SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ตระกูลภาษาอินโด-ยุโรป (Indo-
European)
ภาษาที่มีรูปวิภัตติปัจจัย (Inflectional
Language)
ตระกูลภาษาอารยันในอินเดีย 3 สมัย
ภาษาพระเวท
ภาษาปรากฤต
ภาษาอินเดียปัจจุบัน
ภาษาสันสกฤต
• ต้นกาเนิดจากภาษาในคัมภีร์พระเวท
• ถือเป็ นภาษาชั้นสูงและศักดิ์สิทธิ์ ภาษาเฉพาะของนักปราชญ์
• ปาณินิ “อัษฎาธยายี (อษฺฎาธฺยายี)” = ไวยากรณ์เล่มแรกของโลก
• ภาษาตาย (Dead Language)
• ภาษาปรากฤต >> ภาษามาคธี >> ภาษาบาลี
• ภาษามาคธีเป็ นภาษาธรรมดาที่ใช้พูดกันในแคว้นมคธและ
พระพุทธเจ้าใช้เป็ นภาษาประกาศพระพุทธศาสนา
• ภาษาบาลีเป็ นภาษาที่ตกแต่งมีความสละสลวย และเป็ นภาษาที่พระ
อรรถกถาจารย์ใช้เรียบเรียงในพระไตรปิ ฎก
พราหมณ์
พุทธศาสนา
รามายณะ
มหาภารตะ
พระไตรปิ ฎก
พราหมณ์ปุโรหิต
หน่วยเสียงสระภาษาบาลี
รัสสระ ฑีฆสระ ฐานที่เกิด
อะ
อิ
อุ
อา
อี
อู
ลาคอ
เพดาน
ริมฝีปาก
สระเดี่ยว
สระประสม
เอ (อะ+อิ)
โอ (อะ+อุ)
หน่วยเสียงสระภาษาสันสกฤต
• หน่วยเสียงสระภาษาสันสกฤตมี 13 หน่วยเสียง
สระเดี่ยว
ฤ ฤๅ ฦ
สระประสม
ไอ (อะ+เอ)
เอา (อะ+โอ)
หน่วยเสียงพยัญชนะภาษาบาลี
หน่วยเสียงพยัญชนะในภาษาบาลีมี 33 หน่วยเสียง
• พยัญชนะวรรค
– ก ข ค ฆ ง
– จ ฉ ช ฌ ญ
– ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
– ต ถ ท ธ น
– ป ผ พ ภ ม
• พยัญชนะเศษวรรค
– ย ร ล ว ส ห ฬ ๐
การยืมคาภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย
๑. ทับศัพท์
๒. เปลี่ยนแปลงเสียงและความหมาย
๓. การกลายความหมาย
๔. การกลายเสียงเพื่อให้กลาย
ความหมาย
๑.๑ คงรูปและเสียงเหมือนเดิม เช่น โทโส โมโห เมตตา อาวุโส พาล กุมาร
๑.๒ คงความหมายเดิมและใช้ทั้งสองรูป
สันสกฤต บาลี ไทย ความหมาย
พฤกฺษ รุกฺข รุกข, พฤกษ์ ต้นไม้
มฤตฺยู มจฺจุ มฤตยู, มัจจุราช ความตาย
ภิกฺษุ ภิกฺขุ ภิกษุ, ภิกขุ ผู้ขอ
ศฺรี สิริ ศรี, สิริ มิ่งขวัญ
๑.๓ เลือกใช้คาภาษาใดภาษาหนึ่งที่ออกสียงได้สะดวก ฟังไพเราะกว่า เช่น
สันสกฤต บาลี ไทย ความหมาย
ศิลฺป สิปฺป ศิลปะ ฝีมือ
รกฺษ รกฺข รักษา อนุรักษ์, รักษา
นาฑิกา นาฬิกา นาฬิกา เครื่องบอกเวลา
เนตฺร เนตฺต เนตร ดวงตา
๑.๔ .ใช้ทั้งสองภาษาแต่ในความหมายต่างกัน เช่น
ความหมาย สันสกฤต บาลี ไทย
การเล่นสนุก กรีฑา กีฬา กรีฑา กีฬาประเภทลู่, ลาน
ที่มีกฎ
กีฬา การเล่นเพื่อสนุก,
การออกกาลังกายและบริหาร
การเพาะปลูก เกษตฺร เขตฺต เขต อาณาบริเวณ, แดน,
แคว้น
เกษตร การเพาะปลูก. นา.
ไร่
๒.๑ การเปลี่ยนแปลงเสียงสระเพื่อให้ออกเสียงสะดวก เช่น
อะ เป็น อิ, อี เช่น วรุณ เป็น พิรุณ
วชิร เป็น วิเชียร
อะ เป็น เอะ, อู เช่น ปัญจ เป็น เบญจ
วชร เป็น เพชร
(ดูการเปลี่ยนแปลงด้านเสียงเพิ่มเติมจากหนังสือ ภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย ของ นันตพร นิลจินดา)
๒.๒ การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะ
๒.๒.๑ การกร่อนเสียงโดยการตัดพยางค์ เช่น
ตัดพยางค์หน้า อนุช นุช
อุโบสถ โบสถ์
ตัดพยางค์กลาง ชนมพรรษา ชันษา
เดียงภาสา เดียงสา
ตัดพยางค์หลัง อาชาไนย อาชา
อหิวาตกโรค อหิวาห์
๒.๒.๒ เปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะที่มีฐานเกิดใกล้กัน เช่น
ต – ด ตารา เป็ น ดารา
ติถี เป็ น ดิถี
ฎ – ฏ ฏีกา เป็ น ฎีกา
ปี ฏก เป็ น ปี ฎก
ส – ฉ สลาก เป็ น ฉลาก
สิมพลี เป็ น ฉิมพลี
ก – ข กนิษฐา เป็ น ขนิษฐา
กบฏ เป็ น ขบถ
๒.๒.๓ การเปลี่ยนแปลงโดยการลงอาคม
ยาจก กระยาจก
มายา มารยา
มาดา มารดา
นิร นิราศ
ลีลา ลีลาศ
ราตรี ราษตรี
๒.๓ การเปลี่ยนแปลงเสียงวรรณยุกต์ เช่น
เสนห เสน่ห์
วิเทห วิเท่ห์
สมย สมัย
• ความหมายแคบเข้า
บาลีและสันสกฤต ความหมายเดิม ไทยนามาใช้
พายุ ลมทั่วๆ ไป ลมพัดแรงจัด
บาป ความชั่ว ลามก ผลของความชั่ว
ทัพพี ช้อนไม่จากัดว่าใหญ่
หรือเล็ก
ช้อนขนาดใหญ่ใช้ตัก
ข้าวหรือแกง
ประหาร ต่อย ตบตี ยิง ฆ่า ฟัน การฆ่าให้ตาย
• ความหมายกว้างออก
บาลีและสันสกฤต ความหมายเดิม ไทยนามาใช้
อคฺนิ ไฟ ไฟ, หินชนิดหนึ่ง
กมล ดอกบัว ดอกบัว, จิตใจ
บริเวณ กุฏิ เขตที่อยู่ของสงฆ์ เขตทั่วๆ ไป
• ความหมายย้ายที่
บาลีและสันสกฤต ความหมายเดิม ไทยนามาใช้
สวาท ชิม รส อร่อย หวาน ความรัก ความยินดี
ปญชร กรงนก หน้าต่าง
ศฤงคาร ความรัก ทรัพย์สมบัติ
เสาวนีย์ ที่ควรฟัง, ที่น่าฟัง คาพูด
อโหสิ ได้มีแล้ว ยกโทษให้
ดัสกร ขโมย ศัตรู
วร แปลว่า ประเสริฐ ไทยแปลงเสียงเป็น พร (พอน) หมายถึง
รางวัลที่จะขอจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และแปลงเสียงเป็น “พระ”
หมายถึง ประเสริฐ
บริหาร แปลว่า การนาออกไป การดูแลรักษา กล่าวแก้ แก้ความ
บกพร่องทาให้ดีขึ้น เช่น บริหารร่างกาย บริหารแผ่นดิน

More Related Content

What's hot

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาChinnapat Noosong
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการyahapop
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 

What's hot (20)

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

Viewers also liked

บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงWilawun Wisanuvekin
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนWilawun Wisanuvekin
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารWilawun Wisanuvekin
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
Introduction to linguistics lec 1
Introduction to linguistics lec 1Introduction to linguistics lec 1
Introduction to linguistics lec 1Hina Honey
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคมWilawun Wisanuvekin
 

Viewers also liked (8)

บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
Introduction to linguistics lec 1
Introduction to linguistics lec 1Introduction to linguistics lec 1
Introduction to linguistics lec 1
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
 

Similar to หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80Rose Banioki
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิWataustin Austin
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar to หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย (20)

ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
01
0101
01
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย