SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  48
Télécharger pour lire hors ligne
Add Your Company Slogan




วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง



      Company Logo
เนื้อหา
1 ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์

2   องค์ประกอบของศาสนา

3   พัฒนาการของศาสนา

4 ประเภทศาสนา

5   ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน

6   ความสอดคล้องของศาสนาสาคัญของโลกปัจจุบน
                                         ั
                         วีดิทัศน์ : ความรู้เบื้องต้นเกียวกับศาสนา
                                                        ่
                                       ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์
     ศาสนา เป็นลัทธิ ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติ
    หรือหลักการ สถาบัน หรือประเพณี ที่เคารพนับถือ
     กล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุม และประสานความสัมพันธ์
    ของมนุษย์ ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข หลักการและวิถีทางที่
    มนุษย์เลือกใช้ในการดารงชีวิต


ภาพ : กิจกรรมชาว การประกอบพิธีกรรมในโอกาสต่าง ๆ
ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียนประภัสสรรังสิต
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์


                 ภาพ : ศาสนาเป็นโครงสร้างทางสังคมของโลก
                 ที่มา : http ://www.thaigoodview.com


                              ความหมายของศาสนา
   ศาสนา หมายถึง คาสอน อันเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
 ของมนุษย์ เป็นคาสอนที่เกี่ยวกับศีลธรรมจรรยา และถือ
 การปฏิบัติเพื่อให้ดาเนินชีวิตรอดพ้นจากความทุกข์
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์

                                           ภาพ : การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ
                                           ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
มูลเหตุที่เกิดศาสนา มีสาเหตุดังนี้
  1. เกิดจากความกลัว
  2. เกิดจากความไม่รู้
  3. เกิดจากความต้องการทีพึ่งทางใจ
                         ่
  4. เกิดจากความจงรักภักดี
  5. เกิดจากอิทธิพลของบุคคลสาคัญ
  6. เกิดจากการแสวงหาเหตุผล เพื่อให้รู้แจ้งเห็นจริง
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์

                                          ภาพ : พิธีกรรมของศาสนา ต่าง ๆ
                                          ที่มา : http ://www.palungjit.com

 1. เกิดจากความกลัว มนุษย์กลัว ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เป็นภัยต่อ
    ตน จึงมีการสวดอ้อนวอน บวงสรวงบูชาเพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
    คุ้มครองและดลบันดาลในสิ่งที่ตนต้องการ
 2. เกิดจากความไม่รู้ ความไม่รู้ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของธรรมชาติ
    จึงคิดว่าเป็นการกระทาของพระเจ้า จึงเกิดการเคารพบูชา
 3. เกิดจากความต้องการที่พึ่งทางใจ เนื่องจากมนุษย์ต้องเผชิญกับ
    ปัญหาหลายอย่างในการดาเนินชีวิต จึงต้องมีเครื่องยึดเหนี่ยวใจ
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์

                      ภาพ : พระโพธิ์สัตว์/พุทธทาสภิกขุ
                      ที่มา : http ://www.thaigoodview.com

   4. เกิดจากความจงรักภักดี ความเชื่อและความศรัทธาในสิ่ง
   ศักดิ์สิทธิ์ว่าสามารถจะอานวยประโยชน์ให้แก่ตนเองได้
   5. เกิดจากอิทธิพลของบุคคลสาคัญ ได้แก่ การบูชาบรรพบุรุษ
   และผีวีรบุรุษ เพื่อขอความช่วยเหลือและคุ้มครอง
   6. เกิดจากการแสวงหาเหตุผล เพื่อให้รู้แจ้งเห็นจริง หมายถึง
   การใช้ปัญญาไตร่ตรองเพื่อค้นหาความจริงของชีวิต เพื่อให้
   รู้จักสภาวะที่แท้จริงของชีวิต
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์
                             ภาพ : วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
ความสาคัญของศาสนา            ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน

1 เป็นพื้นฐานของศีลธรรม ระเบียบ กฎเกณฑ์ของสังคม
2 เป็นแหล่งกาเนิดจริยธรรม
3 เป็นบรรทัดฐานของสังคม
4 เป็นกลไกของรัฐในการควบคุมสังคม
5 เป็นบ่อเกิดแห่งศิลปวัฒนธรรม


                     ภาพ : กิจกรรมทางศาสนา เทศกาลต่าง ๆ
                     ที่มา : http://www.palungjit.com
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์



   คุณค่าของศาสนา
   1.   ทาให้ผู้นับถือศาสนามีความรับผิดชอบต่อตนเอง
   2.   ช่วยปลูกฝังความมีศีลธรรมให้แก่ผู้นับถือ
   3.   ช่วยทาให้มนุษย์มีความสงบสุข
   4.   เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตของบุคคล
   5.   เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์
         วีดิทัศน์ : คุณค่าของศาสนา   ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์
           สรุป ศาสนาทุกศาสนา มีจุดมุ่งหมายสูงสุดในชีวิตที่
  สอดคล้องกัน คือ ความเป็นหนึ่งเดียวกันและมีแนวปฏิบัติ
  เหมือนกันในเรื่องความรัก ความเมตตา เรื่องศีลธรรมจรรยา




               ภาพ : พิธีกรรมทางศาสนาต่าง ๆ
               ที่มา : http://www.palungjit.com

       วีดิทัศน์ : ความรู้เบื้องต้นเกียวกับศาสนา
                                      ่            ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์



                       ภาพ : พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก
                       ที่มา : http://www.thaimuslim.com

 สาหรับประเทศไทย มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา โดย
 พระมหากษัตริย์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภ์ทุกศาสนา
 ศาสนาสาคัญในประเทศไทย ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนา
 อิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์
    วีดิทัศน์ : การนับถือศาสนาในประเทศไทย       ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
องค์ประกอบของศาสนา
                                                      วีดิทัศน์ : องค์ประกอบของศาสนา
  1. มีศาสดา                                          ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์

  2. มีหลักคาสอน หรือคัมภีร์ของศาสนา
  3. มีศาสนพิธี ศาสนาต้องมีพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจาก
คาสอนในศาสนา
  4. มีสาวกหรือคณะบุคคล ที่สืบทอดคาสอนในศาสนา
  5. มีศาสนสถาน
  6. มีสัญลักษณ์ทางศาสนา
       ภาพ : กิจกรรมชาวพุทธ
       ที่มา : http://www.prs.ac.th กิจกรรมโรงเรียน
องค์ประกอบของศาสนา
                           ภาพ : ผลงานนักเรียน/ภาพเขียน/ภาพถ่ายพระพุทธรูป
                           ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน




    ศาสดา หมายถึง ผู้ก่อตั้งศาสนา เป็นบุคคลที่
มีชีวิตจริงใน ประวัติศาสตร์
องค์ประกอบของศาสนา
                                              ภาพ : พระคาภีร์อัลกุระอาน
                                              ที่มา : http://www.nasee212cafe.com




 หลักคาสอน หรือคัมภีร์ของศาสนา
พระไตรปิฎก อัลกุรอาน ไบเบิ้ล ฯลฯ
       ภาพ : ผลงานนักเรียน/ภาพถ่าย ตู้พระไตรปิฎก วัดศรีทวี
       ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียนประภัสสรรังสิต
องค์ประกอบของศาสนา
  ภาพ : ผลงานนักเรียน/ภาพเขียน/ภาพถ่ายพระพุทธรูป
  ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน




 ศาสนพิธี พิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจากคาสอนในศาสนา
เช่นการถวายผ้าอาบน้าฝน เวียนเทียน อุปสมบท พิธีล้างบาป
องค์ประกอบของศาสนา
         ภาพ : พระสันปาปา เบเดดิกส์ที่ 6
         ที่มา : http ://www.dra.go.th
                                                    ภาพ : กิจกรรมนักเรียน / ภาพถ่ายพระสงฆ์
                                                    ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน




                     ภาพ : นักบวชลัทธิต่าง ๆ
                     ที่มา : http://www.palungjit.com

                        สาวกหรือคณะบุคคลที่สืบทอด
                       คาสอนในศาสนา เช่น ภิกษุ นักพรต
                       นักบวชในศาสนาต่าง ๆ
องค์ประกอบของศาสนา               ภาพ : ศาสนสถานต่าง ๆ
                                 ที่มา : http://www.palungjit.com




 ศาสนสถาน สถานที่ในการประกอบศาสนกิจและ
ศาสนพิธีของศาสนา เช่นวัด มัสยิด โบสถ์ เทวาลัย ฯลฯ
องค์ประกอบของศาสนา




                    ภาพ : กิจกรรมนักเรียน / ภาพถ่ายวันสาคัญทางศาสนา
                    ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน

 ศาสนิกชน ทุกศาสนาจะต้องมีศาสนิกชนผู้นับถือศาสนา
  นั้น ๆเช่น ชาวพุทธ ชาวคริสต์ ชาวอิสลาม
พัฒนาการของศาสนา
   ศาสนาเกิดมาจากความต้องการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์
นับแต่ อดีตมนุษย์จะสงสัยว่าสิ่งต่างๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทาไม
ต้องเกิดขึ้น จะเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ เปลี่ยนแปลงแล้วจะเกิดผล
อย่างไร จนนามาสู่การค้นหาแนวทางคาสอนต่างๆ




 ภาพ : พระเยซูกับสาวก 12 ร่วมกันหาแนวทางศาสนา
 ที่มา : http://www.thaigoodview.com
พัฒนาการของศาสนา
   การแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ จึงเกิดเป็นความเชื่อความเลื่อมใส
เช่น ศาสนาพุทธ เกิดจากเจ้าชายสิทธัตถะ ทรงเห็นความทุกข์ จึง
ทรงหาแนวทางให้หลุดพ้น ด้วยวิธีการต่างๆ นานา จนค้นพบ
อริยสัจ 4 ด้วยวิธีการที่เรียกว่า ทางสายกลาง




                      ภาพ : พระพุทธเจ้าแสวงหาทางหลุดพ้นด้วยวิธีต่าง ๆ
                      ที่มา : http://www.atcloundt.com
พัฒนาการของศาสนา
   เป็นการฝึกจิตด้วยสมาธิจนถึงซึ่งความรู้แจ้ง และความดับ
ความทุกข์ ทรงตรัสรู้ เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
   ทรงสอนให้มนุษย์ ให้ ทาบุญ รักษาศีล และภาวนา เพื่อจะได้
เป็นแนวทางในการพ้นทุกข์ของมหาชน




         ภาพ : พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญเพียรทางจิตจนตรัสรู้
         ที่มา : http://www.atcloundt.com
พัฒนาการของศาสนา
 การเกิดและพัฒนาการของศาสนาแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม
                              1. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
                               2. พัฒนาการไปสูความจริง
                                               ่
                               3. คือความจริงแท้ (วิทยาศาสตร์)




   ภาพ : พระสงฆ์ทรงเผยแผ่คาสอน
   ที่มา : http://www.atcloundt.com
พัฒนาการของศาสนา
1. ศาสนา เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
2. ศาสนาค่อย ๆ พัฒนาการไปสูสภาวะแห่งความจริงมากขึ้นเรื่อย ๆ
                               ่
3. ศาสนาบางศาสนา คือความจริงแท้




                         ภาพ : จิตรกรรมความเชื่อทางศาสนา
                         ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
พัฒนาการของศาสนา


  ศาสนาหลัก ๆ ถ้ามองตามเป้าหมายในเรื่ององค์สูงสุด
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ
  ศาสนาที่ยึดถือองค์สูงสุด(พระเจ้า)เป็นเป้าหมาย

  ศาสนาที่ไม่ยึดถือองค์สูงสุด(พระเจ้า)เป็นเป้าหมาย
พัฒนาการของศาสนา


 ศาสนามองตามเป้าหมายในเรื่ององค์สูงสุด
มีความเชื่อยอมรับว่า องค์สูงสุด(พระเจ้า)มีจริง คือ ศาสนาคริสต์
และศาสนาอิสลาม ผู้นับถือมีเป้าหมายเพื่อการเข้าไปรวมอยู่ใน
อาณาจักรของพระเจ้า
    ศาสนาพุทธยอมรับการมีอยู่ขององค์สูงสุดเช่นเดียวกัน
แต่เรียกต่างกันว่า อรูปพรหม
พัฒนาการของศาสนา
   ศาสนาพุทธ ไม่มีเป้าหมายเพื่อการไปรวมอยู่กับอรูปพรหม
เพราะการรวมอยู่กับอรูปพรหม เมื่อหมดเหตุปัจจัยก็ยังต้องเวียน
ว่าย อยู่ในสังสารวัฏ อันมีต่าสุด คือ นรก อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทาง
ที่จะหลุดพ้นจากสังสารวัฏได้จึงมีทางเดียวเท่านั้นคือ นิพพาน
    สิ่งสูงสุด คือ อรูปพรหม (มุสลิมเรียกว่า อัลลอฮ์)
ประเภทของศาสนา
ศาสนา จัดตามลักษณะ ได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
  1. ธรรมชาตินิยม
  2. เทวนิยม
                        ภาพ : จตุคามรามเทพ/เทพเจ้าต่าง ๆ
  3. อเทวนิยม           ที่มา : http ://www.thaigoodview.com




                                      วีดิทัศน์ : ประเภทของศาสนา
                                      ที่มา : CD-ROM บริษัท ทีชชิ่งทอยส์
ประเภทของศาสนา

                            จัดตามการดารงอยู่ของศาสนา
                                ศาสนาที่ตายแล้ว (Dead Religions)
                                ศาสนาที่ยังชีวิตอยู่ (Living Religions)


                            จัดตามความเชื่อที่เกี่ยวกับพระเจ้า
                                ประเภทอเทวนิยม (Aitheism)
                                ประเภทเทวนิยม (Theism)
ภาพ : จตุคามรามเทพ
ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ประเภทของศาสนา

  ศาสนาที่ตายแล้ว ( Dead Religions) หมายถึง
ศาสนาที่ไม่มีผู้นับถือแล้วในปัจจุบัน เช่น ศาสนา
ของอียิปต์โบราณหรือของโรมันโบราณ

                  ศาสนาที่ยังมีชีวิตอยู่ (Living Religions) หมาถึง
               ศาสนาที่ในปัจจุบันยังมีผู้นับถืออยู่ ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-
               ฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนา
               ซิกข์ เป็นต้น
                  ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ
                  ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ประเภทของศาสนา




                                         ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ
                                         ที่มา : http ://www.thaigoodview.com


    เอกเทวนิยม มี ความเชื่อในพระผู้เป็นเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว ได้แก่
ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาซิกข์ ฯลฯ
    พหุเทวนิยม มีความเชื่อในเทพเจ้าหลายองค์ ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ประเภทของศาสนา




                                       ประเภทเทวนิยม (Theism) ได้แก่ ลัทธิที่นับ
                                       ถือพระผู้เป็นเจ้าสูงสุด

                                     ประเภทอเทวนิยม (Atheism) หมายถึง ความเชือว่าโลก
                                                                                  ่
                                     และสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นศาสนาที่ไม่เชื่อ
ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ                  ในเรื่องพระผู้เป็นเจ้า ได้แก่ ศาสนาพุทธและศาสนาเชน
ที่มา : http ://www.siamganesh.com
ประเภทของศาสนา
   1. ธรรมชาตินิยม คือเชื่อว่ามีเทพเจ้าต่างๆอยู่มากมายอยู่ตาม
ธรรมชาติ สามารถดลบันดาลตามประสงค์ของพระองค์ได้
  2. เทวนิยมเชื่อว่ามีเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่เหนือกว่าสิ่งทั้งหลาย หรือ
เรียกกันว่าพระเจ้า พระองค์เป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่ง




                           ภาพ : ความเชื่อในเทพเจ้าต่าง ๆ
                           ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ประเภทของศาสนา
        เทวนิยม เชื่อว่า มีเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่คอยปกป้องดู พระเจ้า
    ติดต่อกับมนุษย์ โดยผ่านศาสดาพยากรณ์หลายองค์
    เช่น พระอัลเลาะห์ ติดต่อกับท่าน นบีมุฮัมหมัด พระยะโฮวาห์
    ทรงติดต่อกับ ท่านโมเสส




ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ
ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ประเภทของศาสนา

      1. เอกเทวนิยม เชื่อว่า มีพระเจ้าสูงสุด เพียงพระองค์เดียว
       ศาสนาคริสต์

       ศาสนาอิสลาม

       ศาสนายิว

       ศาสนาซิกข์




ภาพ : จิตรกรรมเรื่องราวเทพเจ้าต่าง ๆ
ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ประเภทของศาสนา
2. ทวิเทวนิยม เชื่อว่า มีพระเจ้าอยู่ 2 พระองค์
 ศาสนาโซโรอัสเตอร์

 ศาสนามาณีกี ( ศาสนาที่ตายแล้ว )




  ภาพ : คาสอนทางศาสนาด้านต่าง ๆ
  ที่มา : http ://www.rmutphysics.com
ประเภทของศาสนา
3. พหุเทวนิยม เชื่อว่ามีพระเจ้าสูงสุดหลายพระองค์
  ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

  ศาสนาชินโต

  ศาสนากรีก

   (เป็นศาสนาที่ตายแล้ว)



                          ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ผู้นับถือศาสนาฮินดู
                          ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ประเภทของศาสนา

อเทวนิยม
     ศาสนาประเภทนี้ไม่เชื่อใน พระเจ้าสร้างโลกและสรรพสิ่ง ไม่เชื่อว่ามี
พระเจ้าองค์เดียวคอยดลบันดาลให้บุคคลเจริญหรือเสื่อม
    ทุกอย่างเกิดจากปัจจัยและเชื่อว่ากรรมเป็นการเปลี่ยนแปลง เช่น การ
กระทาของตนเองเป็นผู้บันดาล สิ่งต่างๆให้ตนเอง (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)
เป็นผู้กาหนดชะตาชีวิตของตนเอง
    ทุกสิ่งเป็นไปตามปัจจัย ไม่มีอะไรเกิดขึ้นเองได้โดยไม่ต้องอาศัยอะไร
ศาสนาประเภทนี้ เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน
ประเภทของศาสนา
ศาสนาที่ไม่เด่นชัดว่าเป็น เทวนิยม หรือ อเทวนิยม
 ศาสนาเต๋า แบบเต๋าเจีย หรือ ที่เล่าจื๊อกล่าวไว้ แต่ "เต๋า" คืออะไร

ไม่แจ้งชัด ถ้าเป็นเทพเจ้า ศาสนาเต๋าก็เป็นเทวนิยม แต่หากนามธรรม
ศาสนาเต๋าก็เป็นศาสนาอเทวนิยม
 ศาสนาขงจื๊อ สอนให้คนนับถือธรรมชาติ แต่ก็ให้ความสาคัญต่อ

มนุษย์ จึงยากที่จะจัดเป็น เทวนิยม หรือ อเทวนิยม แต่แน่ชดว่าเป็น
                                                            ั
"มนุษยนิยม"
ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน
 ศาสนาคริสต์
   โรมันคาทอลิก

   โปรเตสแตนต์

   ออร์ทอดอกซ์

 ศาสนาซิกข์
   นานักปันถิ

   ขาลฺสา

   นิลิมเล


                          ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ผู้นับถือศาสนาฮินดู
                          ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน
 ศาสนาอิสลาม
   สุหนี่

   ชีอะห์

 ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
   ไศวะ

   ไวษณพ

   ศักติ

 ศาสนาพุทธ
   เถรวาท

   มหายาน

   วัชรยาน               ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ผู้นับถือศาสนาฮินดู
                          ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน
 ศาสนายิว
   ออร์ทอดอกซ์ (ฟาริซ) ี
   โปรเกรสซีฟ (ซัดดูคูส)

   นักพรต (เอสเซเนส)

 ศาสนาเชน
   ทิคัมพร

   เศวตัมพร

 ศาสนาโซโรอัสเตอร์
   กัทมิส                  ภาพ : จิตรกรรมเรื่องราวทางศาสนา ผู้นับถือศาสนาต่างๆ
                            ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
   ชหันชหิส

 ศาสนาบาไฮ
ลัทธิความเชื่อในภูมิภาคต่าง ๆของโลก
    ชินโต
    ขงจื๊อ
    เต๋า
    วูดู
    พุทธตันตระ
    ลัทธิหัวเหา
    ลัทธิเก๋าได่
    ลัทธิมาณีกี
    ลัทธิโอมชินริเกียว
                          ภาพ : จิตรกรรมเรื่องราวทางศาสนา/ลัทธิต่าง ๆ
    ลัทธิชอนโดเกียว      ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
แผนภูมิแสดงภูมภาคด้านศาสนาต่าง ๆ ที่นับถือในโลกปัจจุบัน
              ิ




                              ภาพ : แผนภูมิด้านศาสนาสาคัญต่างๆ ในโลก
                              ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
เปรียบเทียบ เปอร์เซ็นการนับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลกปัจจุบัน




   ภาพ : แผนภูมิการนับถือศาสนาต่าง ๆศาสนิกชนโลก
   ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
ความสอดคล้องของหลักธรรมคาสอนของศาสนาสาคัญ

 ศาสนาองค์ประกอบ   พราหมณ์-ฮินดู           พุทธ                คริสต์            อิสลาม

พระเจ้าสูงสุด      พระวิษณุ        ----------------    พระยะโฮวา           พระอัลเลาะห์
                   พระพรหม         ----------------
                   พระศิวะ         -----------------
พระศาสดา           ไม่ปรากฎ        พระพุทธเจ้า         พระเยซูคริสต์       ท่านนบีมูฮัมมัด
คัมภีร์ทางศาสนา    คัมภีร์พระเวท   พระไตรปิฎก          คัมภีร์ไบเบิ้ล      คัมภีร์ฮัล-กุรอาน
หลักคาสอนสาคัญ     หลักอาศรม 4     อริยะสัจ 4          หลักตรีเอกกานุภาพ   หลักศรัทธา 6
                   หลักปุรุษารถะ   กรรม                หลักความรัก         หลักปฏิบัติ 5
                   หลักภควัทคีตา   ไตรลักษณ์           อาณาจักรพระเจ้า
                   หลักปรมาตมัน    ขันธ์ 5             บัญญัติ10ประการ
                   หลักโมกษะ
นิกายสาคัญ         นิกายไศวะ       นิกายเถรวาท         นิกายโรมันคาทอลิค   นิกายซุนนี
                   นิกายไวษณพ      นิกายมหายาน         นิกายออร์ทอด็อกซ์   นิกายชีฮะห์
                   นิกายพรหม                           นิกายโปรแตสแตนต์    นิกายวาฮาบี
                                                                           นิกายซูฟี
ประเทศปัจจุบันต่าง ๆในดินแดนชมพูทวีป หรือเอเชียใต้
                   ประเทศ                เมืองหลวง   ประชากร(ล้านคน)     พื้นที่   การปกครอง
สาธารณรัฐอินเดีย                        นิวเดลี          1,002.1       3,293,147 ประชาธิปไตย
สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน                 อิสลามาบัด        150.6        807,048     เผด็จการ
ราชอาณาจักรเนปาล                        กาฐมาณฑุ          23.9         145,954     ประชาธิปไตย
สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ               ธากา              128.1        145,114     เผด็จการ
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา   โคลัมโบ           19.2         65,863      เผด็จการ
ราชอาณาจักรภูฏาน                        ทิมพู              0.9         47,182      ประชาธิปไตย
สาธารณรัฐมัลดีฟส์                       มาเล               0.3         299         ประชาธิปไตย
รัฐอิสลามอัฟกานิสถาน                    คาบูล             25.8         652,098     เผด็จการ
ศาสนาสาคัญของโลกในชมพูทวีปปัจจุบัน
                    ประเทศ               อิสลาม         พุทธ       ฮินดู  ศาสนาประจาชาติ
                                        (ร้อยละ)      (ร้อยละ)   (ร้อยละ)
สาธารณรัฐอินเดีย                          14             5        80      ฮินดู(พราหมณ์)
                                                                          80%
สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน                   97             2         1      อิสลาม(ชีฮะห์)
ราชอาณาจักรเนปาล                           3             5        90      ฮินดู (90%)
สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ                 88             5        10      อิสลาม(ซุนนี)
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา      8            69        15      พุทธ(เถรวาท)
ราชอาณาจักรภูฏาน                           5            75         0      พุทธ(มหายาน
                                                                          75%)
สาธารณรัฐมัลดีฟส์                        100             0         0      อิสลาม(ซุนนี)
สาธารณรัฐอิสลามอัฟทวีปแหล่งรวมลัทธิ ศาสนา
   ดินแดนชมพู กานิสถาน                 100         ศาสนาฮินดูมีบทบาทมากที่สลาม(ซุนเนปาล
                                                        0         0    อิส ุด ใน นี85%)
อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ
สืบค้นข้อมูลจาก
               http://www.bloggang.com
               http://www.csloxvphone.com
               http://www.thaigoodview.com
               http://www.thaisikh.org
                               Add Your Company Slogan
               http://www.travel.thaiza.com
               http://www.oknation.net
               http://www.palungdham.com
               http://www.palungjit.com




                                        คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด
วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง

                 Company Logo

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 

Tendances (20)

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 

Similaire à ความหมายและประเภทของศาสนา

วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Satheinna Khetmanedaja
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติMartin Trinity
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 

Similaire à ความหมายและประเภทของศาสนา (20)

Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
San
SanSan
San
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 

ความหมายและประเภทของศาสนา

  • 1. Add Your Company Slogan วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง Company Logo
  • 2. เนื้อหา 1 ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ 2 องค์ประกอบของศาสนา 3 พัฒนาการของศาสนา 4 ประเภทศาสนา 5 ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน 6 ความสอดคล้องของศาสนาสาคัญของโลกปัจจุบน ั วีดิทัศน์ : ความรู้เบื้องต้นเกียวกับศาสนา ่ ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
  • 3. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ศาสนา เป็นลัทธิ ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือหลักการ สถาบัน หรือประเพณี ที่เคารพนับถือ กล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุม และประสานความสัมพันธ์ ของมนุษย์ ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข หลักการและวิถีทางที่ มนุษย์เลือกใช้ในการดารงชีวิต ภาพ : กิจกรรมชาว การประกอบพิธีกรรมในโอกาสต่าง ๆ ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียนประภัสสรรังสิต
  • 4. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ภาพ : ศาสนาเป็นโครงสร้างทางสังคมของโลก ที่มา : http ://www.thaigoodview.com ความหมายของศาสนา ศาสนา หมายถึง คาสอน อันเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ของมนุษย์ เป็นคาสอนที่เกี่ยวกับศีลธรรมจรรยา และถือ การปฏิบัติเพื่อให้ดาเนินชีวิตรอดพ้นจากความทุกข์
  • 5. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ภาพ : การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com มูลเหตุที่เกิดศาสนา มีสาเหตุดังนี้ 1. เกิดจากความกลัว 2. เกิดจากความไม่รู้ 3. เกิดจากความต้องการทีพึ่งทางใจ ่ 4. เกิดจากความจงรักภักดี 5. เกิดจากอิทธิพลของบุคคลสาคัญ 6. เกิดจากการแสวงหาเหตุผล เพื่อให้รู้แจ้งเห็นจริง
  • 6. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ภาพ : พิธีกรรมของศาสนา ต่าง ๆ ที่มา : http ://www.palungjit.com 1. เกิดจากความกลัว มนุษย์กลัว ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เป็นภัยต่อ ตน จึงมีการสวดอ้อนวอน บวงสรวงบูชาเพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ คุ้มครองและดลบันดาลในสิ่งที่ตนต้องการ 2. เกิดจากความไม่รู้ ความไม่รู้ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของธรรมชาติ จึงคิดว่าเป็นการกระทาของพระเจ้า จึงเกิดการเคารพบูชา 3. เกิดจากความต้องการที่พึ่งทางใจ เนื่องจากมนุษย์ต้องเผชิญกับ ปัญหาหลายอย่างในการดาเนินชีวิต จึงต้องมีเครื่องยึดเหนี่ยวใจ
  • 7. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ภาพ : พระโพธิ์สัตว์/พุทธทาสภิกขุ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com 4. เกิดจากความจงรักภักดี ความเชื่อและความศรัทธาในสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ว่าสามารถจะอานวยประโยชน์ให้แก่ตนเองได้ 5. เกิดจากอิทธิพลของบุคคลสาคัญ ได้แก่ การบูชาบรรพบุรุษ และผีวีรบุรุษ เพื่อขอความช่วยเหลือและคุ้มครอง 6. เกิดจากการแสวงหาเหตุผล เพื่อให้รู้แจ้งเห็นจริง หมายถึง การใช้ปัญญาไตร่ตรองเพื่อค้นหาความจริงของชีวิต เพื่อให้ รู้จักสภาวะที่แท้จริงของชีวิต
  • 8. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ภาพ : วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ความสาคัญของศาสนา ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน 1 เป็นพื้นฐานของศีลธรรม ระเบียบ กฎเกณฑ์ของสังคม 2 เป็นแหล่งกาเนิดจริยธรรม 3 เป็นบรรทัดฐานของสังคม 4 เป็นกลไกของรัฐในการควบคุมสังคม 5 เป็นบ่อเกิดแห่งศิลปวัฒนธรรม ภาพ : กิจกรรมทางศาสนา เทศกาลต่าง ๆ ที่มา : http://www.palungjit.com
  • 9. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ คุณค่าของศาสนา 1. ทาให้ผู้นับถือศาสนามีความรับผิดชอบต่อตนเอง 2. ช่วยปลูกฝังความมีศีลธรรมให้แก่ผู้นับถือ 3. ช่วยทาให้มนุษย์มีความสงบสุข 4. เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตของบุคคล 5. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ วีดิทัศน์ : คุณค่าของศาสนา ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
  • 10. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ สรุป ศาสนาทุกศาสนา มีจุดมุ่งหมายสูงสุดในชีวิตที่ สอดคล้องกัน คือ ความเป็นหนึ่งเดียวกันและมีแนวปฏิบัติ เหมือนกันในเรื่องความรัก ความเมตตา เรื่องศีลธรรมจรรยา ภาพ : พิธีกรรมทางศาสนาต่าง ๆ ที่มา : http://www.palungjit.com วีดิทัศน์ : ความรู้เบื้องต้นเกียวกับศาสนา ่ ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
  • 11. ความสาคัญของศาสนาต่อสังคมมนุษย์ ภาพ : พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ที่มา : http://www.thaimuslim.com  สาหรับประเทศไทย มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา โดย พระมหากษัตริย์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภ์ทุกศาสนา  ศาสนาสาคัญในประเทศไทย ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนา อิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์ วีดิทัศน์ : การนับถือศาสนาในประเทศไทย ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์
  • 12. องค์ประกอบของศาสนา วีดิทัศน์ : องค์ประกอบของศาสนา 1. มีศาสดา ที่มา : CD-ROMบริษัท ทีชชิ่งทอยส์ 2. มีหลักคาสอน หรือคัมภีร์ของศาสนา 3. มีศาสนพิธี ศาสนาต้องมีพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจาก คาสอนในศาสนา 4. มีสาวกหรือคณะบุคคล ที่สืบทอดคาสอนในศาสนา 5. มีศาสนสถาน 6. มีสัญลักษณ์ทางศาสนา ภาพ : กิจกรรมชาวพุทธ ที่มา : http://www.prs.ac.th กิจกรรมโรงเรียน
  • 13. องค์ประกอบของศาสนา ภาพ : ผลงานนักเรียน/ภาพเขียน/ภาพถ่ายพระพุทธรูป ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน ศาสดา หมายถึง ผู้ก่อตั้งศาสนา เป็นบุคคลที่ มีชีวิตจริงใน ประวัติศาสตร์
  • 14. องค์ประกอบของศาสนา ภาพ : พระคาภีร์อัลกุระอาน ที่มา : http://www.nasee212cafe.com หลักคาสอน หรือคัมภีร์ของศาสนา พระไตรปิฎก อัลกุรอาน ไบเบิ้ล ฯลฯ ภาพ : ผลงานนักเรียน/ภาพถ่าย ตู้พระไตรปิฎก วัดศรีทวี ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียนประภัสสรรังสิต
  • 15. องค์ประกอบของศาสนา ภาพ : ผลงานนักเรียน/ภาพเขียน/ภาพถ่ายพระพุทธรูป ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน ศาสนพิธี พิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจากคาสอนในศาสนา เช่นการถวายผ้าอาบน้าฝน เวียนเทียน อุปสมบท พิธีล้างบาป
  • 16. องค์ประกอบของศาสนา ภาพ : พระสันปาปา เบเดดิกส์ที่ 6 ที่มา : http ://www.dra.go.th ภาพ : กิจกรรมนักเรียน / ภาพถ่ายพระสงฆ์ ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน ภาพ : นักบวชลัทธิต่าง ๆ ที่มา : http://www.palungjit.com สาวกหรือคณะบุคคลที่สืบทอด คาสอนในศาสนา เช่น ภิกษุ นักพรต นักบวชในศาสนาต่าง ๆ
  • 17. องค์ประกอบของศาสนา ภาพ : ศาสนสถานต่าง ๆ ที่มา : http://www.palungjit.com ศาสนสถาน สถานที่ในการประกอบศาสนกิจและ ศาสนพิธีของศาสนา เช่นวัด มัสยิด โบสถ์ เทวาลัย ฯลฯ
  • 18. องค์ประกอบของศาสนา ภาพ : กิจกรรมนักเรียน / ภาพถ่ายวันสาคัญทางศาสนา ที่มา : งานสื่อและนวัตกรรมโรงเรียน ศาสนิกชน ทุกศาสนาจะต้องมีศาสนิกชนผู้นับถือศาสนา นั้น ๆเช่น ชาวพุทธ ชาวคริสต์ ชาวอิสลาม
  • 19. พัฒนาการของศาสนา ศาสนาเกิดมาจากความต้องการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ นับแต่ อดีตมนุษย์จะสงสัยว่าสิ่งต่างๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทาไม ต้องเกิดขึ้น จะเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ เปลี่ยนแปลงแล้วจะเกิดผล อย่างไร จนนามาสู่การค้นหาแนวทางคาสอนต่างๆ ภาพ : พระเยซูกับสาวก 12 ร่วมกันหาแนวทางศาสนา ที่มา : http://www.thaigoodview.com
  • 20. พัฒนาการของศาสนา การแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ จึงเกิดเป็นความเชื่อความเลื่อมใส เช่น ศาสนาพุทธ เกิดจากเจ้าชายสิทธัตถะ ทรงเห็นความทุกข์ จึง ทรงหาแนวทางให้หลุดพ้น ด้วยวิธีการต่างๆ นานา จนค้นพบ อริยสัจ 4 ด้วยวิธีการที่เรียกว่า ทางสายกลาง ภาพ : พระพุทธเจ้าแสวงหาทางหลุดพ้นด้วยวิธีต่าง ๆ ที่มา : http://www.atcloundt.com
  • 21. พัฒนาการของศาสนา เป็นการฝึกจิตด้วยสมาธิจนถึงซึ่งความรู้แจ้ง และความดับ ความทุกข์ ทรงตรัสรู้ เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงสอนให้มนุษย์ ให้ ทาบุญ รักษาศีล และภาวนา เพื่อจะได้ เป็นแนวทางในการพ้นทุกข์ของมหาชน ภาพ : พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญเพียรทางจิตจนตรัสรู้ ที่มา : http://www.atcloundt.com
  • 22. พัฒนาการของศาสนา การเกิดและพัฒนาการของศาสนาแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม 1. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น 2. พัฒนาการไปสูความจริง ่ 3. คือความจริงแท้ (วิทยาศาสตร์) ภาพ : พระสงฆ์ทรงเผยแผ่คาสอน ที่มา : http://www.atcloundt.com
  • 23. พัฒนาการของศาสนา 1. ศาสนา เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น 2. ศาสนาค่อย ๆ พัฒนาการไปสูสภาวะแห่งความจริงมากขึ้นเรื่อย ๆ ่ 3. ศาสนาบางศาสนา คือความจริงแท้ ภาพ : จิตรกรรมความเชื่อทางศาสนา ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 24. พัฒนาการของศาสนา ศาสนาหลัก ๆ ถ้ามองตามเป้าหมายในเรื่ององค์สูงสุด แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ  ศาสนาที่ยึดถือองค์สูงสุด(พระเจ้า)เป็นเป้าหมาย  ศาสนาที่ไม่ยึดถือองค์สูงสุด(พระเจ้า)เป็นเป้าหมาย
  • 25. พัฒนาการของศาสนา ศาสนามองตามเป้าหมายในเรื่ององค์สูงสุด มีความเชื่อยอมรับว่า องค์สูงสุด(พระเจ้า)มีจริง คือ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ผู้นับถือมีเป้าหมายเพื่อการเข้าไปรวมอยู่ใน อาณาจักรของพระเจ้า ศาสนาพุทธยอมรับการมีอยู่ขององค์สูงสุดเช่นเดียวกัน แต่เรียกต่างกันว่า อรูปพรหม
  • 26. พัฒนาการของศาสนา ศาสนาพุทธ ไม่มีเป้าหมายเพื่อการไปรวมอยู่กับอรูปพรหม เพราะการรวมอยู่กับอรูปพรหม เมื่อหมดเหตุปัจจัยก็ยังต้องเวียน ว่าย อยู่ในสังสารวัฏ อันมีต่าสุด คือ นรก อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทาง ที่จะหลุดพ้นจากสังสารวัฏได้จึงมีทางเดียวเท่านั้นคือ นิพพาน สิ่งสูงสุด คือ อรูปพรหม (มุสลิมเรียกว่า อัลลอฮ์)
  • 27. ประเภทของศาสนา ศาสนา จัดตามลักษณะ ได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ธรรมชาตินิยม 2. เทวนิยม ภาพ : จตุคามรามเทพ/เทพเจ้าต่าง ๆ 3. อเทวนิยม ที่มา : http ://www.thaigoodview.com วีดิทัศน์ : ประเภทของศาสนา ที่มา : CD-ROM บริษัท ทีชชิ่งทอยส์
  • 28. ประเภทของศาสนา จัดตามการดารงอยู่ของศาสนา ศาสนาที่ตายแล้ว (Dead Religions) ศาสนาที่ยังชีวิตอยู่ (Living Religions) จัดตามความเชื่อที่เกี่ยวกับพระเจ้า ประเภทอเทวนิยม (Aitheism) ประเภทเทวนิยม (Theism) ภาพ : จตุคามรามเทพ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 29. ประเภทของศาสนา ศาสนาที่ตายแล้ว ( Dead Religions) หมายถึง ศาสนาที่ไม่มีผู้นับถือแล้วในปัจจุบัน เช่น ศาสนา ของอียิปต์โบราณหรือของโรมันโบราณ ศาสนาที่ยังมีชีวิตอยู่ (Living Religions) หมาถึง ศาสนาที่ในปัจจุบันยังมีผู้นับถืออยู่ ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์- ฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนา ซิกข์ เป็นต้น ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 30. ประเภทของศาสนา ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com เอกเทวนิยม มี ความเชื่อในพระผู้เป็นเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว ได้แก่ ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาซิกข์ ฯลฯ พหุเทวนิยม มีความเชื่อในเทพเจ้าหลายองค์ ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
  • 31. ประเภทของศาสนา ประเภทเทวนิยม (Theism) ได้แก่ ลัทธิที่นับ ถือพระผู้เป็นเจ้าสูงสุด ประเภทอเทวนิยม (Atheism) หมายถึง ความเชือว่าโลก ่ และสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นศาสนาที่ไม่เชื่อ ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ในเรื่องพระผู้เป็นเจ้า ได้แก่ ศาสนาพุทธและศาสนาเชน ที่มา : http ://www.siamganesh.com
  • 32. ประเภทของศาสนา 1. ธรรมชาตินิยม คือเชื่อว่ามีเทพเจ้าต่างๆอยู่มากมายอยู่ตาม ธรรมชาติ สามารถดลบันดาลตามประสงค์ของพระองค์ได้ 2. เทวนิยมเชื่อว่ามีเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่เหนือกว่าสิ่งทั้งหลาย หรือ เรียกกันว่าพระเจ้า พระองค์เป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่ง ภาพ : ความเชื่อในเทพเจ้าต่าง ๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 33. ประเภทของศาสนา เทวนิยม เชื่อว่า มีเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่คอยปกป้องดู พระเจ้า ติดต่อกับมนุษย์ โดยผ่านศาสดาพยากรณ์หลายองค์ เช่น พระอัลเลาะห์ ติดต่อกับท่าน นบีมุฮัมหมัด พระยะโฮวาห์ ทรงติดต่อกับ ท่านโมเสส ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 34. ประเภทของศาสนา 1. เอกเทวนิยม เชื่อว่า มีพระเจ้าสูงสุด เพียงพระองค์เดียว  ศาสนาคริสต์  ศาสนาอิสลาม  ศาสนายิว  ศาสนาซิกข์ ภาพ : จิตรกรรมเรื่องราวเทพเจ้าต่าง ๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 35. ประเภทของศาสนา 2. ทวิเทวนิยม เชื่อว่า มีพระเจ้าอยู่ 2 พระองค์  ศาสนาโซโรอัสเตอร์  ศาสนามาณีกี ( ศาสนาที่ตายแล้ว ) ภาพ : คาสอนทางศาสนาด้านต่าง ๆ ที่มา : http ://www.rmutphysics.com
  • 36. ประเภทของศาสนา 3. พหุเทวนิยม เชื่อว่ามีพระเจ้าสูงสุดหลายพระองค์  ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู  ศาสนาชินโต  ศาสนากรีก (เป็นศาสนาที่ตายแล้ว) ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ผู้นับถือศาสนาฮินดู ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 37. ประเภทของศาสนา อเทวนิยม ศาสนาประเภทนี้ไม่เชื่อใน พระเจ้าสร้างโลกและสรรพสิ่ง ไม่เชื่อว่ามี พระเจ้าองค์เดียวคอยดลบันดาลให้บุคคลเจริญหรือเสื่อม ทุกอย่างเกิดจากปัจจัยและเชื่อว่ากรรมเป็นการเปลี่ยนแปลง เช่น การ กระทาของตนเองเป็นผู้บันดาล สิ่งต่างๆให้ตนเอง (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน) เป็นผู้กาหนดชะตาชีวิตของตนเอง ทุกสิ่งเป็นไปตามปัจจัย ไม่มีอะไรเกิดขึ้นเองได้โดยไม่ต้องอาศัยอะไร ศาสนาประเภทนี้ เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน
  • 38. ประเภทของศาสนา ศาสนาที่ไม่เด่นชัดว่าเป็น เทวนิยม หรือ อเทวนิยม  ศาสนาเต๋า แบบเต๋าเจีย หรือ ที่เล่าจื๊อกล่าวไว้ แต่ "เต๋า" คืออะไร ไม่แจ้งชัด ถ้าเป็นเทพเจ้า ศาสนาเต๋าก็เป็นเทวนิยม แต่หากนามธรรม ศาสนาเต๋าก็เป็นศาสนาอเทวนิยม  ศาสนาขงจื๊อ สอนให้คนนับถือธรรมชาติ แต่ก็ให้ความสาคัญต่อ มนุษย์ จึงยากที่จะจัดเป็น เทวนิยม หรือ อเทวนิยม แต่แน่ชดว่าเป็น ั "มนุษยนิยม"
  • 39. ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน  ศาสนาคริสต์  โรมันคาทอลิก  โปรเตสแตนต์  ออร์ทอดอกซ์  ศาสนาซิกข์  นานักปันถิ  ขาลฺสา  นิลิมเล ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ผู้นับถือศาสนาฮินดู ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 40. ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน  ศาสนาอิสลาม  สุหนี่  ชีอะห์  ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู  ไศวะ  ไวษณพ  ศักติ  ศาสนาพุทธ  เถรวาท  มหายาน  วัชรยาน ภาพ : เทพเจ้าต่าง ๆ ผู้นับถือศาสนาฮินดู ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 41. ศาสนาสาคัญในโลกปัจจุบัน  ศาสนายิว  ออร์ทอดอกซ์ (ฟาริซ) ี  โปรเกรสซีฟ (ซัดดูคูส)  นักพรต (เอสเซเนส)  ศาสนาเชน  ทิคัมพร  เศวตัมพร  ศาสนาโซโรอัสเตอร์  กัทมิส ภาพ : จิตรกรรมเรื่องราวทางศาสนา ผู้นับถือศาสนาต่างๆ ที่มา : http ://www.thaigoodview.com  ชหันชหิส  ศาสนาบาไฮ
  • 42. ลัทธิความเชื่อในภูมิภาคต่าง ๆของโลก  ชินโต  ขงจื๊อ  เต๋า  วูดู  พุทธตันตระ  ลัทธิหัวเหา  ลัทธิเก๋าได่  ลัทธิมาณีกี  ลัทธิโอมชินริเกียว ภาพ : จิตรกรรมเรื่องราวทางศาสนา/ลัทธิต่าง ๆ  ลัทธิชอนโดเกียว ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 43. แผนภูมิแสดงภูมภาคด้านศาสนาต่าง ๆ ที่นับถือในโลกปัจจุบัน ิ ภาพ : แผนภูมิด้านศาสนาสาคัญต่างๆ ในโลก ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 44. เปรียบเทียบ เปอร์เซ็นการนับถือศาสนาต่าง ๆ ในโลกปัจจุบัน ภาพ : แผนภูมิการนับถือศาสนาต่าง ๆศาสนิกชนโลก ที่มา : http ://www.thaigoodview.com
  • 45. ความสอดคล้องของหลักธรรมคาสอนของศาสนาสาคัญ ศาสนาองค์ประกอบ พราหมณ์-ฮินดู พุทธ คริสต์ อิสลาม พระเจ้าสูงสุด พระวิษณุ ---------------- พระยะโฮวา พระอัลเลาะห์ พระพรหม ---------------- พระศิวะ ----------------- พระศาสดา ไม่ปรากฎ พระพุทธเจ้า พระเยซูคริสต์ ท่านนบีมูฮัมมัด คัมภีร์ทางศาสนา คัมภีร์พระเวท พระไตรปิฎก คัมภีร์ไบเบิ้ล คัมภีร์ฮัล-กุรอาน หลักคาสอนสาคัญ หลักอาศรม 4 อริยะสัจ 4 หลักตรีเอกกานุภาพ หลักศรัทธา 6 หลักปุรุษารถะ กรรม หลักความรัก หลักปฏิบัติ 5 หลักภควัทคีตา ไตรลักษณ์ อาณาจักรพระเจ้า หลักปรมาตมัน ขันธ์ 5 บัญญัติ10ประการ หลักโมกษะ นิกายสาคัญ นิกายไศวะ นิกายเถรวาท นิกายโรมันคาทอลิค นิกายซุนนี นิกายไวษณพ นิกายมหายาน นิกายออร์ทอด็อกซ์ นิกายชีฮะห์ นิกายพรหม นิกายโปรแตสแตนต์ นิกายวาฮาบี นิกายซูฟี
  • 46. ประเทศปัจจุบันต่าง ๆในดินแดนชมพูทวีป หรือเอเชียใต้ ประเทศ เมืองหลวง ประชากร(ล้านคน) พื้นที่ การปกครอง สาธารณรัฐอินเดีย นิวเดลี 1,002.1 3,293,147 ประชาธิปไตย สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน อิสลามาบัด 150.6 807,048 เผด็จการ ราชอาณาจักรเนปาล กาฐมาณฑุ 23.9 145,954 ประชาธิปไตย สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ ธากา 128.1 145,114 เผด็จการ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา โคลัมโบ 19.2 65,863 เผด็จการ ราชอาณาจักรภูฏาน ทิมพู 0.9 47,182 ประชาธิปไตย สาธารณรัฐมัลดีฟส์ มาเล 0.3 299 ประชาธิปไตย รัฐอิสลามอัฟกานิสถาน คาบูล 25.8 652,098 เผด็จการ
  • 47. ศาสนาสาคัญของโลกในชมพูทวีปปัจจุบัน ประเทศ อิสลาม พุทธ ฮินดู ศาสนาประจาชาติ (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) สาธารณรัฐอินเดีย 14 5 80 ฮินดู(พราหมณ์) 80% สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน 97 2 1 อิสลาม(ชีฮะห์) ราชอาณาจักรเนปาล 3 5 90 ฮินดู (90%) สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ 88 5 10 อิสลาม(ซุนนี) สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา 8 69 15 พุทธ(เถรวาท) ราชอาณาจักรภูฏาน 5 75 0 พุทธ(มหายาน 75%) สาธารณรัฐมัลดีฟส์ 100 0 0 อิสลาม(ซุนนี) สาธารณรัฐอิสลามอัฟทวีปแหล่งรวมลัทธิ ศาสนา ดินแดนชมพู กานิสถาน 100 ศาสนาฮินดูมีบทบาทมากที่สลาม(ซุนเนปาล 0 0 อิส ุด ใน นี85%) อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ
  • 48. สืบค้นข้อมูลจาก http://www.bloggang.com http://www.csloxvphone.com http://www.thaigoodview.com http://www.thaisikh.org Add Your Company Slogan http://www.travel.thaiza.com http://www.oknation.net http://www.palungdham.com http://www.palungjit.com คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง Company Logo