SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรู 

เรื่อง  เลขยกกําลัง                             สาระที่  1  จํานวนและการดําเนินการ 
คณิตศาสตรพื้นฐาน  รหัสวิชา  ค31102                กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 
ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปที่  4                                     จํานวน  10  ชั่วโมง 

1.  มาตรฐานการเรียนรู 
          ค 1.2  ม.4-6/1         เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก  การบวก  การลบ  การคูณ 
                                 การหารจํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลัง 
                                 เปนจํานวนตรรกยะ  และจํานวนจริงในรูปกรณฑ 
            ค 1.3  ม.4-6/1        หาคาประมาณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนที่อยูในรูป 
                                 เลขยกกําลังโดยใชวิธีการคํานวณที่เหมาะสม 
            ค 6.1  ม.4-6/1       ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา 
                   ม.4-6/2       ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีใน 
                                 การแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 
                                          
                    ม.4-6/3      ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม 
                    ม.4-6/4      ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อ 
                                 ความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน 
                    ม.4-6/5      เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ 
                                 กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ 
                    ม.4-6/6      มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 

2.  ตัวชี้วัด 
          2.1  เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก  การลบ  การคูณ  การหาร  จํานวน 
               จริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  และจํานวนจริงในรูป 
               กรณฑได 
          2.2  หาคาประมาณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังโดยใช 
               วิธีคํานวณที่เหมาะสมได
แผนการจัดการเรียนรูที่  1 

คณิตศาสตรพื้นฐาน รายวิชา ค31102                                  เรื่อง  รากที่  n  ของจํานวนจริง 
ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปที่  4  ภาคเรียนที่  2                     จํานวนชั่วโมงสอน  5  ชั่วโมง 



    1.  มาตรฐานการเรียนรู 
        1.1  ดานความรู  นักเรียนสามารถ 
             1.1.1  หารากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได 
                                                ่
             1.1.2  หาคาหลักของรากที่  n  ของจํานวนจริงที่กําหนดใหได 
             1.1.3  บอกสมบัติของรากที่  n  ของจํานวนจริงและนําไปใชได 
             1.1.4  หาผลบวก  ผลตางและผลคูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑได 
                                                               
        1.2  ดานทักษะกระบวนการ  นักเรียนมีความสามารถ 
             1.2.1  ในการใหเหตุผล 
             1.2.2  ในการสื่อสาร  สื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ 
             1.2.3  ในการแกปญหา 
        1.3  ดานคุณลักษณะ 
             1.3.1  มีความรับผิดชอบ 
             1.3.2  มีระเบียบวินัย 
             1.3.3  มีความซื่อสัตย 
             1.3.4  มีความเชื่อมั่นในตนเอง 

    2.  สาระการเรียนรู 
        2.1  รากที่  n  ของจํานวนจริง 
        2.2  สมบัติของรากที่  n 
        2.3  การหาผลบวก  ผลตาง  และผลคูณ  ของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ
3.  กิจกรรมการเรียนรู 

ชั่วโมงที่                                  กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู 
                  1.  แจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวา  เมื่อเรียนจบแผนการจัดการเรียนรู 
                                                  
              นี้แลว  นักเรียนจะสามารถ 
                      - หารากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได 
                                                       ่
                      - หาคาหลักของรากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได 
                                                                  ่
                      - หาผลบวก  ผลตาง  และผลคูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑได 
                      - บอกสมบัติของรากที่  n  ของจํานวนจริงและนําไปใชได 
                  2.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงและการหารากที่  2  ของจํานวนจริง  โดยใช 
              การถาม-ตอบ 
                  3.  นักเรียนจับคูกันศึกษาใบความรู  ที่  14.1  แลวรวมกันสรุปเกี่ยวกับรากที่  n  ของ 
                                    
              จํานวนจริง  คาหลักของรากที่  n  และสมบัติของรากที่  n  โดยครูอธิบายเพิ่มเติม 
              หลังจากนั้นบันทึกลงในแบบสรุปเนื้อหา  ที่  14 
                  4.  ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนโดยเขียนคําถามตอไปนี้บนกระดาน  แลวให 
              นักเรียนคนหาคําตอบ  ดังนี้ 
                           1.  รากที่  3  ของ  125  มีคาเทาใด 
                           2.  จงหาคาหลักของรากที่  4  ของ  81 
                           3.  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย 
                                                         ้
                               3.1  300 
                               3.2  125 
                               3.3  3  81 
                               3.4  4 32  ,  4 162 
                  5.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  14.1  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ 
              บันทึกคะแนนไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง  ถายังทําไมเสร็จ  ใหนําไปทํา 
              เปนการบาน
ชั่วโมงที่                                กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู 
                  1.  ซักถามปญหาเกี่ยวกับการทําแบบฝกทักษะ  ที่  14.1  วามีขอสงสัยอะไรบาง 
              แลวครูอธิบายเพิ่มเติม  เพื่อนักเรียนจะไดแกไขขอบกพรองของตนเอง 
                  2.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับรากที่  n  ของจํานวนจริง  โดยใชการถาม-ตอบ 
                  3.  นักเรียนแบงกลุม ๆ ละ  4  คน  รวมกันศึกษาใบความรู  ที่  14.2  โดยศึกษา 
              ตัวอยางโดยละเอียด  หากมีขอสงสัยใหสอบถามครูผูสอน  ซึ่งครูจะเดินดูรอบ ๆ เพื่อ 
              คอยตอบขอปญหาของนักเรียน  หลังจากนั้นรวมกันสรุปวิธีหาผลบวก  ผลตาง  และผล 
              คูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและบันทึกลงในแบบสรุปเนื้อหา  ที่  14 
                 4.  นักเรียนจับฉลากกลุมละ  2  คน  เพื่อเปนตัวแทนเขาแขงขันเกมคณิตศาสตร 
              จํานวน  5  ขอ  ใหเวลา  10  นาที  แลวใหแตละกลุมเปลี่ยนกันตรวจตามเฉลย 
                 5.  ประกาศผลการแขงขัน  โดยเรียงจากคะแนนสูงสุดจํานวน  3  กลุม  เปนผูที่ไดรับ 
              รางวัลจากครูผูสอน 
                 6.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  14.2  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ 
              บันทึกคะแนนที่ไดไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง 
                 7.  นักเรียนทําเอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  ที่  14  เปนการบานเพื่อเสริมทักษะและความ 
              แมนยําในการเรียนรู 

    4.  สื่อการเรียนรู 
        4.1  ใบความรู  ที่  1.1 – 1.2 
        4.2  แบบฝกทักษะ  ที่  1.1 – 1.2 
        4.3  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  1 
        4.4  โจทยแขงขันเกมคณิตศาสตร 
        4.5  เอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  ที่  1 

    5.  แหลงการเรียนรู 
        5.1  หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 
                                        
        5.2  หองสมุดโรงเรียน
6.  หลักฐานการเรียนรู 
    6.1  แบบฝกทักษะ  ที่  1.1 – 1.2 
    6.2  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  1 
    6.3  เอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  ที่  1 

7.  การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู 

                การวัดผล                                 การประเมินผล 
   1.  สังเกตจากการตอบคําถาม              1.  นักเรียนสวนใหญตอบคําถามไดถูกตอง 
   2.  สังเกตจากการเขารวมกิจกรรม        2.  นักเรียนสนใจและรวมกิจกรรมดี 
   3.  การทําแบบฝกทักษะ                  3.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง 
   4.  การทําแบบสรุปเนื้อหา               4.  นักเรียนสวนใหญสรุปเนื้อหาไดถูกตอง 
   5.  การทําเอกสารฝกหัดเพิ่มเติม        5.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง
ใบความรูที่  1.1 

    1.  มาตรฐานการเรียนรู 
         1.  หารากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได 
                                         ่
         2.  หาคากลักของรากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได 
                                                   ่
         3.  บอกสมบัติของรากที่  n  ของจํานวนจริงและนําไปใชได 

    2.  สาระสําคัญ 
              ให  n  เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1   a  และ  b  เปนจํานวนจริง 
         b  เปนรากที่  n  ของ  a  ก็ตอเมื่อ  b n  =   a 

    3.  สาระการเรียนรู 
                                         รากที่  n  ของจํานวนจริง 
          การเขีย นเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  สามารถทําได โดยอาศัยความรูเรื่อง 
รากที่  n  ของจํานวนจริง a  (ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ  n a  )  และมีบทนิยาม  ดังนี้ 

        บทนิยาม  ให  n  เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1  a  และ  b  เปนจํานวนจริง 
               b  เปนรากที่  n  ของ  a  ก็ตอเมื่อ  b n  =   a 

         เรียก  n a  วาคาหลักของรากที่ n ของ a  หรือ กรณฑที่ n ของ a 
    ในกรณีทวไปมีขอสรุปเกี่ยวกับคาหลักของรากที่ n ของ a  หรือ  n a  ดังนี้ 
           ั่
         1.  ถา  a  =  0  ,  n a  =  0 
            2.  ถา  a  >  0  ,  n a  เปนจํานวนจริง 
          3. ถา  a  <  0  และ n  เปนจํานวนคี่  n a  จะเปนจํานวนลบ 
                             n  เปนจํานวนคู  n a  ไมใชจํานวนจริง 
    หมายเหตุ  ถา  n  =  2  จะเขียนแทน  2 a  ดวย  a 
    ตัวอยางที่ 1     2  เปนรากที่  2  ของ  4  เพราะ  2 2  =  4 
                      3  เปนรากที่  3  ของ  27  เพราะ  3 3  =  27 
                  -5  เปนรากที่  3  ของ  -125  เพราะ  (-5) 3  =  -125 
              2  เปนรากที่  5  ของ  32  เพราะ  2 5  =  32
ตัวอยางที่ 2          คาหลักของรากที่ 4  ของ  81  คือ  3 
                    คาหลักของรากที่ 3  ของ  216  คือ  6 
                    คาหลักของรากที่ 5  ของ  27  คือ  5 27 
                 คาหลักของรากที่ 7  ของ  -128  คือ  -2 

                                               ตารางแสดงสมบัตของรากที่ n 
                                                             ิ

                สมบัติของรากที่ n                                                           ตัวอยาง 
                n                                                                      5 
1.    æ n a ö
      ç
      è
            ÷
            ø
                     = a    เมื่อ  n a  เปนจํานวน  ( 3 ) 2  =  3  ,  æ 5 - 4 ö
                                                                      ç       ÷             = - 4 
                                                                      è       ø
จริง 
2.  n a n        เมื่อ  a ³ 0 
                 =  a                                    32     =  3       ,    5  5
                                                                                  8         =  8 

          =  a  เมื่อ  a < 0  และ  n 
    n  n                                               4 ( -  ) 4
      a                                                     3         =     - 3  = 3 

เปนจํานวนคี่บวก                                       6 ( - 2  6
                                                              )       =     - 2  =          2 

         =  a  เมื่อ  a<0  และ  n 
   n  n 
     a

เปนจํานวนคูบวก 
                                                         32     =         16 · 2  =          16 · 2  =        4  2 

3.    n ab       =  n a  · n b 
                                                       3 250        =  3 (  125  2  = 3 (  125  · 3 2  =
                                                                          - )(  )        - )                             3 
                                                                                                                      - 5  2 


      n a     n a                                               3 5                     3 5 
4.    n b 
           = 
              n b 
                   ,  b ¹ 0                            3  5 = 
                                                         27    3 27 
                                                                     =
                                                                                         3 

                                                                      4 16             4  4 
                                                       4 16 =               =
                                                                                         2 
                                                                                                     =
                                                                                                         2 
                                                         81           4 81             4  4              3 
                                                                                         3 
ตัวอยางที่  3      จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย 
                                        ้
                       1.  500                      2.  125 
                       3.  3 810                    4.  6 ×  15 

    วิธีทํา  1.         500   =         100 ´ 5  =        100 × 5  = 10  5 
             2.         125   =         25 ´ 5  =    25 × 5  = 5  5 
             3.    3 
                        810   =    3 
                                        27 ´ 30  =   3 
                                                          27 3  30  = 3  30 
                                                                       3 
แบบฝกทักษะที่  1.1 

      แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรู ขอที่  1.1.1 – 1.1.3 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ 
                                                                 ้



1.  รากที่ 3  ของ  - 152  คือ................................................................................................ 
2.  รากที่ 5  ของ  243  คือ................................................................................................ 
3.  รากที่ 6  ของ  64  คือ................................................................................................ 
4.  รากที่ 4  ของ  256  คือ................................................................................................ 
5.  คาหลักของรากที่ 3  ของ  - 64  คือ............................................................................. 
6.  คาหลักของรากที่ 4  ของ  16  คือ............................................................................. 
7.  คาหลักของรากที่ 5  ของ  100,000  คือ.......................................................................... 
8.  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย 
                           ้
    8.1  10 ×  8  =  …………………………………………………………………….. 
    8.2  3 3027  =  ……………………………………………………………………. 
    8.3  4 8 × 4 50  =  ……………………………………………………………………
เอกสารฝกทักษะเพิ่มเติมที่  1 

คําชี้แจง     ใหนักเรียนแสดงวิธีทําทุกขอ 

    1.  จงหาคาของ 
     3 8 + 2  50 - 4  32 

      7 3 16 + 3 54 - 2 3 250 
      3 81 + 3 - 375 + 4 3 192 

      2 18 +  200 - 2 4 64 

    2.  จงหาคาของ 
         2.1  3 7 ( 6  7 - 2 ) 
        2.2  ( 6 + 2 )(  6 - 2 ) 
        2.3  ( 7 + 3  3 )( 2  7 - 4  3 ) 
        2.4  (4  5 + 8  2 ) 2
ใบความรูที่  1.2 

    1.  มาตรฐานการเรียนรู 
         หาผลบวก  ผลตาง  และผลคูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑได 
                                                 

     2.  สาระสําคัญ 
          การหาผลบวก  และผลตางของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑจะหาไดเมื่อกรณฑมีอันดับเดียวกัน  และ 
                                                
จํานวนที่อยูภายในเครื่องหมายกรณฑตองเทากัน  สวนการหาผลคูณ  สามารถทําไดเมื่อเครื่องหมายกรณฑ 
             
มีอันดับเดียวกัน 

    3.  สาระการเรียนรู 

                           การหาผลบวก ผลตางของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑ 

ตัวอยางที่ 1  จงหาคาของ  3 50 -  32 -   18 

    วิธีทํา  3 50 -  32 - 18  =             3 25 ´ 2 - 16 ´ 2 - 9 ´ 2 

                                  =         3 25 ×  2 - 16 × 2 - 9 × 2 

                                  =         15 2 - 4  2 - 3  2 

                                  =         (15 - 4 - 3  2 
                                                       ) 

                                  =         8  2 




ตัวอยางที่ 2  จงหาคาของ  24 -  54 -     96 

    วิธีทํา  24 +  54 + 96  =                   4 ´ 6 + 9 ´ 6 + 16 ´ 6 

                                 =              4 ×  6 + 9 × 6 + 16 × 6 

                                 =          2 6 + 3  6 + 4  6 

                                 =          ( 2 + 3 + 4  6 
                                                       ) 

                                 =          9 6 
ตัวอยางที่ 3  จงหาคาของ 
         1.  4 15 ´ 4 6                            2.  3 7 ´ 3 8 
    วิธีทํา  1.  4 15 ´ 4 6             =            4 15´ 6 

                                        =           4 90 



                2.  3 7 ´ 3 8  =        3 7 ´ 8 

                                        =           3 56 




ตัวอยางที่ 4  จงทําใหเปนผลสําเร็จ          ( 2  3 +  4  7 )(  3 - 4  7 ) 
                                                               3 

    วิธีทํา  (2  3 + 4  7 )( 3  3 - 4  7 )         =            2 3 (  3 - 4  7 ) + 4  7 (  3 - 4  7 ) 
                                                                     3                    3 

                                                   =            2 3 × 3  3 - 2  3 × 4  7  + 4  7 × 3  3 - 4  7 × 4  7 

                                                   =            6(  ) - 8  21 + 12  21 - 16  7 
                                                                  3                        (  ) 

                                                   =            18 +  4  21 - 112 

                                                   =            - 94 + 4  21 
แบบฝกทักษะที่  1.2 

          แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรูขอที่  1.1.4 

คําชี้แจง     ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ 
                                                              ้
   ขอที่                                  โจทย                          คําตอบ 
      1       จงทําใหเปนผลสําเร็จ 
              1.1  3 50  -  3  8  + 32                          1.1 …………………………... 
              1.2  128 +  72  - 98                              1.2 …………………………... 
              1.3  3  81 +  2 3  24  - 3  375                   1.3 …………………………... 
              1.4  2  27 -  48  + 75                            1.4 …………………………... 
              1.5  3 147  -  49  - 121                          1.5 …………………………... 
                                 27            27 

              1.6         x
                                    +
                                        4 x                                 1.6 …………………………... 
                      3  -  12 x          3 

     2        จงหาคาของ 
              2.1  ( 2  2  +  3 )( 5  2  - 3 )                              2.1 …………………………... 
              2.2  ( 7  3  +  2  5 )( 2  3  - 5 )                           2.2 …………………………...
แบบสรุปเนื้อหา 

 คําชี้แจง  ใหนักเรียนสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับรากที่  n  ของจํานวนจริง  ตามหัวขอตอไปนี้ 

1.    n  a    (เมื่อ  a  Π R  และ  n Î  I ที่มากกวา 1  เรียกวา ………………………………………… 

2.  สมบัติของรากที่ n  มีดังนี้ 
    ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  ที่มีรากที่ n  และ  n  เปนจํานวนเต็มบวก 
    2.1  …………………………………………………………………………………………… 
    2.2  …………………………………………………………………………………………… 
    2.3  …………………………………………………………………………………………… 
    2.4  …………………………………………………………………………………………… 

3.  การบวก  ลบ  และการคูณของจํานวนเต็มที่อยูในรูปกรณฑ  จะสามารถทําไดเมื่อ 
     3.1  ………………………………………………………………………………………….. 
     3.2  ……………………………………………………………………………………………
บันทึกผล  หลังการจัดการเรียนรู 
   สรุปผลการเรียนรู 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   แนวทางในการแกไขและพัฒนา 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ขอเสนอแนะ 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 

                         ลงชื่อ ………………………………. ผูจัดทํา 
                                 (นายอุดม  วงศศรีดา) 
                                  ครู  ชํานาญการพิเศษ 
                  วันที่ ……… เดือน ………………….. พ.ศ………….
แผนการจัดการเรียนรูที่  2 

รายวิชา ค31102  คณิตศาสตรพื้นฐาน             เรื่อง  เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ 
ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปที่  4  ภาคเรียนที่ 1                    จํานวนชั่วโมงสอน  5  ชั่วโมง 

    1.  มาตรฐานการเรียนรู 
        1.1  ดานความรู  นักเรียนสามารถ 
             1.1.1  เปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังใหอยูในรูปของกรณฑและเปลี่ยนจํานวน 
                                        
                    ที่อยูในรูปกรณฑใหอยูในรูปเลขยกกําลังได 
             1.1.2  บอกสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและนําไปใชได 
             1.1.3  นําความรูเรื่อง  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะไปใช 
                    ในการแกโจทยปญหาได 
        1.2  ดานทักษะกระบวนการ  นักเรียนมีความสามารถ 
             1.2.1  ในการแกปญหา 
             1.2.2  ในการใหเหตุผล 
             1.2.3  ในการสื่อสาร  สื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ 
             1.2.4  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 
        1.3  ดานคุณลักษณะ 
             1.3.1  มีความรับผิดชอบ 
             1.3.2  มีระเบียบวินัย 
             1.3.3  มีความซื่อสัตย 

    2.  สาระการเรียนรู 
        2.1  เลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ 
                                  ้
        2.2  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ
                                              ้
3.  กิจกรรมการเรียนรู 

ชั่วโมงที่                                  กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู 
    132           1.  แจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวา  เมื่อเรียนจบแผนการจัดการเรียนรู 
                                                 
              นี้แลว  นักเรียนจะสามารถ 
                      - เปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังใหอยูในรูปกรณฑ  และเปลี่ยนจํานวนที่ 
                                                                     
              อยูในรูปกรณฑใหอยูในรูปเลขยกกําลังได 
                      - บอกสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและนําไปใชได 
                      - นําความรูเรื่องสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะไปใชใน 
              การแกโจทยปญหาได 
                  2.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม  โดยใชการ 
              ถาม-ตอบ  ดังนี้ 
                       1.  2 3  ´ 2 5  =   …………………………………. 
                       2.  (3 2 ) 5  =   …………………………………. 
                                   2 
                    3.    æ  5 ö
                          ç ÷           =   …………………………………. 
                          è 7 ø
                    4.  (3 ´ 2 ) 2  =   …………………………………. 
                           2 ­3  ´  2 ­6 
                    5.                      =   …………………………………. 
                               2 ­ 3 
                      6.  2 ­3 ´ 18  =   …………………………………. 
                  3.  สุมนักเรียนมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน  โดยครูอธิบายเพิ่มเติม 
                  4.  นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรู  ที่  15.1  โดยศึกษาตัวอยางและบทนิยาม  ให 
              เขาใจ  โดยครูเดินดูคอยตอบคําถามของนักเรียน  หลังจากนั้นบันทึกผลการเรียนรูที่ได 
              ลงในแบบสรุปเนื้อหา  ที่  15 
                  5. ครูเขียนตัวอยางการเปลี่ยนจํานวนทีกําหนดให  ใหอยูในรูปกรณฑหรือเลขยก 
                                                        ่
              กําลังบนกระดาน  เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้ง  ดังนี้ 
                               1 
                             9  3  เขียนใหอยูในรูปกรณฑไดเปน  …………………….. 
                                              
                            4 
                               81  เขียนใหอยูในรูปเลขยกกําลังไดเปน ……………….. 
                                                
                 6.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  15.1  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ 
              บันทึกคะแนนที่ไดไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง
ชั่วโมงที่                                 กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู 
    33            1.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  โดยใชการ 
              ถาม-ตอบ 
                  2.  นักเรียนศึกษาใบความรู  ที่  15.2  โดยศึกษาตัวอยางและสมบัติของเลขยกกําลังที่ 
              มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  โดยครูชวยชี้แนะ  และอธิบายเพิ่มเติม  แลวรวมกัน 
              สรุปสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ  และบันทึกลงในแบบ 
                                                    ้
              สรุปเนื้อหา  ที่  15 
                  3.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  15.2  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ 
              บันทึกคะแนนที่ไดไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง 
                  4.  นักเรียนแตละกลุม  Mind Map  เรื่อง  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปน 
                                                                                             ้
              จํานวนตรรกยะ  สงครูนอกเวลาเรียนเปนผลงานของกลุม 
   34             1.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับสมบัตของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ 
                                                      ิ
              โดยใชการถาม-ตอบ 
                  2.  นักเรียนดูแผนโปรงใส  ที่  15  เกี่ยวกับการนําความรูเรื่อง  สมบัติของเลขยก 
              กําลังที่มีเลขชี้กําลังไปใชในการแกโจทยปญหา  โดยครูใชการถาม-ตอบ  ประกอบการ 
              อธิบายและแสดงวิธีหาคําตอบ 
                  3.  นักเรียนสรุปผลการเรียนรูจากการดูแผนโปรงใส  ที่  15  ลงในแบบสรุปผลการ 
                                                 
              เรียนรูจากแผนโปรงใส 
                  4.  นักเรียนทําแบบทดสอบยอย  เรื่อง  เลขยกกําลัง  เพื่อเปนการประเมิน 
              ความกาวหนาของนักเรียน  หลังจากเรียนจบแผนการจัดการเรียนรูที่  14 – 15  (หนวย 
              การเรียนรูที่  4  เลขยกกําลัง) 
                           

    4.  สื่อการเรียนรู 
        4.1  ใบความรู  ที่  2.1 – 2.2 
        4.2  แบบฝกทักษะ  ที่  2.1 – 2.2 
        4.3  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  2 
        4.4  แผนโปรงใส  ที่  2
5.  แหลงการเรียนรู 
    5.1  หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร(หองคลินิกคณิตศาสตร๗ 
                                    
    5.2  หองสมุดโรงเรียน 

6.  หลักฐานการเรียนรู 
    6.1  แบบฝกทักษะ  ที่  2.1 – 2.2 
    6.2  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  2 
    6.3  Mind  Map 

7.  การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู 

                 การวัดผล                              การประเมินผล 
   1.  สังเกตจากการตอบคําถาม            1.  นักเรียนสวนใหญตอบคําถามไดถูกตอง 
   2.  สังเกตจากการเขารวมกิจกรรม      2.  นักเรียนสนใจและรวมกิจกรรมดี 
   3.  การทําแบบฝกทักษะ                3.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง 
   4.  การทําแบบสรุปเนื้อหา             4.  นักเรียนสวนใหญสรุปเนื้อหาไดถูกตอง 
   5.  การทํา  Mind  Map                5.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง  สวยงาม 
   6.  การทําแบบทดสอบยอย               6.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง
ใบความรูที่  2.1 

    1.  มาตรฐานการเรียนรู 
         เปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังใหอยูในรูปกรณฑและเปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปกรณฑใหอยู 
                            
ในรูปเลขยกกําลังได 

     2.  สาระสําคัญ 
          -  ถา  a  เปนจํานวนจริง  n  เปนจํานวนที่มากกวา 1  และ  a  มีรากที่ n  แลว 
                                                                 1 
                                                             a n         =  n  a 

          -  ถา  a  เปนจํานวนจริง  m  และ n  เปนจํานวนเต็ม ที่  n > 0  และ                                      m 
                                                                                                                        เปนเศษสวนอยางต่ํา  จะ 
                                                                                                                   n 
ไดวา 
                                                                           m 
                                               m              æ 1ö
                                             a n 
                                                              ç      ÷
                                                           =  ç a n  ÷
                                                              ç      ÷
                                                                                =     ( a ) 
                                                                                       n        m 

                                                              è      ø
                                                     m                     1 
                                                 a   n      =         (a  ) 
                                                                        m  n 
                                                                                =
                                                                                      n  m 
                                                                                           a 



3.  สาระการเรียนรู 

                                   เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ 

                           บทนิยาม                                                                             ตัวอยาง 
   เมื่อ  a  เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1  และ  a  มีรากที่ n                           1
                                                                                    3 2         =        3 
                             1 
                                                                                      1
                         a   n    =  n  a 
                                                                                    8 2         =        8 
                                        n 
                              æ  1  ö                                                 1 
   จากบทนิยามจะไดวา  ç      ç n ÷
                               a   ÷         =        a                             9 3         =  3  9 
                              ç    ÷
                              è    ø                                                         3 
                                                                                    æ 1ö
                                                                                    ç 3  ÷
                                                                                    ç 7  ÷           =        7 
                                                                                    ç ÷
                                                                                    è ø
บทนิยาม                                                       ตัวอยาง 
    ให  a  เปนจํานวนเต็มที่  n > 0  และ  m  เปนเศษสวน                                      3
                                                                                               2 
                                                                                                                  æ 1  ö
                                                                                                                  ç 2  ÷
                                                                                                                           3 
                                                                                                                                                æ 8 ö
                                                                                                                                                            3 
                                                                          n                  8           =        ç 8  ÷            =           ç   ÷
    อยางต่ํา  จะไดวา                                                                                           ç ÷
                                                                                                                  è ø
                                                                                                                                                è   ø

                                                         m                                                                      4 
                       m                æ 1ö                                                    4                  æ 1  ö
                     a n 
                                        ç      ÷
                                     =  ç a n  ÷                  =   ( a ) 
                                                                          n      m 
                                                                                             27 3            =
                                                                                                                   ç 3  ÷
                                                                                                                   ç 27  ÷
                                                                                                                   ç     ÷
                                                                                                                                            =         ( 27 ) 
                                                                                                                                                       3           4 

                                        ç      ÷
                                        è      ø                                                                   è     ø
                           m                          1                                                                              2 
                                                                                                 2                  æ     1  ö
                       a   n          =          ( ) 
                                                 a m  n 
                                                                  =
                                                                      n  m 
                                                                           a                 125 3            =
                                                                                                                    ç     3  ÷
                                                                                                                    ç 125  ÷                    =           ( 125 ) 
                                                                                                                                                            3           2 

                                                                                                                    ç        ÷
                                                                                                                    è        ø
                                                                                               3                       1 
                                                                                             4 2         =     (4  ) 
                                                                                                                    3  2 
                                                                                                                                =               4 3 
                                                                                                    4                     1 
                                                                                                             =  (25  )                           ( 25 ) 
                                                                                                                       4  3                       3           4 
                                                                                             25 3                                       =




ตัวอยางที่ 1  จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปกรณฑ 
                                          
                  1                                                                    1                                                         3 
          1.    8 3                                                            2.  64  4                                    3.  (- 5 ) 4 

                 1 
วิธีทํา  1.  8 3            =         3 
                                           8 
                   1 
          2.    64 4            =          4 
                                                64 
                       3 
          3.    ( - 5  4 
                     )               =          4 
                                                     ( -5  3 
                                                         ) 




ตัวอยางที่ 2  จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปเลขยกกําลัง 
                                          
          1.  3  6 2                                                           2.  4  256 
                                                                                       1 




                                            2 
วิธีทํา  1.  3  6 2             =        6 3 
                                                                                     -1 
          2.    4 
                      1
                     256 
                                     =          4 
                                                     (  ) 
                                                      256       -1 
                                                                      =        (  )  4 
                                                                                256 
3 
ตัวอยางที่ 3  จงหาคาของ         ( 81 
                                      ) 4 




                 3               3 
วิธีทํา    ( 81 
               ) 4     =    (  ) 4 
                             81 
                                  1 

                      =  [( 3 4 ) 4 } 3 
                      =  3 3 
                      =  27
แบบฝกทักษะที่  2.1 

      แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรู ขอที่  1.1.1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ 
                                                           ้

ขอที่                       คําถาม                                       คําตอบ 
  1  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูรูปเลขยกกําลัง 
                         ้
        1.1  4 64 3                                               1.1  …………………… 
        1.2  3 512                                                1.2  …………………… 
        1.3  3  - 125                                             1.3  …………………… 
       1.4    5 
                   1                                              1.4  …………………… 
                   32 

  2    จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูรูปกรณฑ 
                           ้
       2.1 
                       1 
              (- 243 ) 5 
                                                                  2.1 …………………… 
                     2                                            2.2…………………… 
       2.2    ( 27 ) 3 
                                                                  2.3…………………… 
                     3 
       2.3    ( 16 ) 4                                            2.4…………………… 
                         3 
       2.4  ( 144 ) 2 
  3    จงหาคาของจํานวนตอไปนี้ 
       3.1 
                       2 
              ( 1024 ) 5 
                                                                  3.1 …………………… 
                         1                                        3.2…………………….
       3.2            4  6 
              [( - 8  ] 
                    ) 
ใบความรูที่  2.2 

    1.  มาตรฐานการเรียนรู 
         บอกสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและนําไปใชได 

   2.  สาระสําคัญ 
         .ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง        m  และ  n  เปนเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนตรรกยะ 
จะไดวา                    a m  ´ a n  =        a m + n 
                            (a ´ b) m  =         a m  ´ b m 
                            (a m ) n    =        a mn 
                            a m  ¸ a n  =        a m – n  ,    a  ¹  0 
                                      n 
                                                  a n 
                             æ  a ö
                             ç ÷           =             ,    b  ¹  0 
                             è b ø                b n 
    3.  สาระการเรียนรู 

                         สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ 
       .ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  m  และ  n  เปนเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนตรรกยะ 
จะไดสมบัติของเลขยกกําลัง  ดังตารางตอไปนี้ 


   ขอที่           สมบัติของเลขยกกําลัง                                            ตัวอยาง 
     1       a m  ´ a n  = a m + n                              1              3                      1 
                                                                                                           +
                                                                                                               3 
                                                          æ  2 ö 4  æ 2 ö 4 
                                                          ç ÷ ´ç ÷                   =       æ  2 ö 4  4 
                                                                                             ç ÷
                                                          è 3 ø     è 3 ø                    è 3 ø

                                                                                      =       2 
                                                                                              3 
                                                                1        1                      1         1 
                                                                                      = 
                                                                                                     + 
                                                             5 6  ´ 5 3                       5 6  3 
                                                                                                1 
                                                                                      =       5  2 

     2       (a ´ b) m  = a m  ´ b m                      ( 9b  ) 
                                                                  1 
                                                               6  2 
                                                                              = 
                                                                                      1 
                                                                                    9 2 
                                                                                                   1 
                                                                                                6  2 
                                                                                           ´ (b  )                  =   3b 3 
                                                                    1                    1         1                        4 
                                                                4  3                     3  (a 4 ) 3 
                                                          (8a     )           =     (8)                         =       2a  3 
ขอที่                  สมบัติของเลขยกกําลัง                                                               ตัวอยาง 
   3       (a m ) n          = a mn                                      ( 8 3 ) 2 
                                                                                      1 
                                                                                                 = 
                                                                                                            3 
                                                                                                          8 2 

                                                                         (5 3 ) 2                =       5 6 



   4       a m  ¸ a n         =a m – n  ,    a  ¹  0                        2 
                                                                                                         2  1                   1 
                                                                          8 3                              ­ 
                                                                                            =         8 3  3         =      8 3 
                                                                               1 
                                                                          8 3 
                                                                                 6
                                                                                                                   6  æ 1 ö
                                                                                                                     ­ ç ­  ÷
                                                                           (­4)  7                                 7  ç 7 ÷
                                                                                                                       è ø
                                                                                                     =     (­4)                      =   ­  4 
                                                                                       1 
                                                                                     - 
                                                                          (­4) 



   5       æ  a ö
           ç ÷
                    n                n 
                             =  a n  ,    b  ¹  0                        æ 6 ö
                                                                         ç ÷
                                                                                     3 
                                                                                             =
                                                                                                         6 3 
           è b ø                    b                                    è 7 ø                           7 3 
                                                                                      1                     1 
                                                                         æ  5       ö 6                   5 6 
                                                                         ç ÷                     =
                                                                         è 4 ø                              1 
                                                                                                          4 6 




                                                          3 
                                          é        1  ù
ตัวอยางที่ 1  จงหาคาของ                 ê( 625 ) 4  ú
                                          ê           ú
                                          ê
                                          ë           ú
                                                      û


                                    3                                          3 
                    é        1  ù                              é        1  ù
วิธีทํา             ê( 625 ) 4  ú
                    ê           ú
                                                =              ê( 5 4 ) 4  ú
                                                               ê           ú
                    ê
                    ë           ú
                                û                              ê
                                                               ë           ú
                                                                           û
                                                                3 
                                                =              5 
                                                =              125
ตัวอยางที่ 2  จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย 
                                          
                   5                                                   4    2 
         1.    64  3                                 2.           5 3  ×  5 3 


                                                                  5 
                                   5            é       1  ù
วิธีทํา  1.                    64  3       =    ê( 64 ) 3  ú
                                                ê          ú
                                                ê
                                                ë          ú
                                                           û
                                                                  5 
                                                é        1  ù
                                           =    ê( 4 3 ) 3  ú
                                                ê           ú
                                                ê
                                                ë           ú
                                                            û
                                                 5 
                                           =  4 
                          4      2                 4         2 
         2.                                =  5 3 
                                                        + 
                        5 3  ×  5 3                          3 


                                           =  5 2 

ตัวอยางที่ 3  จงหาคาของ  x  เมื่อกําหนดให 
                1)  10 2x  =    0.0001 
                2)  (81) x  =    729 

วิธีทํา  1)                    10 2x       =  0.0001 
                               10 2x       =  1000 
                                                1 


                               10 2x       =       1 
                                                10 4 
                               10 2x       =      -4 
                                                10 
                               2x          =    -4 
                                x          =    -2 
         2)                    (81) x      =    729 
                               (3 4 ) x    =    3 6 
                               3 4x        =    3 6 
                               4x          =    6 
                              x           =    6 
                                                4 
                                           =    3
                                                2 
แบบฝกทักษะที่  2.2 
                                       แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรู ขอที่  1.1.2 

คําชี้แจง       ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ 
                                                                ้

ขอที่                        คําถาม                                                        คําตอบ 
  1  จงหาคาของจํานวนตอไปนี้ 
                             3 
                                                                                   1.1  ………………… 
                 2 3 ´  8 2 
         1.1 
                        8 
                                                1 
                 é 3 3x  + 1  + 3 2x  + 1  ù x 
         1.2     ê                         ú                                       1.2  …………….…… 
                 ê 3 2x  + 1  + 3 x  + 1  ú
                 ë                         û
  2      จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย 
                             ้
                        1           3 
                                                                                   2.1 ………………….. 
         2.1                 ­ 256  8 
                  324   2 
                       4            3 
                       5      +  81 4 
                  243 
                                          2                                        2.2…………………… 
         2.2  32      ­ 0.8 
                                  + 1000  3 

  3      จงหาคา  x  จากสมการตอไปนี้ 
         3.1       16 x  =   1024                                                  3.1 ………………….. 
         3.2      æ  4 ö
                  ç ÷
                           3 x 
                                   =
                                          64                                       3.2 ………………….. 
                  è 9 ø
                           2x 
                                         729 
                                                     -2 
                                                                                   3.3 …………………..
         3.3      æ  1 ö
                  ç ÷               =
                                          æ 1  ö
                                          ç      ÷
                  è 4 ø                   è 256  ø
ใบงาน ที่  2 

   การนําสมบัตของเลขยกกําลังที่มเี ลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะไปใชในการแกโจทยปญหา 
              ิ

ตัวอยาง        ถา  r  คือรัศมีของทรงกลมมีหนวยเปนนิว  และ  คือปริมาตรของทรงกลมที่มี 
                                                      ้
                หนวยเปนลูกบาศกนว  โดยที่ 
                                     ิ้
                                                            1 

                                r         =          é 3V ù 3 
                                                     ê 4    ú
                                                     ë pû
        จงหาวา  ทรงกลมซึ่งมีปริมาตรเทากับ  1,000  ลูกบาศกนว  จะมีรัศมียาวเทาใด 
                                                             ิ้

                                                            1 

วิธีทํา  จาก               r              =          é 3V ù 3 
                                                     ê 4    ú
                                                     ë pû
        และ  V   =   1,000  ให  p   3.14 
                                           1                            1 
        จะได  r         æ 3 ´ 1000  ö 3 
                         ç           ÷          หรือ       (238.8535)  3 
                         è 4 ´ 3.14  ø
                                                1 
        หาคาประมาณของ  (238.8535)  3  ไดดังนี้ 
        จาก  6 3  =   216  และ  7 3  =  343 
                                     1 
       แสดงวา  (238.8535)  มีคาอยูระหวาง  6  และ  7 
                                     3 


       หาคา x  ที่  x 3  มีคาใกลเคียง  238.8535 
                            (6.4) 3  =         262.144 
                            (6.3) 3  =         250.047 
                            (6.2) 3  =         238.328 
                                    3 
                            (6.21)  =          239.483 
      รัศมีของทรงกลมที่มีปริมาตร  1,000  ลูกบาศกนว  มีความยาวประมาณ  6.2  นิ้ว
                                                        ิ้
แบบสรุปเนื้อหาที่  2 

 คําชี้แจง  ใหนักเรียนสรุปเนื้อหาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน 
            จํานวนตรรกยะ  ตามหัวขอตอไปนี้ 

1.  หลักในการเปลี่ยนเลขยกกําลังใหอยูในรูปกรณฑ มีดังนี้ 
                                     
    1.1  ………………………………………………………….………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
    1.2  ………………………………………………………….………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 

2.  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  มีดังนี้ 
    ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  m  และ  n  เปนเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนตรรกยะ  จะไดวา 
         2.1  ……………………………………………………………………………………….. 
         2.2  ……………………………………………………………………………………….. 
         2.3  ……………………………………………………………………………………….. 
         2.4  ……………………………………………………………………………………….. 
         2.5  ………………………………………………………………………………………..
แบบทดสอบยอย 
                                                   เรื่อง  เลขยกกําลัง 

คําชี้แจง    ใหนักเรียนแสดงวิธีทําทุกขอ 

    1.  จงหาคาของ     3        3          3 
                        135 ­  3  320  +  2  40 



    2.  จงหาคาของ          ( 4  5  +  3  7 )(3  5  ­ 6  7 ) 



                            5 ´  3 x  ­  9 ´ 3 x ­ 2 
    3.  จงหาคาของ 
                                 3 x  ­ 3 x ­ 1 



    4.  จงหาคาของ  n  จากสมการ               2 n ­ 1  +  2 n ­ 2  + 2 n ­ 3  = 896 



    5.  ในวันที่มีอากาศสดใส  นายเรวุฒิยืนอยูบนชันสูงสุดของตึก  เขาสามารถมองไปไดไกล 
                                                   ้
        เปน ระยะที่สามารถคํานวณไดจากสูตร  ดังนี้ 
                                   d   =   1.2  h 
        เมื่อ  d  แทน ระยะทางที่สามารถมองไปไดไกลจากตึกสูง 
                h  แทน  ความสูงของตึก ณ จุดที่ยืน 
        ถายืนอยูบนตึกที่สูง  1454  เมตร  จะสามารถมองไดไกลทีสุดประมาณกี่เมตร
                                                              ่
บันทึกผล  หลังการจัดการเรียนรู 
   สรุปผลการเรียนรู 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   แนวทางในการแกไขและพัฒนา 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ขอเสนอแนะ 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   ………………………………………………………………………………………………….. 
   …………………………………………………………………………………. 

                         ลงชื่อ ………………………………. ผูจัดทํา 
                                 (นายอุดม  วงศศรีดา) 
                                 ครู  ชํานาญการพิเศษ 
                  วันที่ ……… เดือน ………………….. พ.ศ………….

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
tongcuteboy
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
srkschool
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
phachanee boonyuen
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
krutew Sudarat
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
srkschool
 

Tendances (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Ex
ExEx
Ex
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

En vedette (16)

Event
EventEvent
Event
 
Real number
Real numberReal number
Real number
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555
 
Youkomlun
YoukomlunYoukomlun
Youkomlun
 
Australian signs 2
Australian signs 2Australian signs 2
Australian signs 2
 
90 per 10 principle ( thai version )
90 per 10 principle ( thai version )90 per 10 principle ( thai version )
90 per 10 principle ( thai version )
 
Amazingness around us blog
Amazingness around us blogAmazingness around us blog
Amazingness around us blog
 
Postest
PostestPostest
Postest
 
Social Media Recruitment 2
Social Media Recruitment 2Social Media Recruitment 2
Social Media Recruitment 2
 
Yuca en colombia
Yuca en colombiaYuca en colombia
Yuca en colombia
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
การศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีนการศึกษาของประเทศจีน
การศึกษาของประเทศจีน
 
Operation blue star
Operation  blue starOperation  blue star
Operation blue star
 

Similaire à Logarithm2555

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
Yoon Yoon
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
seelopa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
tongcuteboy
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา
Nichaphon Tasombat
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
aapiaa
 

Similaire à Logarithm2555 (20)

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 

Plus de wongsrida

Plus de wongsrida (15)

Event1 2555
Event1 2555Event1 2555
Event1 2555
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Rubric
RubricRubric
Rubric
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Report
ReportReport
Report
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Wicharkarn2554
Wicharkarn2554Wicharkarn2554
Wicharkarn2554
 
Kru
KruKru
Kru
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 

Logarithm2555

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู  เรื่อง  เลขยกกําลัง  สาระที่  1  จํานวนและการดําเนินการ  คณิตศาสตรพื้นฐาน  รหัสวิชา  ค31102  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปที่  4  จํานวน  10  ชั่วโมง  1.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 1.2  ม.4-6/1  เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก  การบวก  การลบ  การคูณ  การหารจํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลัง  เปนจํานวนตรรกยะ  และจํานวนจริงในรูปกรณฑ  ค 1.3  ม.4-6/1  หาคาประมาณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนที่อยูในรูป  เลขยกกําลังโดยใชวิธีการคํานวณที่เหมาะสม  ค 6.1  ม.4-6/1  ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา  ม.4-6/2  ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีใน  การแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม   ม.4-6/3  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม  ม.4-6/4  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อ  ความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน  ม.4-6/5  เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตร และนําความรู หลักการ  กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ  ม.4-6/6  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค  2.  ตัวชี้วัด  2.1  เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก  การลบ  การคูณ  การหาร  จํานวน  จริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  และจํานวนจริงในรูป  กรณฑได  2.2  หาคาประมาณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังโดยใช  วิธีคํานวณที่เหมาะสมได
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูที่  1  คณิตศาสตรพื้นฐาน รายวิชา ค31102  เรื่อง  รากที่  n  ของจํานวนจริง  ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปที่  4  ภาคเรียนที่  2  จํานวนชั่วโมงสอน  5  ชั่วโมง  1.  มาตรฐานการเรียนรู  1.1  ดานความรู  นักเรียนสามารถ  1.1.1  หารากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได  ่ 1.1.2  หาคาหลักของรากที่  n  ของจํานวนจริงที่กําหนดใหได  1.1.3  บอกสมบัติของรากที่  n  ของจํานวนจริงและนําไปใชได  1.1.4  หาผลบวก  ผลตางและผลคูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑได   1.2  ดานทักษะกระบวนการ  นักเรียนมีความสามารถ  1.2.1  ในการใหเหตุผล  1.2.2  ในการสื่อสาร  สื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  1.2.3  ในการแกปญหา  1.3  ดานคุณลักษณะ  1.3.1  มีความรับผิดชอบ  1.3.2  มีระเบียบวินัย  1.3.3  มีความซื่อสัตย  1.3.4  มีความเชื่อมั่นในตนเอง  2.  สาระการเรียนรู  2.1  รากที่  n  ของจํานวนจริง  2.2  สมบัติของรากที่  n  2.3  การหาผลบวก  ผลตาง  และผลคูณ  ของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ
  • 3. 3.  กิจกรรมการเรียนรู  ชั่วโมงที่  กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู  1.  แจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวา  เมื่อเรียนจบแผนการจัดการเรียนรู   นี้แลว  นักเรียนจะสามารถ  - หารากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได  ่ - หาคาหลักของรากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได  ่ - หาผลบวก  ผลตาง  และผลคูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑได  - บอกสมบัติของรากที่  n  ของจํานวนจริงและนําไปใชได  2.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงและการหารากที่  2  ของจํานวนจริง  โดยใช  การถาม-ตอบ  3.  นักเรียนจับคูกันศึกษาใบความรู  ที่  14.1  แลวรวมกันสรุปเกี่ยวกับรากที่  n  ของ   จํานวนจริง  คาหลักของรากที่  n  และสมบัติของรากที่  n  โดยครูอธิบายเพิ่มเติม  หลังจากนั้นบันทึกลงในแบบสรุปเนื้อหา  ที่  14  4.  ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนโดยเขียนคําถามตอไปนี้บนกระดาน  แลวให  นักเรียนคนหาคําตอบ  ดังนี้  1.  รากที่  3  ของ  125  มีคาเทาใด  2.  จงหาคาหลักของรากที่  4  ของ  81  3.  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย  ้ 3.1  300  3.2  125  3.3  3  81  3.4  4 32  ,  4 162  5.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  14.1  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ  บันทึกคะแนนไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง  ถายังทําไมเสร็จ  ใหนําไปทํา  เปนการบาน
  • 4. ชั่วโมงที่  กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู  1.  ซักถามปญหาเกี่ยวกับการทําแบบฝกทักษะ  ที่  14.1  วามีขอสงสัยอะไรบาง  แลวครูอธิบายเพิ่มเติม  เพื่อนักเรียนจะไดแกไขขอบกพรองของตนเอง  2.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับรากที่  n  ของจํานวนจริง  โดยใชการถาม-ตอบ  3.  นักเรียนแบงกลุม ๆ ละ  4  คน  รวมกันศึกษาใบความรู  ที่  14.2  โดยศึกษา  ตัวอยางโดยละเอียด  หากมีขอสงสัยใหสอบถามครูผูสอน  ซึ่งครูจะเดินดูรอบ ๆ เพื่อ  คอยตอบขอปญหาของนักเรียน  หลังจากนั้นรวมกันสรุปวิธีหาผลบวก  ผลตาง  และผล  คูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและบันทึกลงในแบบสรุปเนื้อหา  ที่  14  4.  นักเรียนจับฉลากกลุมละ  2  คน  เพื่อเปนตัวแทนเขาแขงขันเกมคณิตศาสตร  จํานวน  5  ขอ  ใหเวลา  10  นาที  แลวใหแตละกลุมเปลี่ยนกันตรวจตามเฉลย  5.  ประกาศผลการแขงขัน  โดยเรียงจากคะแนนสูงสุดจํานวน  3  กลุม  เปนผูที่ไดรับ  รางวัลจากครูผูสอน  6.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  14.2  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ  บันทึกคะแนนที่ไดไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง  7.  นักเรียนทําเอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  ที่  14  เปนการบานเพื่อเสริมทักษะและความ  แมนยําในการเรียนรู  4.  สื่อการเรียนรู  4.1  ใบความรู  ที่  1.1 – 1.2  4.2  แบบฝกทักษะ  ที่  1.1 – 1.2  4.3  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  1  4.4  โจทยแขงขันเกมคณิตศาสตร  4.5  เอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  ที่  1  5.  แหลงการเรียนรู  5.1  หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร   5.2  หองสมุดโรงเรียน
  • 5. 6.  หลักฐานการเรียนรู  6.1  แบบฝกทักษะ  ที่  1.1 – 1.2  6.2  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  1  6.3  เอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  ที่  1  7.  การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู  การวัดผล  การประเมินผล  1.  สังเกตจากการตอบคําถาม  1.  นักเรียนสวนใหญตอบคําถามไดถูกตอง  2.  สังเกตจากการเขารวมกิจกรรม  2.  นักเรียนสนใจและรวมกิจกรรมดี  3.  การทําแบบฝกทักษะ  3.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง  4.  การทําแบบสรุปเนื้อหา  4.  นักเรียนสวนใหญสรุปเนื้อหาไดถูกตอง  5.  การทําเอกสารฝกหัดเพิ่มเติม  5.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง
  • 6. ใบความรูที่  1.1  1.  มาตรฐานการเรียนรู  1.  หารากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได  ่ 2.  หาคากลักของรากที่  n  ของจํานวนจริงทีกําหนดใหได  ่ 3.  บอกสมบัติของรากที่  n  ของจํานวนจริงและนําไปใชได  2.  สาระสําคัญ  ให  n  เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1   a  และ  b  เปนจํานวนจริง  b  เปนรากที่  n  ของ  a  ก็ตอเมื่อ  b n  =   a  3.  สาระการเรียนรู  รากที่  n  ของจํานวนจริง  การเขีย นเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  สามารถทําได โดยอาศัยความรูเรื่อง  รากที่  n  ของจํานวนจริง a  (ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ  n a  )  และมีบทนิยาม  ดังนี้  บทนิยาม  ให  n  เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  b  เปนรากที่  n  ของ  a  ก็ตอเมื่อ  b n  =   a  เรียก  n a  วาคาหลักของรากที่ n ของ a  หรือ กรณฑที่ n ของ a  ในกรณีทวไปมีขอสรุปเกี่ยวกับคาหลักของรากที่ n ของ a  หรือ  n a  ดังนี้  ั่ 1.  ถา  a  =  0  ,  n a  =  0  2.  ถา  a  >  0  ,  n a  เปนจํานวนจริง  3. ถา  a  <  0  และ n  เปนจํานวนคี่  n a  จะเปนจํานวนลบ  n  เปนจํานวนคู  n a  ไมใชจํานวนจริง  หมายเหตุ  ถา  n  =  2  จะเขียนแทน  2 a  ดวย  a  ตัวอยางที่ 1  2  เปนรากที่  2  ของ  4  เพราะ  2 2  =  4  3  เปนรากที่  3  ของ  27  เพราะ  3 3  =  27  -5  เปนรากที่  3  ของ  -125  เพราะ  (-5) 3  =  -125  2  เปนรากที่  5  ของ  32  เพราะ  2 5  =  32
  • 7. ตัวอยางที่ 2  คาหลักของรากที่ 4  ของ  81  คือ  3  คาหลักของรากที่ 3  ของ  216  คือ  6  คาหลักของรากที่ 5  ของ  27  คือ  5 27  คาหลักของรากที่ 7  ของ  -128  คือ  -2  ตารางแสดงสมบัตของรากที่ n  ิ สมบัติของรากที่ n  ตัวอยาง  n  5  1.  æ n a ö ç è ÷ ø = a  เมื่อ  n a  เปนจํานวน  ( 3 ) 2  =  3  ,  æ 5 - 4 ö ç ÷ = - 4  è ø จริง  2.  n a n เมื่อ  a ³ 0  =  a  32 =  3  ,  5  5 8 =  8  =  a  เมื่อ  a < 0  และ  n  n  n 4 ( -  ) 4 a 3  = - 3  = 3  เปนจํานวนคี่บวก  6 ( - 2  6 )  = - 2  = 2  =  a  เมื่อ  a<0  และ  n  n  n  a เปนจํานวนคูบวก  32 =  16 · 2  = 16 · 2  = 4  2  3.  n ab =  n a  · n b  3 250 =  3 (  125  2  = 3 (  125  · 3 2  = - )(  )  - )  3  - 5  2  n a n a  3 5  3 5  4.  n b  =  n b  ,  b ¹ 0  3  5 =  27  3 27  = 3  4 16  4  4  4 16 = = 2  = 2  81  4 81  4  4 3  3 
  • 8. ตัวอยางที่  3  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย  ้ 1.  500  2.  125  3.  3 810  4.  6 ×  15  วิธีทํา  1.  500 =  100 ´ 5  = 100 × 5  = 10  5  2.  125 =  25 ´ 5  = 25 × 5  = 5  5  3.  3  810 = 3  27 ´ 30  = 3  27 3  30  = 3  30  3 
  • 9. แบบฝกทักษะที่  1.1  แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรู ขอที่  1.1.1 – 1.1.3  คําชี้แจง  ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ  ้ 1.  รากที่ 3  ของ  - 152  คือ................................................................................................  2.  รากที่ 5  ของ  243  คือ................................................................................................  3.  รากที่ 6  ของ  64  คือ................................................................................................  4.  รากที่ 4  ของ  256  คือ................................................................................................  5.  คาหลักของรากที่ 3  ของ  - 64  คือ.............................................................................  6.  คาหลักของรากที่ 4  ของ  16  คือ.............................................................................  7.  คาหลักของรากที่ 5  ของ  100,000  คือ..........................................................................  8.  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย  ้ 8.1  10 ×  8  =  ……………………………………………………………………..  8.2  3 3027  =  …………………………………………………………………….  8.3  4 8 × 4 50  =  ……………………………………………………………………
  • 10. เอกสารฝกทักษะเพิ่มเติมที่  1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนแสดงวิธีทําทุกขอ  1.  จงหาคาของ  3 8 + 2  50 - 4  32  7 3 16 + 3 54 - 2 3 250  3 81 + 3 - 375 + 4 3 192  2 18 +  200 - 2 4 64  2.  จงหาคาของ  2.1  3 7 ( 6  7 - 2 )  2.2  ( 6 + 2 )(  6 - 2 )  2.3  ( 7 + 3  3 )( 2  7 - 4  3 )  2.4  (4  5 + 8  2 ) 2
  • 11. ใบความรูที่  1.2  1.  มาตรฐานการเรียนรู  หาผลบวก  ผลตาง  และผลคูณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑได   2.  สาระสําคัญ  การหาผลบวก  และผลตางของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑจะหาไดเมื่อกรณฑมีอันดับเดียวกัน  และ   จํานวนที่อยูภายในเครื่องหมายกรณฑตองเทากัน  สวนการหาผลคูณ  สามารถทําไดเมื่อเครื่องหมายกรณฑ   มีอันดับเดียวกัน  3.  สาระการเรียนรู  การหาผลบวก ผลตางของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑ  ตัวอยางที่ 1  จงหาคาของ  3 50 -  32 - 18  วิธีทํา  3 50 -  32 - 18  =  3 25 ´ 2 - 16 ´ 2 - 9 ´ 2  =  3 25 ×  2 - 16 × 2 - 9 × 2  =  15 2 - 4  2 - 3  2  =  (15 - 4 - 3  2  )  =  8  2  ตัวอยางที่ 2  จงหาคาของ  24 -  54 - 96  วิธีทํา  24 +  54 + 96  =  4 ´ 6 + 9 ´ 6 + 16 ´ 6  =  4 ×  6 + 9 × 6 + 16 × 6  =  2 6 + 3  6 + 4  6  =  ( 2 + 3 + 4  6  )  =  9 6 
  • 12. ตัวอยางที่ 3  จงหาคาของ  1.  4 15 ´ 4 6  2.  3 7 ´ 3 8  วิธีทํา  1.  4 15 ´ 4 6  =  4 15´ 6  =  4 90  2.  3 7 ´ 3 8  =  3 7 ´ 8  =  3 56  ตัวอยางที่ 4  จงทําใหเปนผลสําเร็จ  ( 2  3 +  4  7 )(  3 - 4  7 )  3  วิธีทํา  (2  3 + 4  7 )( 3  3 - 4  7 )  =  2 3 (  3 - 4  7 ) + 4  7 (  3 - 4  7 )  3  3  =  2 3 × 3  3 - 2  3 × 4  7  + 4  7 × 3  3 - 4  7 × 4  7  =  6(  ) - 8  21 + 12  21 - 16  7  3  (  )  =  18 +  4  21 - 112  =  - 94 + 4  21 
  • 13. แบบฝกทักษะที่  1.2  แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรูขอที่  1.1.4  คําชี้แจง  ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ  ้ ขอที่  โจทย  คําตอบ  1  จงทําใหเปนผลสําเร็จ  1.1  3 50  -  3  8  + 32  1.1 …………………………...  1.2  128 +  72  - 98  1.2 …………………………...  1.3  3  81 +  2 3  24  - 3  375  1.3 …………………………...  1.4  2  27 -  48  + 75  1.4 …………………………...  1.5  3 147  -  49  - 121  1.5 …………………………...  27  27  1.6  x + 4 x  1.6 …………………………...  3  -  12 x  3  2  จงหาคาของ  2.1  ( 2  2  +  3 )( 5  2  - 3 )  2.1 …………………………...  2.2  ( 7  3  +  2  5 )( 2  3  - 5 )  2.2 …………………………...
  • 14. แบบสรุปเนื้อหา  คําชี้แจง  ใหนักเรียนสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับรากที่  n  ของจํานวนจริง  ตามหัวขอตอไปนี้  1.  n  a  (เมื่อ  a  Π R  และ  n Î  I ที่มากกวา 1  เรียกวา …………………………………………  2.  สมบัติของรากที่ n  มีดังนี้  ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  ที่มีรากที่ n  และ  n  เปนจํานวนเต็มบวก  2.1  ……………………………………………………………………………………………  2.2  ……………………………………………………………………………………………  2.3  ……………………………………………………………………………………………  2.4  ……………………………………………………………………………………………  3.  การบวก  ลบ  และการคูณของจํานวนเต็มที่อยูในรูปกรณฑ  จะสามารถทําไดเมื่อ  3.1  …………………………………………………………………………………………..  3.2  ……………………………………………………………………………………………
  • 15. บันทึกผล  หลังการจัดการเรียนรู  สรุปผลการเรียนรู  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  แนวทางในการแกไขและพัฒนา  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  ขอเสนอแนะ  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  ลงชื่อ ………………………………. ผูจัดทํา  (นายอุดม  วงศศรีดา)  ครู  ชํานาญการพิเศษ  วันที่ ……… เดือน ………………….. พ.ศ………….
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูที่  2  รายวิชา ค31102  คณิตศาสตรพื้นฐาน  เรื่อง  เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปที่  4  ภาคเรียนที่ 1  จํานวนชั่วโมงสอน  5  ชั่วโมง  1.  มาตรฐานการเรียนรู  1.1  ดานความรู  นักเรียนสามารถ  1.1.1  เปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังใหอยูในรูปของกรณฑและเปลี่ยนจํานวน   ที่อยูในรูปกรณฑใหอยูในรูปเลขยกกําลังได  1.1.2  บอกสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและนําไปใชได  1.1.3  นําความรูเรื่อง  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะไปใช  ในการแกโจทยปญหาได  1.2  ดานทักษะกระบวนการ  นักเรียนมีความสามารถ  1.2.1  ในการแกปญหา  1.2.2  ในการใหเหตุผล  1.2.3  ในการสื่อสาร  สื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  1.2.4  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค  1.3  ดานคุณลักษณะ  1.3.1  มีความรับผิดชอบ  1.3.2  มีระเบียบวินัย  1.3.3  มีความซื่อสัตย  2.  สาระการเรียนรู  2.1  เลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ  ้ 2.2  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ ้
  • 17. 3.  กิจกรรมการเรียนรู  ชั่วโมงที่  กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู  132  1.  แจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวา  เมื่อเรียนจบแผนการจัดการเรียนรู   นี้แลว  นักเรียนจะสามารถ  - เปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังใหอยูในรูปกรณฑ  และเปลี่ยนจํานวนที่   อยูในรูปกรณฑใหอยูในรูปเลขยกกําลังได  - บอกสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและนําไปใชได  - นําความรูเรื่องสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะไปใชใน  การแกโจทยปญหาได  2.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม  โดยใชการ  ถาม-ตอบ  ดังนี้  1.  2 3  ´ 2 5  =   ………………………………….  2.  (3 2 ) 5  =   ………………………………….  2  3.  æ  5 ö ç ÷ =   ………………………………….  è 7 ø 4.  (3 ´ 2 ) 2  =   ………………………………….  2 ­3  ´  2 ­6  5.  =   ………………………………….  2 ­ 3  6.  2 ­3 ´ 18  =   ………………………………….  3.  สุมนักเรียนมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน  โดยครูอธิบายเพิ่มเติม  4.  นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรู  ที่  15.1  โดยศึกษาตัวอยางและบทนิยาม  ให  เขาใจ  โดยครูเดินดูคอยตอบคําถามของนักเรียน  หลังจากนั้นบันทึกผลการเรียนรูที่ได  ลงในแบบสรุปเนื้อหา  ที่  15  5. ครูเขียนตัวอยางการเปลี่ยนจํานวนทีกําหนดให  ใหอยูในรูปกรณฑหรือเลขยก  ่ กําลังบนกระดาน  เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้ง  ดังนี้  1  9  3  เขียนใหอยูในรูปกรณฑไดเปน  ……………………..   4  81  เขียนใหอยูในรูปเลขยกกําลังไดเปน ………………..   6.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  15.1  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ  บันทึกคะแนนที่ไดไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง
  • 18. ชั่วโมงที่  กิจกรรมการเรียนรู / สื่อการเรียนรู  33  1.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  โดยใชการ  ถาม-ตอบ  2.  นักเรียนศึกษาใบความรู  ที่  15.2  โดยศึกษาตัวอยางและสมบัติของเลขยกกําลังที่  มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  โดยครูชวยชี้แนะ  และอธิบายเพิ่มเติม  แลวรวมกัน  สรุปสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปนจํานวนตรรกยะ  และบันทึกลงในแบบ  ้ สรุปเนื้อหา  ที่  15  3.  นักเรียนทําแบบฝกทักษะ  ที่  15.2  แลวเปลี่ยนกันตรวจตามแผนภูมิเฉลย  และ  บันทึกคะแนนที่ไดไว  โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง  4.  นักเรียนแตละกลุม  Mind Map  เรื่อง  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชีกําลังเปน  ้ จํานวนตรรกยะ  สงครูนอกเวลาเรียนเปนผลงานของกลุม  34  1.  ทบทวนความรูเกี่ยวกับสมบัตของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  ิ โดยใชการถาม-ตอบ  2.  นักเรียนดูแผนโปรงใส  ที่  15  เกี่ยวกับการนําความรูเรื่อง  สมบัติของเลขยก  กําลังที่มีเลขชี้กําลังไปใชในการแกโจทยปญหา  โดยครูใชการถาม-ตอบ  ประกอบการ  อธิบายและแสดงวิธีหาคําตอบ  3.  นักเรียนสรุปผลการเรียนรูจากการดูแผนโปรงใส  ที่  15  ลงในแบบสรุปผลการ   เรียนรูจากแผนโปรงใส  4.  นักเรียนทําแบบทดสอบยอย  เรื่อง  เลขยกกําลัง  เพื่อเปนการประเมิน  ความกาวหนาของนักเรียน  หลังจากเรียนจบแผนการจัดการเรียนรูที่  14 – 15  (หนวย  การเรียนรูที่  4  เลขยกกําลัง)   4.  สื่อการเรียนรู  4.1  ใบความรู  ที่  2.1 – 2.2  4.2  แบบฝกทักษะ  ที่  2.1 – 2.2  4.3  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  2  4.4  แผนโปรงใส  ที่  2
  • 19. 5.  แหลงการเรียนรู  5.1  หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร(หองคลินิกคณิตศาสตร๗   5.2  หองสมุดโรงเรียน  6.  หลักฐานการเรียนรู  6.1  แบบฝกทักษะ  ที่  2.1 – 2.2  6.2  แบบสรุปเนื้อหา  ที่  2  6.3  Mind  Map  7.  การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู  การวัดผล  การประเมินผล  1.  สังเกตจากการตอบคําถาม  1.  นักเรียนสวนใหญตอบคําถามไดถูกตอง  2.  สังเกตจากการเขารวมกิจกรรม  2.  นักเรียนสนใจและรวมกิจกรรมดี  3.  การทําแบบฝกทักษะ  3.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง  4.  การทําแบบสรุปเนื้อหา  4.  นักเรียนสวนใหญสรุปเนื้อหาไดถูกตอง  5.  การทํา  Mind  Map  5.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง  สวยงาม  6.  การทําแบบทดสอบยอย  6.  นักเรียนสวนใหญทําไดถูกตอง
  • 20. ใบความรูที่  2.1  1.  มาตรฐานการเรียนรู  เปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังใหอยูในรูปกรณฑและเปลี่ยนจํานวนที่อยูในรูปกรณฑใหอยู   ในรูปเลขยกกําลังได  2.  สาระสําคัญ  -  ถา  a  เปนจํานวนจริง  n  เปนจํานวนที่มากกวา 1  และ  a  มีรากที่ n  แลว  1  a n  =  n  a  -  ถา  a  เปนจํานวนจริง  m  และ n  เปนจํานวนเต็ม ที่  n > 0  และ  m  เปนเศษสวนอยางต่ํา  จะ  n  ไดวา  m  m  æ 1ö a n  ç ÷ =  ç a n  ÷ ç ÷ = ( a )  n  m  è ø m  1  a n  =  (a  )  m  n  = n  m  a  3.  สาระการเรียนรู  เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  บทนิยาม  ตัวอยาง  เมื่อ  a  เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1  และ  a  มีรากที่ n  1 3 2  =  3  1  1 a n  =  n  a  8 2  =  8  n  æ  1  ö 1  จากบทนิยามจะไดวา  ç ç n ÷ a  ÷ = a  9 3  =  3  9  ç ÷ è ø 3  æ 1ö ç 3  ÷ ç 7  ÷ = 7  ç ÷ è ø
  • 21. บทนิยาม  ตัวอยาง  ให  a  เปนจํานวนเต็มที่  n > 0  และ  m  เปนเศษสวน  3 2  æ 1  ö ç 2  ÷ 3  æ 8 ö 3  n  8  = ç 8  ÷ = ç ÷ อยางต่ํา  จะไดวา  ç ÷ è ø è ø m  4  m  æ 1ö 4  æ 1  ö a n  ç ÷ =  ç a n  ÷ = ( a )  n  m  27 3  = ç 3  ÷ ç 27  ÷ ç ÷ = ( 27 )  3  4  ç ÷ è ø è ø m  1  2  2  æ 1  ö a n  =  ( )  a m  n  = n  m  a  125 3  = ç 3  ÷ ç 125  ÷ = ( 125 )  3  2  ç ÷ è ø 3  1  4 2  = (4  )  3  2  = 4 3  4  1  =  (25  ) ( 25 )  4  3  3  4  25 3  = ตัวอยางที่ 1  จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปกรณฑ   1  1  3  1.  8 3  2.  64  4  3.  (- 5 ) 4  1  วิธีทํา  1.  8 3  =  3  8  1  2.  64 4  =  4  64  3  3.  ( - 5  4  )  = 4  ( -5  3  )  ตัวอยางที่ 2  จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปเลขยกกําลัง   1.  3  6 2  2.  4  256  1  2  วิธีทํา  1.  3  6 2  =  6 3  -1  2.  4  1 256  = 4  (  )  256  -1  = (  )  4  256 
  • 22. 3  ตัวอยางที่ 3  จงหาคาของ  ( 81  ) 4  3  3  วิธีทํา  ( 81  ) 4  = (  ) 4  81  1  =  [( 3 4 ) 4 } 3  =  3 3  =  27
  • 23. แบบฝกทักษะที่  2.1  แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรู ขอที่  1.1.1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ  ้ ขอที่  คําถาม  คําตอบ  1  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูรูปเลขยกกําลัง  ้ 1.1  4 64 3  1.1  ……………………  1.2  3 512  1.2  ……………………  1.3  3  - 125 1.3  ……………………  1.4  5  1  1.4  ……………………  32  2  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูรูปกรณฑ  ้ 2.1  1  (- 243 ) 5  2.1 ……………………  2  2.2……………………  2.2  ( 27 ) 3  2.3……………………  3  2.3  ( 16 ) 4  2.4……………………  3  2.4  ( 144 ) 2  3  จงหาคาของจํานวนตอไปนี้  3.1  2  ( 1024 ) 5  3.1 ……………………  1  3.2……………………. 3.2  4  6  [( - 8  ]  ) 
  • 24. ใบความรูที่  2.2  1.  มาตรฐานการเรียนรู  บอกสมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและนําไปใชได  2.  สาระสําคัญ  .ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  m  และ  n  เปนเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนตรรกยะ  จะไดวา  a m  ´ a n  =  a m + n  (a ´ b) m  =  a m  ´ b m  (a m ) n  =  a mn  a m  ¸ a n  =  a m – n  ,    a  ¹  0  n  a n  æ  a ö ç ÷ =  ,    b  ¹  0  è b ø b n  3.  สาระการเรียนรู  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  .ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  m  และ  n  เปนเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนตรรกยะ  จะไดสมบัติของเลขยกกําลัง  ดังตารางตอไปนี้  ขอที่  สมบัติของเลขยกกําลัง  ตัวอยาง  1  a m  ´ a n  = a m + n  1  3  1  + 3  æ  2 ö 4  æ 2 ö 4  ç ÷ ´ç ÷ =  æ  2 ö 4  4  ç ÷ è 3 ø è 3 ø è 3 ø =  2  3  1  1  1  1  =  +  5 6  ´ 5 3  5 6  3  1  =  5  2  2  (a ´ b) m  = a m  ´ b m  ( 9b  )  1  6  2  =  1  9 2  1  6  2  ´ (b  )  = 3b 3  1  1  1  4  4  3  3  (a 4 ) 3  (8a )  = (8)  = 2a  3 
  • 25. ขอที่  สมบัติของเลขยกกําลัง  ตัวอยาง  3  (a m ) n  = a mn  ( 8 3 ) 2  1  =  3  8 2  (5 3 ) 2  =  5 6  4  a m  ¸ a n  =a m – n  ,    a  ¹  0  2  2  1  1  8 3  ­  =  8 3  3  = 8 3  1  8 3  6 6  æ 1 ö ­ ç ­  ÷ (­4)  7  7  ç 7 ÷ è ø = (­4)  = ­  4  1  -  (­4)  5  æ  a ö ç ÷ n  n  =  a n  ,    b  ¹  0  æ 6 ö ç ÷ 3  = 6 3  è b ø b  è 7 ø 7 3  1  1  æ  5 ö 6  5 6  ç ÷ = è 4 ø 1  4 6  3  é  1  ù ตัวอยางที่ 1  จงหาคาของ  ê( 625 ) 4  ú ê ú ê ë ú û 3  3  é  1  ù é  1  ù วิธีทํา  ê( 625 ) 4  ú ê ú =  ê( 5 4 ) 4  ú ê ú ê ë ú û ê ë ú û 3  =  5  =  125
  • 26. ตัวอยางที่ 2  จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย   5  4  2  1.  64  3  2.  5 3  ×  5 3  5  5  é  1  ù วิธีทํา  1.  64  3  =  ê( 64 ) 3  ú ê ú ê ë ú û 5  é  1  ù =  ê( 4 3 ) 3  ú ê ú ê ë ú û 5  =  4  4  2  4  2  2.  =  5 3  +  5 3  ×  5 3  3  =  5 2  ตัวอยางที่ 3  จงหาคาของ  x  เมื่อกําหนดให  1)  10 2x  =    0.0001  2)  (81) x  =    729  วิธีทํา  1)  10 2x  =  0.0001  10 2x  =  1000  1  10 2x  =  1  10 4  10 2x  =  -4  10  2x  =  -4  x  =  -2  2)  (81) x  =  729  (3 4 ) x  =  3 6  3 4x  =  3 6  4x  =  6    x  =  6  4  =  3 2 
  • 27. แบบฝกทักษะที่  2.2  แบบฝกทักษะตามจุดประสงคการเรียนรู ขอที่  1.1.2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางแตละขอตอไปนีใหถูกตองสมบูรณ  ้ ขอที่  คําถาม  คําตอบ  1  จงหาคาของจํานวนตอไปนี้  3  1.1  …………………  2 3 ´  8 2  1.1  8  1  é 3 3x  + 1  + 3 2x  + 1  ù x  1.2  ê ú 1.2  …………….……  ê 3 2x  + 1  + 3 x  + 1  ú ë û 2  จงเขียนจํานวนตอไปนีใหอยูในรูปอยางงาย  ้ 1  3  2.1 …………………..  2.1  ­ 256  8  324 2  4  3  5  +  81 4  243  2  2.2……………………  2.2  32 ­ 0.8  + 1000  3  3  จงหาคา  x  จากสมการตอไปนี้  3.1       16 x  =   1024  3.1 …………………..  3.2  æ  4 ö ç ÷ 3 x  = 64  3.2 …………………..  è 9 ø 2x  729  -2  3.3 ………………….. 3.3  æ  1 ö ç ÷ = æ 1  ö ç ÷ è 4 ø è 256  ø
  • 28. ใบงาน ที่  2  การนําสมบัตของเลขยกกําลังที่มเี ลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะไปใชในการแกโจทยปญหา  ิ ตัวอยาง  ถา  r  คือรัศมีของทรงกลมมีหนวยเปนนิว  และ  คือปริมาตรของทรงกลมที่มี  ้ หนวยเปนลูกบาศกนว  โดยที่  ิ้ 1  r  =  é 3V ù 3  ê 4    ú ë pû จงหาวา  ทรงกลมซึ่งมีปริมาตรเทากับ  1,000  ลูกบาศกนว  จะมีรัศมียาวเทาใด  ิ้ 1  วิธีทํา  จาก  r  =  é 3V ù 3  ê 4    ú ë pû และ  V   =   1,000  ให  p   3.14  1  1  จะได  r    æ 3 ´ 1000  ö 3  ç ÷ หรือ  (238.8535)  3  è 4 ´ 3.14  ø 1  หาคาประมาณของ  (238.8535)  3  ไดดังนี้  จาก  6 3  =   216  และ  7 3  =  343  1  แสดงวา  (238.8535)  มีคาอยูระหวาง  6  และ  7  3  หาคา x  ที่  x 3  มีคาใกลเคียง  238.8535  (6.4) 3  =  262.144  (6.3) 3  =  250.047  (6.2) 3  =  238.328  3  (6.21)  =  239.483    รัศมีของทรงกลมที่มีปริมาตร  1,000  ลูกบาศกนว  มีความยาวประมาณ  6.2  นิ้ว ิ้
  • 29. แบบสรุปเนื้อหาที่  2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนสรุปเนื้อหาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน  จํานวนตรรกยะ  ตามหัวขอตอไปนี้  1.  หลักในการเปลี่ยนเลขยกกําลังใหอยูในรูปกรณฑ มีดังนี้   1.1  ………………………………………………………….…………………………………  ………………………………………………………………………………………………………  ………………………………………………………………………………………………………  1.2  ………………………………………………………….…………………………………  ………………………………………………………………………………………………………  ………………………………………………………………………………………………………  2.  สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ  มีดังนี้  ให  a  และ  b  เปนจํานวนจริง  m  และ  n  เปนเลขชี้กําลังที่เปนจํานวนตรรกยะ  จะไดวา  2.1  ………………………………………………………………………………………..  2.2  ………………………………………………………………………………………..  2.3  ………………………………………………………………………………………..  2.4  ………………………………………………………………………………………..  2.5  ………………………………………………………………………………………..
  • 30. แบบทดสอบยอย  เรื่อง  เลขยกกําลัง  คําชี้แจง  ใหนักเรียนแสดงวิธีทําทุกขอ  1.  จงหาคาของ  3  3  3  135 ­  3  320  +  2  40  2.  จงหาคาของ  ( 4  5  +  3  7 )(3  5  ­ 6  7 )  5 ´  3 x  ­  9 ´ 3 x ­ 2  3.  จงหาคาของ  3 x  ­ 3 x ­ 1  4.  จงหาคาของ  n  จากสมการ  2 n ­ 1  +  2 n ­ 2  + 2 n ­ 3  = 896  5.  ในวันที่มีอากาศสดใส  นายเรวุฒิยืนอยูบนชันสูงสุดของตึก  เขาสามารถมองไปไดไกล  ้ เปน ระยะที่สามารถคํานวณไดจากสูตร  ดังนี้  d   =   1.2  h  เมื่อ  d  แทน ระยะทางที่สามารถมองไปไดไกลจากตึกสูง  h  แทน  ความสูงของตึก ณ จุดที่ยืน  ถายืนอยูบนตึกที่สูง  1454  เมตร  จะสามารถมองไดไกลทีสุดประมาณกี่เมตร ่
  • 31. บันทึกผล  หลังการจัดการเรียนรู  สรุปผลการเรียนรู  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  แนวทางในการแกไขและพัฒนา  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  ขอเสนอแนะ  …………………………………………………………………………………………………..  …………………………………………………………………………………………………..  ………………………………………………………………………………….  ลงชื่อ ………………………………. ผูจัดทํา  (นายอุดม  วงศศรีดา)  ครู  ชํานาญการพิเศษ  วันที่ ……… เดือน ………………….. พ.ศ………….