SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  54
Télécharger pour lire hors ligne
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน




               ศาสนาซิกข์
        วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง




                                                         LOGO
ความเป็นมาของศาสนาซิกข์
ประวัติพระศาสดาของศาสนาซิกข์
  หลักคาสอนของศาสนาซิกข์
 หลักจริยธรรมของศาสนาซิกข์
  ศาสนสถานของศาสนาซิกข์
     นิกายของศาสนาซิกข์
                               LOGO
ภาพ : สัญลักษณ์ /สถาปัตยกรรมชาวซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org




             LOGO
ภาพ : คุรุดวา สถาปัตยกรรมซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org




           ภาพ : สถาปัตยกรรมเด่นของชาวซิกข์
           ที่มา : http://www.crs.mahidol.ac.th
ภาพ : สัญลักษณ์/ภาพศาสดาซิกข์
                                                   ที่มา : http://www.thaisikh.org

   ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาที่เกิดขึ้นในประเทศอินเดีย
ประมาณ 5 ศตวรรษ มาแล้ว
   คุรุนักนานัก เป็นผู้ประกาศ และมีผู้สืบต่อมาอีก 10 ท่าน
ท่านสุดท้ายคือ คุรุโควินท สิงห์

                                        ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : กิจกรรของชาวซิกข์
                                                    ที่มา : http://www.oknation.net

    ชาวซิกข์ ยึดถือธรรมะเพียงอย่างเดียว เป็นการยุติ
การสืบศาสนาโดยบุคคลอย่างสิ้นเชิง
    ปัจจุบันชาวซิกข์ ยึดมั่นอยู่ในธรรม ที่รวบรวมไว้เป็นเล่ม
เรียกว่า มหาคัมภีร์ อาทีครันถ์
                                        ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : ศาสดา /ศาสนาซิกข์
                   ที่มา : http://www.thaisikh.org

     ศาสนาซิกข์ เกิดจากทางเลือกหนึ่ง ของสังคมอินเดีย
 เป็นศาสนา ของผู้กล้า เสียสละ นักรบ
     ผู้ประกาศศาสนา ต้องการใช้คาสอน ให้เป็นที่รวมความ
สามัคคี เพื่อประเทศชาติ
     คนซิกข์ ทุกคนเปรียบ ประดุจมัดหวายเป็นกาลังป้องกัน
ชาติตระกูลของตน
                                                     ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ศาสนาซิกข์ รวมความแตกแยกของชาวชมพูทวีป ให้ผู้ที่
นับถือศาสนาฮินดู และอิสลาม รวมเป็นพวกเดียวกันสามัคคีกัน
   ลัทธิศาสนาที่ตั้งขึ้นใหม่ให้เหมาะแก่ชาติตระกูล ที่ประสบ
ความยากเข็ญ และความแตกสามัคคี
   ตามที่ปรากฏในบัญญัติว่า
"ไม่มีพระเจ้าสาหรับชาวมุสลิมอีกองค์หนึ่งแต่มีพระเจ้าองค์เดียว
สาหรับมนุษย์ทั้งปวง"

                                         ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : ศาสดาศาสนาซิกข์
                 ที่มา : http://www.thaisikh.org

คุรุนานัก ผู้ให้กาเนิดศาสนาซิกข์
    มีชีวิตอยู่ระหว่างปี พ.ศ.2012 – 2081 หมู่บ้านเล็กๆ
แห่งหนึ่ง ชื่อ ทัลวันดี (Talvandi) ปัจจุบันเรียก นานักนคร
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของเมืองลาฮอร์ (Lahore) เมืองหลวง
ของแคว้นปัญจาบ ประมาณ 30 ไมล์
   ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าราวี (Ravi) ปัจจุบันอยู่ในประเทศปากีสถาน

                                                   ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : แผนที่ปากีสถานแหล่งกาเนิดศาสนาซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org

             ประเทศปากีสถาน บ้านเกิดศาสดาศาสนาซิกข์
                                            ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : ศาสดาของศาสนาซิกข์
                   ที่มา : http://www.thaisikh.org

     คุรุนานัก เกิดในตระกูลชาวฮินดู ในวรรณะพราหมณ์
บิดาเป็นคนรับใช้เจ้าเมือง มารดาเป็นนักศาสนาที่เคร่งครัด
     อายุ 7 ปี เข้าศึกษาในโรงเรียนเด็กชาย คุรุนานักแสดงปัญญา
ความสามารถ ไต่ถามความรู้เรื่อง พระเจ้า จากครู-อาจารย์ จน
มีความรู้แตกฉานในคัมภีร์พระเวท


                                                     ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : การเผยแผ่คาสอนของศาสดาของชาวซิกข์
                          ที่มา : http://www.thaisikh.org
    คุรุนานัก เรียนรู้ทางด้านศาสนาและเทพเจ้าต่าง ๆ
รู้ภาษาเปอร์เซียน เรียนรู้ลัทธิโซโรอัสเตอร์ (Zoroaster) ผู้ตั้ง
ลัทธิปาร์ซี (Parsi)
    สามารถโต้เถียงหลักศาสนา กับคณาจารย์เก่าๆ ได้
    คัมภีร์ศาสนซิกข์เรียกว่า ครันถ์ (Cranth) ได้หลักการ
มาจากคัมภีร์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์

                                                            ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
คุรุนานัก แต่งงานกับสตรีมีตระกูลหมู่บ้านเดียวกัน
มีลูกสองคน แต่ชีวิตในครอบครัวหาความสุขได้ยาก เพราะคุรุนานัก
ชอบความสงบ แต่ภรรยาชอบความสนุกสนานรื่นเริง
     เมื่ออายุ 36 ปี คุรุนานัก ออกไปหาความสงบในป่า




                                      ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ได้ปรากฏการณ์ทางใจ ด้วยการได้ดื่มน้าอมฤตถ้วยหนึ่ง
จากผู้ศักดิ์สิทธิ์ผู้นั้นได้แจ้งแก่คุรุนานักว่า "เราจะขออยู่กับเจ้า
เราจะทาให้เจ้ามีความสุขสงบและจะทาให้ทุกคนที่นับถือเราใน
เจ้ามีความสุขไปด้วย




                                             ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : การเผยแผ่คาสอนของศาสดาของชาวซิกข์
                    ที่มา : http://www.thaisikh.org


  คุรุนานัก สวมเสื้อสีหมากสุกอันเป็นสีแสดงถึงอิสรภาพ
ตามลัทธิฮินดู แขวนประคาทาด้วยกระดูก และเจิมหน้าด้วย
หญ้าควั่นตามแบบของฮินดู ขณะเดียวกันก็สวมหมวกตาม
แบบมุสลิม


                                              ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
คุรุนานัก สอนว่า "ซิกส์เป็นศาสนาของคนทั้งหลาย
พระเจ้าเป็นผู้ปราศจากภัย ปราศจากเวรไม่ใช่เป็นผู้ทาลาย
แต่เป็นผู้สร้าง ไม่มีพระเจ้าสาหรับชาวมุสลิมมีพระเจ้าองค์เดียว
องค์หนึ่งเป็นพระเจ้าของโลกทั้งมวล
  พระองค์ไม่โปรด วรรณะ หรือสี หรือลัทธิ อันแยกบัญญัติ
ออกไปแต่ละอย่าง พระองค์ไม่มีการเกลียด ไม่มีการแช่ง สาป
เหมือนพระเจ้าองค์อื่น ๆ

                                           ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ตลอดระยะเวลาสิบสองปี มีผู้มานับถือเป็นจานวนมาก
คุรุนานัก เข้าสู่ แคว้นปัญจาบ อันเป็นถิ่นกาเนิดของตน
สั่งสอนอยู่ชั่วเวลาหนึ่ง
    เดินทางลงสู่อินเดียภาคใต้ลงมาถึงแคว้นมัทราช อันเป็นศูนย์กลาง
ของลัทธิเชน ข้ามไปถึงเกาะลังกา สั่งสอนลัทธิใหม่ของตน
ถวายพระราชา พระราชินี แห่งเกาะลังกา
    คุรุนานักได้เดินทางไปสอนตามหมู่เกาะต่าง ๆ อีกมากมาย

                                          ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
คุรุนานัก เดินทางสั่งสอนถึงประเทศซาอุดิอาระเบีย ถึงเมืองเมกกะ
อันเป็นศูนย์กลางของศาสนาอิสลาม
   คุรุนานักได้ชื่อว่าเป็นศาสดา ชาวอินเดียคนแรก ที่เดินทางธุดงค์
ไปถึงเมืองเมกกะ ไปถึงเมืองเมดินะ เมืองแบกแดด ในดินแดนอิรัก


                                         ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ประมุขของศาสนาซิกข์ในเวลาต่อมา ประมวลคาสอน
ของคุรุนานักเป็นหลักของซิกข์ เป็นหลักใหญ่ได้ 4 ประการคือ
 สามัคคี
 เสมอภาค
 ศรัทธา
 ความรัก (ภักดี)

                        ภาพ : พระศาสดาศาสนาซิกข์ทั้ง 10
                        ที่มา : http://www.konthamkhao.com
                                                      ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
คัมภีร์ของศาสนาซิกข์
  เรียกว่า ครันถ - ซาหิปหรือคันถะ (ในภาษาบาลี)
เป็นคัมภีร์หรือหนังสือ ที่เป็นคาร้อยกรองสั้นๆ(โสลด)
  เป็นทานองสังคีตได้ถึง 30 แขนง จัดเป็นเล่ม ๆภาษาที่ใช้ใน
คัมภีร์มีอยู่ 6 หกภาษาหลักคือ ปัญจาบี (ประจาแคว้นปัญจาป ถิ่น
เกิดของศาสนา)มุลตานี เปอร์เซียน ปรากริตฮินดีและมารถี


                                         ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
จตุศีล ของชาวซิกข์
 1. ห้ามตัดผม หรือ ขลิบหนวด
 2. ยาเสพติดทุกชนิด เช่น สุรา บุหรี่
 3. การผิดประเวณี
4. การรับประทานเนื้อสัตว์ที่ถูกฆ่าด้วยวิธี
    กุททา หรือ ถูกฆ่าในพิธีกรรม

                                      ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ศีลมี 21 ข้อ เป็นข้อปฏิบัติ 10 ข้อ และ ข้อห้าม 11 ข้อ
ข้อปฏิบัติ
 1. นับถือศาสดาทุกท่านเป็นบิดา และถือตนเป็นบุตรแห่ง
ศาสดานั้น
 2. นับถือตัลวันทิที่เกิดและคาเตปุระแคว้นปัญจาป ที่ตายของ
คุรุผู้ปฐมศาสดาเป็นปูชนียสถาน
 3. เลิกถือชั้นวรรณะ
 4. พยายามสละชีพในการรบ
 5. บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด 3 ประการ
ข้อปฏิบัติ
   6. มี "ก" 5 เป็นสัญลักษณ์ติดตัว คือ
     (1)กฑา (2) กัจฉา (3) เกศะ (4) กังฆา (5) กฤปาน
  7. ชื่อต่อท้ายว่า "สิงห์" หรือ "ซิงห์"
  8. ฝึกขี่ม้า ฟันดาบ และมวยปล้า เป็นนิจ
  9. ให้ถือคติว่า ตนเกิดมาเพื่อช่วยเบื้องทุกข์ให้แก่ผู้อื่น และนา
ความเจริญให้แก่ชาติศาสนา
 10. นอบน้อมพระผู้เป็นเจ้า ผู้อกาล และต้อนรับแขกเป็นกรณีย
กิจประจาวัน
ข้อห้าม
1. ห้ามมิให้ทะเลาะวิวาทระหว่างศิษย์ด้วยกัน
 2 ห้ามพูดมุสา
 3. ห้ามผิดในกาม โกรธ โลภ หลง
 4. ห้ามคบค้ากับคนที่เป็นปฏิปักษ์ต่อศาสนา
 5. ห้ามคบค้ากับคนที่ไม่ส่งเสริมการรบกู้ชาติ
6. ห้ามนิยมใช้สีแดง เนื่องจากซิกข์ถือว่าสีแดงเป็นเครื่องหมาย
แห่งความรักและเมตตา เป็นอารมณ์ขัดต่อนิสัยนักรบ
7. ห้ามเปลือยศีรษะ นอกจากเวลาอาบน้า ต้องโพกผ้าตลอดเวลา
มีความหมายว่า ทหารย่อมไม่เปิดหมวกให้ใคร
8. ห้ามเล่นการพนัน
9. ห้ามตัดหรือโกน ผมและขนทุกชนิดในตัว
10. ห้ามเกี่ยวข้องกับคนที่เบียดเบียนชาติและศาสนา
11. ห้ามแต่งกายหรูหราไร้สาระ
ประเทศที่มีศาสนิกชนศาสนาซิกข์
  สาธารณรัฐอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ เนปาล ชาวซิกข์ใน
สิงคโปร์มีมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
   ในปัญจาบมีชาวซิกข์ประมาณ 12 ล้านคนและ 3 ล้านในรัฐ
และดินแดนที่ติดกับอินเดีย เบงกอลตะวันตก ในมหารัชตระก็มี
ชุมชนชาวซิกข์เล็ก ๆ
  ชาวซิกข์อีกส่วนหนึ่งประมาณ 1 ล้านคนได้เข้าไปตั้งถิ่นฐานใน
อังกฤษ แคนาดา และสหรัฐ ชุมชนเล็กๆในยุโรป ในตะวันออก
กลาง เอเซียตะวันออก แอฟริกาและออสเตรเลีย
มีพ่อค้าชาวซิกข์ ผู้หนึ่งชื่อ นายกิรปาราม มาคาน เดินทางไป
เพื่อหาซื้อสินค้าที่ประเทศอัฟกานิสถาน สินค้าที่ซื้อ มีม้าพันธุ์ดี
รวมอยู่ด้วยได้เดินทางมาแวะที่ประเทศสยาม อาศัยอยู่ในพระ
บรมโพธิสมภาร ของพระมหากษัตริย์สยามพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เขาจึงได้กราบบังคมทูลน้อมเกล้าฯ
ถวายม้าตัวโปรดของเขาแด่พระองค์
ศาสนาซิกข์เข้าสู่ประเทศไทย


  เขาก็ได้เดินทางกลับบ้านเกิด ณ แคว้นปัญจาป พร้อมทั้ง
ชักชวนเพื่อนพ้อง ให้ไปตั้งถิ่นฐานอาศัยใต้ร่มพระบรมโพธิ
สมภารพระเจ้ากรุงสยามในระยะต่อมา
   ชาวซิกข์ทยอยกันมาเรื่อย ๆ โดยศาสนิกชนชาวซิกข์ ได้เช่า
เรือนไม้ บริเวณบ้านหม้อ หลังโรงภาพยนตร์เฉลิมกรุงปัจจุบัน
จนขยายเป็นชุมชนการค้าใหญ่ในปัจจุบัน คือ พาหุรัต
เกี่ยวกับพระเจ้า

      "รูปทั้งหลายปรากฏขึ้นตามคาสั่งของพระเจ้า (อกาลปุรุษ)
สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอุบัติมาตามคาสั่งของพระเจ้า บุตรธิดาจะได้รู้ถึง
กาเนิดบิดามารดาได้อย่างไร โลกทั้งหมดร้อยไว้ด้วยเส้นด้ายคือ
คาสั่งของพระเจ้า"


                                            ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต
เกี่ยวกับเศรษฐกิจสังคม

ซิกข์สอนว่า
   1. ให้ตื่นแต่เช้าอย่างน้อยครึ่งชั่วโมงก่อนรุ่งอรุณ
   2. ตื่นแล้วให้บริกรรมทางธรรมเพื่อฟอกจิตใจให้สะอาด
   3. ให้ประกอบสัมมาชีพ
   4. ให้แบ่งส่วนของรายได้ 10 ส่วน มอบให้แก่กองการกุศล
   5. ให้ละเว้นการเสพของมึนเมา ประพฤติผิดประเวณี
                                     ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
เกี่ยวกับประเทศชาติ

   ศาสนาซิกข์ ผู้มองเห็นภัยที่ประเทศชาติกาลังได้รับจาก
คนต่างชาติ และคนในชาติเดียวกัน จึงได้ประกาศธรรม
สั่งสอนคน เพื่อความดารงอยู่ของชาติ คุรุวาณีของท่าน
เป็นเครื่องกระตุ้นให้ผู้รับฟังมีความสามัคคี
มีความรักชาติ โดยไม่เกลียดชาติอื่น


                                         ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
สมัยคุรุโควินทสิงห์ สอนให้ชาวซิกข์เป็นทหารหาญ
เสียสละเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อชาติ คุรุหลายท่านเช่นคุรุ
อรชุนเทพ และคุรุเทคบาหาทูร์ ได้สละชีพเพื่อชาติ และ
ศาสนา




                                 ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์/การรับน้าอมฤต
                                 ที่มา : http://www.oknation.net

                                                      ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
เกี่ยวกับฐานะของสตรี                           ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์/การแต่งกายสตรี
                                               ที่มา : http://www.oknation.net

    ศาสนาซิกข์ยกสตรีให้มีฐานะเท่าบุรุษ สตรีมีสิทธิในการศึกษา
ร่วมสวดมนต์ หรือเป็นผู้นาในการสวดมนต์เท่ากับบุรุษทุกประการ
คุรุนานักให้โอวาทว่า
    "พวกท่านประณามสตรีด้วยเหตุใด สตรีเหล่านี้เป็นผู้ให้
กาเนิดแก่ราชา คุรุศาสดา และแม้แต่ตัวท่านเอง"


                                         ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : การแต่งงานชาวซิกข์
ที่มา : http://www.konthamkhao.com
ลักษณะเด่นทางวัฒนธรรมของชาวซิกข์




       ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์
ที่มา: http://www.themegallery.com
เกี่ยวกับเสมอภาพ และเสรีภาพ

  คุรุนานักสอนว่า "โลกทั้งหมดเกิดจากแสงสว่างอัน
เดียวกันคือ (พระเจ้า) จะว่าใครดีใครชั่วกว่ากันไม่ได้"
  คุรุโควินท สิงห์ สอนว่า สุเหร่า มณเฑียร วิหาร เป็น
สถานที่บาเพ็ญธรรมของคนทั้งหลาย ที่เห็นแตกต่างกัน
บ้าง เพราะความแตกต่างแห่ง กาละและเทศะ

                                      ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org

  ชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย มีผู้นับถือ
ศาสนาซิกข์จานวนหนึ่งรวมอยู่ด้วย
  ชาวซิกข์มีการแต่งตัวแตกต่างไปจากคนอื่น คือ มีผ้าโพกหัว
                                     ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
สัญลักษณ์ของชาวซิกข์ 5 ประการ
  1. ไม่มีการตัดผมตลอดชีวิต
  2. มีกาไลมือเพื่อระลึกถึงพระเจ้า
                                         ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์
  3. มีหวี                               ที่มา : http://www.thaisikh.org
  4. ต้องใส่กางเกงในมีความยาวเหนือเข่า 4 นิ้ว
เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน
  5. มีดาบสั้นเพื่อป้องกันคนที่มาทาร้ายคนปฏิบัติธรรม
                                            ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์
                                            ที่มา : http://www.thaigoodview.com
                                                    ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
สัญลักษณ์ทั้งห้า ด้วยอักษร "ก".
                        (ปัญจกะการ )
1. เกศา (ผมยาวที่บารุงรักษาอย่างสะอาดสมบูรณ์ และไม่ตัดหรือ
  โกนอย่างเด็ดขาด),
2. กังฆะ (หวีไม้ ซึ่ง จะเสียบไว้ในผม),
3. การ่า (กาไลข้อมือเหล็กกล้า),
4. กะแช่ร่า (กางเกงในขาสั้น),
5. กีรปาน (กริช)
พระศาสดา คุรุ โฆบินด์ ซิงห์ ยิ ได้ทรงสถาปนา ประชาคมซิกข์
(คาลซาปันท์, พระองค์ได้มีบัญชาให้ชาวซิกข์ ดารงรักษาศาสน
สัญลักษณ์ห้าประการ - ปัญจกะการ
ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์
       ที่มา : http://www.thaisikh.org

  สัญลักษณ์ เอก โองการ
    ความหมายว่า พระเจ้าที่แท้จริงมีเพียงพระองค์เดียว
สัญลักษณ์นี้ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาปัญจาบิ 2 ตัว
    ตัวแรกคือ หมายเลข "1” ในภาษาปัญจาบิ อ่านว่า "เอก"
    ตัวหลังคือ ตัวอักษร “ อูระ” แทนคาว่า "โองการ" มี
ความหมายว่า พระเจ้า
ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์
                 ที่มา : http://www.thaisikh.org

 สัญลักษณ์ คันด้า เป็นเครื่องหมายเกียรติยศของชาวซิกข์
สัญลักษณ์นี้ประกอบด้วยกีรปานสองด้าม (ดาบของชาวซิกข์)
คันด้าหนึ่งอัน (ดาบลักษณะสองคม) และวงจักรหรือห่วงกลม
ภายในหนึ่งอัน
ชาวซิกข์ได้ยอมรับเครื่องหมายนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งเกียรติยศ
แห่งศาสนาของตน ดาบทั้งสองด้ามแสดงถึงความมีอานาจ
อธิปไตยทั้งทางโลกและทางธรรมอย่างสมบูรณ์
 วงจักรแสดงถึงความเป็นอมตะหนึ่งเดียวของพระผู้เป็นเจ้า
พระเจ้าผู้ทรงสร้างและให้กาเนิดทุกสรรพสิ่ง
 ดาบสองคมแสดงถึงความเป็นผู้ริเริ่ม ฉะนั้นอานาจอธิปไตย
ความเป็นอมตะ (ของพระผู้เป็นเจ้า) และความเป็นผู้ริเริ่ม
บุกเบิก
ภาพ : กิจกรรมของชาวซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org

      ชาวซิกข์ในประเทศไทยมีสมาคมศรีคุรุสิงหสภา มีวัดซิกข์
  และมีการจัดการศึกษาให้เยาวชน
      การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ตั้งสุขศาลาให้การ
  รักษาพยาบาลฟรี มีที่สงเคราะห์คนชรา และมีโรงทาน
  สาหรับคนทั่วไป
                                       ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ศาสนสถาน ของศาสนาซิกข์
ภาพ : โบราณสถาน /เอกลักษณ์ชาวซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org




                       ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
คุรุดวารา วัด ชาวซิกข์
  คุรุดวารา หมายถึง ประตูหรือทางที่ทอดไปสู่พระศาสดา ในคุ
รุดวาราทุกแห่งพระศาสดาคุรุ ครันธ์ซาฮิบ จะถูกอัญเชิญมา
ประทับฐานในห้องโถงใหญ่ ซึ่งใช้เป็นสถานที่สวดภาวนาและ
ประกอบศาสนากิจประจาวัน
  ชาวซิกข์ต้องมีศาสนสถานขึ้นเพื่อประกอบกิจ กรรม ทาง
ศาสนา ในสังคมของชาวซิกข์มีคาสอนมุ่งเน้นถึงความร่วมมือ
และการให้ ความช่วยเหลือกันภายในชุมชน
ฮัรมันดิรซาฮิบ




                                 ภาพ : ฮัรมันดิรซาฮิบ /คุรุดวาราศาสนาซิกข์
                                 ที่มา : http://www.thaisikh.org

 ฮัรมันดิรซาฮิบ หมายถึง วิหารของพระผู้เป็นเจ้า เป็นที่รู้จักกัน
ทั่วไปในนามของ สุวรรณวิหาร ประดิษฐานอยู่ในเมืองอมฤต
สระ รัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย
ฮัรมันดิรซาฮิบ สุวรรณวิหาร

ประวัติศาสตร์การก่อตั้ง
  พระศาสดา คุรุอามัรดาส (องค์ที่ 3)ทรงมอบหมายให้รามดาส (
 พระศาสดาคุรุรามดาส องค์ที่ 4 ) ดาเนินการ ก่อสร้างศาสน
 สถาน เป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม และเป็นศูนย์รวม
 ของชาวซิกข์ เริ่มการก่อสร้างในพ.ศ. 2020 ดาเนินการขุดสระ
 น้า

                            ภาพ : คุรุดวารา สุวรรณวิหารชาวซิกข์
                            ที่มา : http://www.thaisikh.org
พระศาสดา คุรุอัรยันเดว (องค์ที่ 5 ) ดาเนินการขุดสระในนาม
อมฤตสระ (สระน้าอมฤต) ต่อจนเสร็จใน พ.ศ. 2131 ดาเนินการ
ก่อสร้างอาคารวิหารกลางสระน้า พระองค์ทรงเชิญชาวมุสลิม
(อามีร) เป็นผู้วางศิลาฤกษ์การก่อสร้าง ซึ่งเป็นการแสดงถึงการ
ไม่ถือชั้นวรรณะ นิกายศาสนา ความเชื่อถือใดๆทั้งสิ้น ก่อสร้าง
แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2144
พระศาสดาองค์ที่ 5 ทรงประกอบพิธีอัญเชิญสวด (พระมหา
คัมภีร์ อาทิครันถ์ซาฮิบ )
 พระศาสดาคุรุโควินท์ซิงห์ (พระศาสดาองค์ที่ 10) ได้สถาปนา
ให้เป็นศาสดานิรันดร์กาลของชาวซิกข์
 ให้พระนามว่า “พระมหาคัมภีร์คุรุครันถ์ซาฮิบ” จนถึงปัจจุบัน
นี้) เป็นสุวรรณวิหารศักดิ์สิทธิ์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2146
ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org
                                  ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
ภาพ : ศาสนสถาน /พิธีกรรมชาวซิกข์
ที่มา : http://www.thaisikh.org

                     ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
นิกายศาสนาของศาสนาซิกข์
                                  1. นิกายนักปันถี
                                  2. นิกายปฏิบัติตามคาสอนของท่านคุรุนานัก
                                     และยังมีนิกายอื่น ๆ อีก กว่า 10 นิกาย ต่างกันที่
                                  เครื่องแต่งกายเป็นเครื่องหมาย
ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์/การบูชาพระเจ้า
ที่มา : http://www.thaisikh.org



                                                           ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
                                  http://www.okanation.net
                                       http://th.wikipedia.org
                            http://www.konthamkhao.com
                                 http://www.thaisikh.org
                             http://www.thaigoodview.com
                                          http://atclound.com
                                    http://www.amulet1.com
                                     http://www.rmutphysics.com
                                        http://www.taradphuket.biz
                                                 คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด
วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 

Tendances (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Similaire à ศาสนาซิกส์

ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
Net'Net Zii
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
babyoam
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
Anchalee BuddhaBucha
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
Tongsamut vorasan
 

Similaire à ศาสนาซิกส์ (20)

Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 

ศาสนาซิกส์

  • 1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ศาสนาซิกข์ วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง LOGO
  • 2. ความเป็นมาของศาสนาซิกข์ ประวัติพระศาสดาของศาสนาซิกข์ หลักคาสอนของศาสนาซิกข์ หลักจริยธรรมของศาสนาซิกข์ ศาสนสถานของศาสนาซิกข์ นิกายของศาสนาซิกข์ LOGO
  • 3. ภาพ : สัญลักษณ์ /สถาปัตยกรรมชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org LOGO
  • 4. ภาพ : คุรุดวา สถาปัตยกรรมซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ภาพ : สถาปัตยกรรมเด่นของชาวซิกข์ ที่มา : http://www.crs.mahidol.ac.th
  • 5. ภาพ : สัญลักษณ์/ภาพศาสดาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาที่เกิดขึ้นในประเทศอินเดีย ประมาณ 5 ศตวรรษ มาแล้ว คุรุนักนานัก เป็นผู้ประกาศ และมีผู้สืบต่อมาอีก 10 ท่าน ท่านสุดท้ายคือ คุรุโควินท สิงห์ ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 6. ภาพ : กิจกรรของชาวซิกข์ ที่มา : http://www.oknation.net ชาวซิกข์ ยึดถือธรรมะเพียงอย่างเดียว เป็นการยุติ การสืบศาสนาโดยบุคคลอย่างสิ้นเชิง ปัจจุบันชาวซิกข์ ยึดมั่นอยู่ในธรรม ที่รวบรวมไว้เป็นเล่ม เรียกว่า มหาคัมภีร์ อาทีครันถ์ ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 7. ภาพ : ศาสดา /ศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ศาสนาซิกข์ เกิดจากทางเลือกหนึ่ง ของสังคมอินเดีย เป็นศาสนา ของผู้กล้า เสียสละ นักรบ ผู้ประกาศศาสนา ต้องการใช้คาสอน ให้เป็นที่รวมความ สามัคคี เพื่อประเทศชาติ คนซิกข์ ทุกคนเปรียบ ประดุจมัดหวายเป็นกาลังป้องกัน ชาติตระกูลของตน ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 8. ศาสนาซิกข์ รวมความแตกแยกของชาวชมพูทวีป ให้ผู้ที่ นับถือศาสนาฮินดู และอิสลาม รวมเป็นพวกเดียวกันสามัคคีกัน ลัทธิศาสนาที่ตั้งขึ้นใหม่ให้เหมาะแก่ชาติตระกูล ที่ประสบ ความยากเข็ญ และความแตกสามัคคี ตามที่ปรากฏในบัญญัติว่า "ไม่มีพระเจ้าสาหรับชาวมุสลิมอีกองค์หนึ่งแต่มีพระเจ้าองค์เดียว สาหรับมนุษย์ทั้งปวง" ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 9. ภาพ : ศาสดาศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org คุรุนานัก ผู้ให้กาเนิดศาสนาซิกข์ มีชีวิตอยู่ระหว่างปี พ.ศ.2012 – 2081 หมู่บ้านเล็กๆ แห่งหนึ่ง ชื่อ ทัลวันดี (Talvandi) ปัจจุบันเรียก นานักนคร ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของเมืองลาฮอร์ (Lahore) เมืองหลวง ของแคว้นปัญจาบ ประมาณ 30 ไมล์ ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าราวี (Ravi) ปัจจุบันอยู่ในประเทศปากีสถาน ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 10. ภาพ : แผนที่ปากีสถานแหล่งกาเนิดศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ประเทศปากีสถาน บ้านเกิดศาสดาศาสนาซิกข์ ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 11. ภาพ : ศาสดาของศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org คุรุนานัก เกิดในตระกูลชาวฮินดู ในวรรณะพราหมณ์ บิดาเป็นคนรับใช้เจ้าเมือง มารดาเป็นนักศาสนาที่เคร่งครัด อายุ 7 ปี เข้าศึกษาในโรงเรียนเด็กชาย คุรุนานักแสดงปัญญา ความสามารถ ไต่ถามความรู้เรื่อง พระเจ้า จากครู-อาจารย์ จน มีความรู้แตกฉานในคัมภีร์พระเวท ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 12. ภาพ : การเผยแผ่คาสอนของศาสดาของชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org คุรุนานัก เรียนรู้ทางด้านศาสนาและเทพเจ้าต่าง ๆ รู้ภาษาเปอร์เซียน เรียนรู้ลัทธิโซโรอัสเตอร์ (Zoroaster) ผู้ตั้ง ลัทธิปาร์ซี (Parsi) สามารถโต้เถียงหลักศาสนา กับคณาจารย์เก่าๆ ได้ คัมภีร์ศาสนซิกข์เรียกว่า ครันถ์ (Cranth) ได้หลักการ มาจากคัมภีร์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 13. คุรุนานัก แต่งงานกับสตรีมีตระกูลหมู่บ้านเดียวกัน มีลูกสองคน แต่ชีวิตในครอบครัวหาความสุขได้ยาก เพราะคุรุนานัก ชอบความสงบ แต่ภรรยาชอบความสนุกสนานรื่นเริง เมื่ออายุ 36 ปี คุรุนานัก ออกไปหาความสงบในป่า ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 15. ภาพ : การเผยแผ่คาสอนของศาสดาของชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org คุรุนานัก สวมเสื้อสีหมากสุกอันเป็นสีแสดงถึงอิสรภาพ ตามลัทธิฮินดู แขวนประคาทาด้วยกระดูก และเจิมหน้าด้วย หญ้าควั่นตามแบบของฮินดู ขณะเดียวกันก็สวมหมวกตาม แบบมุสลิม ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 16. คุรุนานัก สอนว่า "ซิกส์เป็นศาสนาของคนทั้งหลาย พระเจ้าเป็นผู้ปราศจากภัย ปราศจากเวรไม่ใช่เป็นผู้ทาลาย แต่เป็นผู้สร้าง ไม่มีพระเจ้าสาหรับชาวมุสลิมมีพระเจ้าองค์เดียว องค์หนึ่งเป็นพระเจ้าของโลกทั้งมวล พระองค์ไม่โปรด วรรณะ หรือสี หรือลัทธิ อันแยกบัญญัติ ออกไปแต่ละอย่าง พระองค์ไม่มีการเกลียด ไม่มีการแช่ง สาป เหมือนพระเจ้าองค์อื่น ๆ ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 17. ตลอดระยะเวลาสิบสองปี มีผู้มานับถือเป็นจานวนมาก คุรุนานัก เข้าสู่ แคว้นปัญจาบ อันเป็นถิ่นกาเนิดของตน สั่งสอนอยู่ชั่วเวลาหนึ่ง เดินทางลงสู่อินเดียภาคใต้ลงมาถึงแคว้นมัทราช อันเป็นศูนย์กลาง ของลัทธิเชน ข้ามไปถึงเกาะลังกา สั่งสอนลัทธิใหม่ของตน ถวายพระราชา พระราชินี แห่งเกาะลังกา คุรุนานักได้เดินทางไปสอนตามหมู่เกาะต่าง ๆ อีกมากมาย ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 18. คุรุนานัก เดินทางสั่งสอนถึงประเทศซาอุดิอาระเบีย ถึงเมืองเมกกะ อันเป็นศูนย์กลางของศาสนาอิสลาม คุรุนานักได้ชื่อว่าเป็นศาสดา ชาวอินเดียคนแรก ที่เดินทางธุดงค์ ไปถึงเมืองเมกกะ ไปถึงเมืองเมดินะ เมืองแบกแดด ในดินแดนอิรัก ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 19. ประมุขของศาสนาซิกข์ในเวลาต่อมา ประมวลคาสอน ของคุรุนานักเป็นหลักของซิกข์ เป็นหลักใหญ่ได้ 4 ประการคือ  สามัคคี  เสมอภาค  ศรัทธา  ความรัก (ภักดี) ภาพ : พระศาสดาศาสนาซิกข์ทั้ง 10 ที่มา : http://www.konthamkhao.com ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 20. คัมภีร์ของศาสนาซิกข์ เรียกว่า ครันถ - ซาหิปหรือคันถะ (ในภาษาบาลี) เป็นคัมภีร์หรือหนังสือ ที่เป็นคาร้อยกรองสั้นๆ(โสลด) เป็นทานองสังคีตได้ถึง 30 แขนง จัดเป็นเล่ม ๆภาษาที่ใช้ใน คัมภีร์มีอยู่ 6 หกภาษาหลักคือ ปัญจาบี (ประจาแคว้นปัญจาป ถิ่น เกิดของศาสนา)มุลตานี เปอร์เซียน ปรากริตฮินดีและมารถี ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 21. จตุศีล ของชาวซิกข์ 1. ห้ามตัดผม หรือ ขลิบหนวด 2. ยาเสพติดทุกชนิด เช่น สุรา บุหรี่ 3. การผิดประเวณี 4. การรับประทานเนื้อสัตว์ที่ถูกฆ่าด้วยวิธี กุททา หรือ ถูกฆ่าในพิธีกรรม ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 22. ศีลมี 21 ข้อ เป็นข้อปฏิบัติ 10 ข้อ และ ข้อห้าม 11 ข้อ ข้อปฏิบัติ 1. นับถือศาสดาทุกท่านเป็นบิดา และถือตนเป็นบุตรแห่ง ศาสดานั้น 2. นับถือตัลวันทิที่เกิดและคาเตปุระแคว้นปัญจาป ที่ตายของ คุรุผู้ปฐมศาสดาเป็นปูชนียสถาน 3. เลิกถือชั้นวรรณะ 4. พยายามสละชีพในการรบ 5. บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด 3 ประการ
  • 23. ข้อปฏิบัติ 6. มี "ก" 5 เป็นสัญลักษณ์ติดตัว คือ (1)กฑา (2) กัจฉา (3) เกศะ (4) กังฆา (5) กฤปาน 7. ชื่อต่อท้ายว่า "สิงห์" หรือ "ซิงห์" 8. ฝึกขี่ม้า ฟันดาบ และมวยปล้า เป็นนิจ 9. ให้ถือคติว่า ตนเกิดมาเพื่อช่วยเบื้องทุกข์ให้แก่ผู้อื่น และนา ความเจริญให้แก่ชาติศาสนา 10. นอบน้อมพระผู้เป็นเจ้า ผู้อกาล และต้อนรับแขกเป็นกรณีย กิจประจาวัน
  • 24. ข้อห้าม 1. ห้ามมิให้ทะเลาะวิวาทระหว่างศิษย์ด้วยกัน 2 ห้ามพูดมุสา 3. ห้ามผิดในกาม โกรธ โลภ หลง 4. ห้ามคบค้ากับคนที่เป็นปฏิปักษ์ต่อศาสนา 5. ห้ามคบค้ากับคนที่ไม่ส่งเสริมการรบกู้ชาติ
  • 25. 6. ห้ามนิยมใช้สีแดง เนื่องจากซิกข์ถือว่าสีแดงเป็นเครื่องหมาย แห่งความรักและเมตตา เป็นอารมณ์ขัดต่อนิสัยนักรบ 7. ห้ามเปลือยศีรษะ นอกจากเวลาอาบน้า ต้องโพกผ้าตลอดเวลา มีความหมายว่า ทหารย่อมไม่เปิดหมวกให้ใคร 8. ห้ามเล่นการพนัน 9. ห้ามตัดหรือโกน ผมและขนทุกชนิดในตัว 10. ห้ามเกี่ยวข้องกับคนที่เบียดเบียนชาติและศาสนา 11. ห้ามแต่งกายหรูหราไร้สาระ
  • 26. ประเทศที่มีศาสนิกชนศาสนาซิกข์ สาธารณรัฐอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ เนปาล ชาวซิกข์ใน สิงคโปร์มีมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปัญจาบมีชาวซิกข์ประมาณ 12 ล้านคนและ 3 ล้านในรัฐ และดินแดนที่ติดกับอินเดีย เบงกอลตะวันตก ในมหารัชตระก็มี ชุมชนชาวซิกข์เล็ก ๆ ชาวซิกข์อีกส่วนหนึ่งประมาณ 1 ล้านคนได้เข้าไปตั้งถิ่นฐานใน อังกฤษ แคนาดา และสหรัฐ ชุมชนเล็กๆในยุโรป ในตะวันออก กลาง เอเซียตะวันออก แอฟริกาและออสเตรเลีย
  • 27. มีพ่อค้าชาวซิกข์ ผู้หนึ่งชื่อ นายกิรปาราม มาคาน เดินทางไป เพื่อหาซื้อสินค้าที่ประเทศอัฟกานิสถาน สินค้าที่ซื้อ มีม้าพันธุ์ดี รวมอยู่ด้วยได้เดินทางมาแวะที่ประเทศสยาม อาศัยอยู่ในพระ บรมโพธิสมภาร ของพระมหากษัตริย์สยามพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เขาจึงได้กราบบังคมทูลน้อมเกล้าฯ ถวายม้าตัวโปรดของเขาแด่พระองค์
  • 28. ศาสนาซิกข์เข้าสู่ประเทศไทย เขาก็ได้เดินทางกลับบ้านเกิด ณ แคว้นปัญจาป พร้อมทั้ง ชักชวนเพื่อนพ้อง ให้ไปตั้งถิ่นฐานอาศัยใต้ร่มพระบรมโพธิ สมภารพระเจ้ากรุงสยามในระยะต่อมา ชาวซิกข์ทยอยกันมาเรื่อย ๆ โดยศาสนิกชนชาวซิกข์ ได้เช่า เรือนไม้ บริเวณบ้านหม้อ หลังโรงภาพยนตร์เฉลิมกรุงปัจจุบัน จนขยายเป็นชุมชนการค้าใหญ่ในปัจจุบัน คือ พาหุรัต
  • 29. เกี่ยวกับพระเจ้า "รูปทั้งหลายปรากฏขึ้นตามคาสั่งของพระเจ้า (อกาลปุรุษ) สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอุบัติมาตามคาสั่งของพระเจ้า บุตรธิดาจะได้รู้ถึง กาเนิดบิดามารดาได้อย่างไร โลกทั้งหมดร้อยไว้ด้วยเส้นด้ายคือ คาสั่งของพระเจ้า" ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต
  • 30. เกี่ยวกับเศรษฐกิจสังคม ซิกข์สอนว่า 1. ให้ตื่นแต่เช้าอย่างน้อยครึ่งชั่วโมงก่อนรุ่งอรุณ 2. ตื่นแล้วให้บริกรรมทางธรรมเพื่อฟอกจิตใจให้สะอาด 3. ให้ประกอบสัมมาชีพ 4. ให้แบ่งส่วนของรายได้ 10 ส่วน มอบให้แก่กองการกุศล 5. ให้ละเว้นการเสพของมึนเมา ประพฤติผิดประเวณี ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 31. เกี่ยวกับประเทศชาติ ศาสนาซิกข์ ผู้มองเห็นภัยที่ประเทศชาติกาลังได้รับจาก คนต่างชาติ และคนในชาติเดียวกัน จึงได้ประกาศธรรม สั่งสอนคน เพื่อความดารงอยู่ของชาติ คุรุวาณีของท่าน เป็นเครื่องกระตุ้นให้ผู้รับฟังมีความสามัคคี มีความรักชาติ โดยไม่เกลียดชาติอื่น ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 32. สมัยคุรุโควินทสิงห์ สอนให้ชาวซิกข์เป็นทหารหาญ เสียสละเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อชาติ คุรุหลายท่านเช่นคุรุ อรชุนเทพ และคุรุเทคบาหาทูร์ ได้สละชีพเพื่อชาติ และ ศาสนา ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์/การรับน้าอมฤต ที่มา : http://www.oknation.net ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 33. เกี่ยวกับฐานะของสตรี ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์/การแต่งกายสตรี ที่มา : http://www.oknation.net ศาสนาซิกข์ยกสตรีให้มีฐานะเท่าบุรุษ สตรีมีสิทธิในการศึกษา ร่วมสวดมนต์ หรือเป็นผู้นาในการสวดมนต์เท่ากับบุรุษทุกประการ คุรุนานักให้โอวาทว่า "พวกท่านประณามสตรีด้วยเหตุใด สตรีเหล่านี้เป็นผู้ให้ กาเนิดแก่ราชา คุรุศาสดา และแม้แต่ตัวท่านเอง" ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 35. ลักษณะเด่นทางวัฒนธรรมของชาวซิกข์ ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์ ที่มา: http://www.themegallery.com
  • 36. เกี่ยวกับเสมอภาพ และเสรีภาพ คุรุนานักสอนว่า "โลกทั้งหมดเกิดจากแสงสว่างอัน เดียวกันคือ (พระเจ้า) จะว่าใครดีใครชั่วกว่ากันไม่ได้" คุรุโควินท สิงห์ สอนว่า สุเหร่า มณเฑียร วิหาร เป็น สถานที่บาเพ็ญธรรมของคนทั้งหลาย ที่เห็นแตกต่างกัน บ้าง เพราะความแตกต่างแห่ง กาละและเทศะ ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 37. ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย มีผู้นับถือ ศาสนาซิกข์จานวนหนึ่งรวมอยู่ด้วย ชาวซิกข์มีการแต่งตัวแตกต่างไปจากคนอื่น คือ มีผ้าโพกหัว ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 38. สัญลักษณ์ของชาวซิกข์ 5 ประการ 1. ไม่มีการตัดผมตลอดชีวิต 2. มีกาไลมือเพื่อระลึกถึงพระเจ้า ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ 3. มีหวี ที่มา : http://www.thaisikh.org 4. ต้องใส่กางเกงในมีความยาวเหนือเข่า 4 นิ้ว เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน 5. มีดาบสั้นเพื่อป้องกันคนที่มาทาร้ายคนปฏิบัติธรรม ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaigoodview.com ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 39. สัญลักษณ์ทั้งห้า ด้วยอักษร "ก". (ปัญจกะการ ) 1. เกศา (ผมยาวที่บารุงรักษาอย่างสะอาดสมบูรณ์ และไม่ตัดหรือ โกนอย่างเด็ดขาด), 2. กังฆะ (หวีไม้ ซึ่ง จะเสียบไว้ในผม), 3. การ่า (กาไลข้อมือเหล็กกล้า), 4. กะแช่ร่า (กางเกงในขาสั้น), 5. กีรปาน (กริช)
  • 40. พระศาสดา คุรุ โฆบินด์ ซิงห์ ยิ ได้ทรงสถาปนา ประชาคมซิกข์ (คาลซาปันท์, พระองค์ได้มีบัญชาให้ชาวซิกข์ ดารงรักษาศาสน สัญลักษณ์ห้าประการ - ปัญจกะการ
  • 41. ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org สัญลักษณ์ เอก โองการ ความหมายว่า พระเจ้าที่แท้จริงมีเพียงพระองค์เดียว สัญลักษณ์นี้ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาปัญจาบิ 2 ตัว ตัวแรกคือ หมายเลข "1” ในภาษาปัญจาบิ อ่านว่า "เอก" ตัวหลังคือ ตัวอักษร “ อูระ” แทนคาว่า "โองการ" มี ความหมายว่า พระเจ้า
  • 42. ภาพ : สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org สัญลักษณ์ คันด้า เป็นเครื่องหมายเกียรติยศของชาวซิกข์ สัญลักษณ์นี้ประกอบด้วยกีรปานสองด้าม (ดาบของชาวซิกข์) คันด้าหนึ่งอัน (ดาบลักษณะสองคม) และวงจักรหรือห่วงกลม ภายในหนึ่งอัน
  • 43. ชาวซิกข์ได้ยอมรับเครื่องหมายนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งเกียรติยศ แห่งศาสนาของตน ดาบทั้งสองด้ามแสดงถึงความมีอานาจ อธิปไตยทั้งทางโลกและทางธรรมอย่างสมบูรณ์ วงจักรแสดงถึงความเป็นอมตะหนึ่งเดียวของพระผู้เป็นเจ้า พระเจ้าผู้ทรงสร้างและให้กาเนิดทุกสรรพสิ่ง ดาบสองคมแสดงถึงความเป็นผู้ริเริ่ม ฉะนั้นอานาจอธิปไตย ความเป็นอมตะ (ของพระผู้เป็นเจ้า) และความเป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก
  • 44. ภาพ : กิจกรรมของชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ชาวซิกข์ในประเทศไทยมีสมาคมศรีคุรุสิงหสภา มีวัดซิกข์ และมีการจัดการศึกษาให้เยาวชน การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ตั้งสุขศาลาให้การ รักษาพยาบาลฟรี มีที่สงเคราะห์คนชรา และมีโรงทาน สาหรับคนทั่วไป ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 45. ศาสนสถาน ของศาสนาซิกข์ ภาพ : โบราณสถาน /เอกลักษณ์ชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 46. คุรุดวารา วัด ชาวซิกข์ คุรุดวารา หมายถึง ประตูหรือทางที่ทอดไปสู่พระศาสดา ในคุ รุดวาราทุกแห่งพระศาสดาคุรุ ครันธ์ซาฮิบ จะถูกอัญเชิญมา ประทับฐานในห้องโถงใหญ่ ซึ่งใช้เป็นสถานที่สวดภาวนาและ ประกอบศาสนากิจประจาวัน ชาวซิกข์ต้องมีศาสนสถานขึ้นเพื่อประกอบกิจ กรรม ทาง ศาสนา ในสังคมของชาวซิกข์มีคาสอนมุ่งเน้นถึงความร่วมมือ และการให้ ความช่วยเหลือกันภายในชุมชน
  • 47. ฮัรมันดิรซาฮิบ ภาพ : ฮัรมันดิรซาฮิบ /คุรุดวาราศาสนาซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ฮัรมันดิรซาฮิบ หมายถึง วิหารของพระผู้เป็นเจ้า เป็นที่รู้จักกัน ทั่วไปในนามของ สุวรรณวิหาร ประดิษฐานอยู่ในเมืองอมฤต สระ รัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย
  • 48. ฮัรมันดิรซาฮิบ สุวรรณวิหาร ประวัติศาสตร์การก่อตั้ง พระศาสดา คุรุอามัรดาส (องค์ที่ 3)ทรงมอบหมายให้รามดาส ( พระศาสดาคุรุรามดาส องค์ที่ 4 ) ดาเนินการ ก่อสร้างศาสน สถาน เป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม และเป็นศูนย์รวม ของชาวซิกข์ เริ่มการก่อสร้างในพ.ศ. 2020 ดาเนินการขุดสระ น้า ภาพ : คุรุดวารา สุวรรณวิหารชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org
  • 49. พระศาสดา คุรุอัรยันเดว (องค์ที่ 5 ) ดาเนินการขุดสระในนาม อมฤตสระ (สระน้าอมฤต) ต่อจนเสร็จใน พ.ศ. 2131 ดาเนินการ ก่อสร้างอาคารวิหารกลางสระน้า พระองค์ทรงเชิญชาวมุสลิม (อามีร) เป็นผู้วางศิลาฤกษ์การก่อสร้าง ซึ่งเป็นการแสดงถึงการ ไม่ถือชั้นวรรณะ นิกายศาสนา ความเชื่อถือใดๆทั้งสิ้น ก่อสร้าง แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2144
  • 50. พระศาสดาองค์ที่ 5 ทรงประกอบพิธีอัญเชิญสวด (พระมหา คัมภีร์ อาทิครันถ์ซาฮิบ ) พระศาสดาคุรุโควินท์ซิงห์ (พระศาสดาองค์ที่ 10) ได้สถาปนา ให้เป็นศาสดานิรันดร์กาลของชาวซิกข์ ให้พระนามว่า “พระมหาคัมภีร์คุรุครันถ์ซาฮิบ” จนถึงปัจจุบัน นี้) เป็นสุวรรณวิหารศักดิ์สิทธิ์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2146
  • 51. ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 52. ภาพ : ศาสนสถาน /พิธีกรรมชาวซิกข์ ที่มา : http://www.thaisikh.org ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 53. นิกายศาสนาของศาสนาซิกข์ 1. นิกายนักปันถี 2. นิกายปฏิบัติตามคาสอนของท่านคุรุนานัก และยังมีนิกายอื่น ๆ อีก กว่า 10 นิกาย ต่างกันที่ เครื่องแต่งกายเป็นเครื่องหมาย ภาพ : เอกลักษณ์ชาวซิกข์/การบูชาพระเจ้า ที่มา : http://www.thaisikh.org ครู วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสร รังสิต
  • 54. จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://www.okanation.net http://th.wikipedia.org http://www.konthamkhao.com http://www.thaisikh.org http://www.thaigoodview.com http://atclound.com http://www.amulet1.com http://www.rmutphysics.com http://www.taradphuket.biz คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง