบมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ่่ใช้
บรรจุสินค้าเพื่อให้สะดวก และปลอดภัยใน
การขนส่ง
        
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 8การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ประเภทของตู้คอนเทนเนอร์
General purpose container (GP) หรือ Dry
container (DR) คือตู้ที่ใช้ในการบรรจุสินค้าทั่วไป
 ศัพท์ที่นิยมใช้เรียกกันในท่าเรือ หรือผู้ทําการขนส่ง
มักเรียกว่า ตู้แห้ง หรือ ตู้ Dry
 สินค้าทั่วไปที่สามรถใช้บรรจุกับตู้ GP ได้ เช่น
โทรทัศน์ ตู้เย็น เสื้อผ้า ไม้ เหล็ก ยางพารา สินค้า
กี๊ฟช็อบ รถยนต์ ของใช้ทั่วๆไป ฯลฯ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 9การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ขนาด กว้าง
/เมตร
ยาว/เม
ตร
สูง/เมต
ร
20 GP 2.35 5.89 2.39
40 GP 2.35 12.03 2.39
40 HC 2.35 12.03 2.69
45 HC 2.35 13.53 2.69
* GP - General purpose container
* HC - High cube General purpose container
ขนาดของตู้ General purpose
container
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 10การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
หมายเลขตู้สินค้า
Tare  คือ นำ้าหนักของตู้เปล่า
2230 kg.
Net  คือ สามารถบรรจุสินค้า
เข้าตู้ได้ไม่เกิน 28250 Kg
Max Gross คือ ตู้สินค้าตู้นี้
สามารถรับนำ้าหนักสินค้า +
นำ้าหนักตู้เปล่าแล้วต้องไม่เกิน
30480 Kg.
ตู้สินค้าจะต้องมีหมายเลขตู้สินค้ากำากับที่ผนัง
ตู้ทุกด้าน ทั้งด้านนอกและด้านใน
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 11การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ตารางเดินเรือ (SHIPPING
SCHEDULE)
 ตารางเดินเรือมีความสำาคัญ เป็นอย่างมากต่อการนำาเข้าและ
ส่งออก เพราะมีผลโดยตรงต่อการส่งมอบสินค้า
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 12การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ค่าระวางเรือ (FREIGHT
CHARGE)
 ค่าระวางเรือและค่าใช้จ่ายมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
 ค่าระวางในเส้นทางเดินเรือเดียวกันของสายเดินเรือต่างๆ ก็
อาจไม่เท่ากันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเส้นทางที่มีเรือนอก
ชมรมเดินเรือวิ่ง อยู่ในเส้นทาง
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 13การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ค่าระวางของเรือวิ่งประจำาเส้นทาง
 อัตราค่าระวางพื้นฐาน (Basic Freight Rate)
 เงินเก็บเพิ่มค่าปรับอัตรานำ้ามันที่เพิ่มขึ้น (Bunker
Adjustment Factor Surcharge- BAF)
 เงินเก็บเพิ่มค่าปรับอัตราแลกเปลี่ยนเงิน
ตรา(Currency Adjustment Factor Surcharge -
CAF)
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 14การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ค่าระวางพิเศษต่างๆ หรือค่าใช้จ่าย
พิเศษ
1. ค่าขนถ่ายตู้สินค้าที่ท่าเรือ (Terminal Handling
Charge - THC)
2. ค่าท่าคับคั่ง (Congestion Surcharge)
3. ค่าบรรจุสินค้าเข้าคอนเทนเนอร์ (Container Freight
Station Charge - CFS Charge)
4. ค่าออกเอกสาร
ฯลฯ
 ค่าระวางพิเศษต่างๆ หรือค่าใช้จ่ายพิเศษเหล่านี้บริษัท
เรือเรียกเก็บในอัตราค่อนข้างสูง
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 15การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
การขนส่งของทางอากาศ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 16การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
       กระบวนการส่งออกสินค้า      
  
     
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 17การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
ส่งออกสามารถเลือกใช้บริการส่งออก
ผ่านบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าได้
•บริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าจะทำาหน้าที่ส่วนใหญ่
• ผู้ส่งออกเพียงจัดเตรียมข้อมูลรายละเอียด
ของสินค้าและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวกับสินค้า
เวลา วันที่และเที่ยวบินที่ต้องการ พร้อมทั้งบรรจุ
หีบห่อให้เรียบร้อย จึงส่งมอบให้กับบริษัท
ตัวแทนขนส่งสินค้าที่มา : นิตยสาร Exporter Review. ปี 20 ฉบับ 475 ปักษ์หลัง พค. 2550
การส่งออกสินค้าทางอากาศ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 18การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
แต่หากผู้ส่งออกทำาการส่งมอบให้กับสายการบิน
โดยตรง ผู้ส่งออกจะต้องดำาเนินการเอง ดังนี้
• 1. ผ่านการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ
และเจ้าหน้าที่ศุลกากรต้นทาง
• 2. แล้วจึงนำาบรรทุกในเที่ยวบินของบริษัทฯ ไป
ยังท่าอากาศยานปลายทาง
•3. ผ่านการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ศุลกากร
ปลายทางอีกครั้ง ก่อนที่ผู้รับปลายทางจะมารับ
สินค้า (ด้วยตนเอง หรือผ่านทางบริษัทตัวแทนผู้
ส่งออก)
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 19การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
1. Invoice
2. Packing List
3. กรมธรรม์ประกันภัยขนส่งสินค้า
4. ตั๋วแลกเงิน
5. เอกสารสำาคัญที่เกี่ยวข้องเฉพาะสำาหรับ
การขนส่ง ได้แก่ ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ
(Air Waybill) / ใบตราส่งสินค้าทางเรือ
เอกสารที่ผู้ส่งออกต้องเตรียม
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล 20การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งchakaew4524
 
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งExim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งWannarat Wattananimitkul
 
INCOTERM2010 seminar by Logistics2day
INCOTERM2010 seminar by Logistics2dayINCOTERM2010 seminar by Logistics2day
INCOTERM2010 seminar by Logistics2dayLogistics2day
 
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการExim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการWannarat Wattananimitkul
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
KleinTech Services Machine Vision Solutions for Logistics
KleinTech Services Machine Vision Solutions for LogisticsKleinTech Services Machine Vision Solutions for Logistics
KleinTech Services Machine Vision Solutions for LogisticsJuris Puce
 
Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408
Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408
Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408sgbangad
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ chakaew4524
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6Khwanchai Changkerd
 
Exim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชาExim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชาWannarat Wattananimitkul
 
Exim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อExim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อWannarat Wattananimitkul
 
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าWannarat Wattananimitkul
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1Khwanchai Changkerd
 
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้าExim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้าWannarat Wattananimitkul
 
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซีExim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซีWannarat Wattananimitkul
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 

Viewers also liked (20)

Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
 
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่งExim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
Exim5เงื่อนไขราคาและการขนส่ง
 
E-Marketplace V1.10
E-Marketplace V1.10E-Marketplace V1.10
E-Marketplace V1.10
 
INCOTERM2010 seminar by Logistics2day
INCOTERM2010 seminar by Logistics2dayINCOTERM2010 seminar by Logistics2day
INCOTERM2010 seminar by Logistics2day
 
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการExim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
Exim3วิธีการดำเนินงานของผู้ประกอบการ
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
KleinTech Services Machine Vision Solutions for Logistics
KleinTech Services Machine Vision Solutions for LogisticsKleinTech Services Machine Vision Solutions for Logistics
KleinTech Services Machine Vision Solutions for Logistics
 
Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408
Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408
Codan marine insurance policy of Suzlon Energy A/S effective 010408
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
 
Exim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชาExim1คำอธิบายรายวิชา
Exim1คำอธิบายรายวิชา
 
Exim1บทนำ
Exim1บทนำExim1บทนำ
Exim1บทนำ
 
Exim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อExim4การดำเนินงาน ต่อ
Exim4การดำเนินงาน ต่อ
 
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
การรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 1
 
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้าExim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
Exim8เครดิตเพื่อการส่งออกและนำเข้า
 
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซีExim7การชำระเงินด้วยแอลซี
Exim7การชำระเงินด้วยแอลซี
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 

Exim10การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ(ต่อ)