SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
Télécharger pour lire hors ligne
http://www.motorcycle.in.th
คํานํา
          คูมือประกอบการอบรมรถจักรยานยนตรุน Wave125-I ใหมนี่จัดทําขึ้นเพื่อใหนายชางประจํา
ศูนยบริการรถจักรยานยนตฮอนดาไดใชในการศึกษาเรียนรูระบบการทํางานตางๆของเครื่องยนตระบบหัวฉีดซึ่ง
ในรถรุน Wave125-I ใหมนี้เปนรุนที่สองของฮอนดาแลวที่ไดมีการติดตั้งระบบการจายน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ
ใชหัวฉีดระบบ PGM-FI ซึงถือไดวาเปนเทคโนโลยีใหมลาสุดของรถจักรยานยนตฮอนดาในขณะนี้
                                ่
          คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือประกอบการอบรมเลมนี้จะเปนประโยชนกับนายชางทุกคน



                                      ฝายบริการหลังการขาย
                                     บริษัท เอ.พี.ฮอนดา จํากัด




                                       http://www.motorcycle.in.th
สารบัญ


1. ขอมูลทางเทคนิค                                                        1
2. ขอแตกตางระหวางรุนเกากับรุนใหม                                   5
3. หลักการเบื้องตนของระบบฉีดเชื้อเพลิง                                   6
4. ตําแหนงอุปกรณของระบบ                                                 9
5. แผนผังระบบ PGM-FI                                                      10
6. ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส                                               11
7. ตัวตรวจจับสัญญาณ                                                       12
8. ระบบเชื้อเพลิง                                                         18
9. ระบบประจุอากาศ                                                         21
10. ECM                                                                   24
11. ระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง                                      25
12. การเรียกดูรายการปญหา                                                 29
13. การลบขอมูล                                                           30
14. การปรับตั้งตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง                                 32
15. การถอดทอน้ํามันแรงดันสูง                                             34
16. การประกอบทอน้ํามันแรงดันสูง                                          36
17. ปญหาขอขัดของ                                                       37
18. วงจรไฟ                                                                43




                                            http://www.motorcycle.in.th
ขอมูลทางเทคนิค WAVE 125 i

  หัวขอ                   รายการ                                          คามาตรฐาน
              ความยาวตัวรถ                            1,881 มม. ( 74.1 นิ้ว )
              ความกวางตัวรถ                          706 มม. ( 27.81 นิ้ว )
              ความสูงตัวรถ                            1,082 มม. ( 42.6 นิ้ว)
              ระยะหางลอหนา - ลอหลัง               1,239 มม. ( 48.8 นิ้ว )
  ขนาด        ความสูงของเบาะนั่ง                      761 มม. ( 30.0 นิ้ว )
              ความสูงของพักเทา                       266 มม. ( 10.5 นิ้ว )
              ระยะหางจากพื้น                         130 มม. ( 5 .11 นิ้ว )
                                                      97 กก. ( 213.8 ปอนด )< NF125>
              น้ําหนักสุทธิ
                                                      99 กก. ( 218.3 ปอนด )< NF125M>
              แบบตัวถัง                               แบบแบคโบน ( BACK BONE)
              ระบบกันสะเทือนหนา / ระยะยุบ            แบบเทเลสโคปค / 80.5 มม. ( 3.17 นิ้ว )
              ระบบกันสะเทือนหลัง / ระยะยุบ            แบบสวิงอารม / 81.8 มม. ( 3.22 นิ้ว )
              ขนาดยางหนา                             60/100 - 17 M/C 33 P
  ตังถัง      ขนาดยางหลัง                             70/90 - 17 M/C 43 P
              เบรคหนา                                แบบดิสกเบรค / ไฮดรอลิค
              เบรคหลัง                                แบบดรัมเบรค
              มุมแคสเตอร / ระยะเทรล                  26° 30' / 68 มม. ( 2.7 นิ้ว )
              ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง              4 ลิตร
              กระบอกสูบ X ระยะชัก                     52.4 X 57.9 มม. ( 2.06 X 2.28 นิ้ว )
              ปริมาตรกระบอกสูบ                        124.8 ซม.3 ( 7.61 นิ้ว )
              อัตราสวนการอัด                         9.3 : 1
                                                 หลังเปลี่ยนถาย          0.7 ลิตร ( 700 ซีซี. )
              ความจุน้ํามันเครื่อง
                                                 หลังประกอบเครื่องยนต 0.9 ลิตร ( 900 ซีซี. )
              ระบบขับเคลื่อนวาลว                โซราวลิ้นแบบซับเสียง
              วาลวไอดี เปด          ที่ 1 มม. 5 ° กอนศูนยตายบน
เครื่องยนต
                            ปด      (0.04 นิ้ว) 22° หลังศูนยตายลาง
              วาลวไอเสียเปด                    37° กอนศูนยตายลาง
                            ปด                  -3° หลังศูนยตายบน
                                                 วาลวไอดี 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นิ้ว )
              ระยะหางวาลว ( ขณะเย็น )
                                                 วาลวไอเสีย 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นิ้ว )
              ระบบหลอลื่น                       ใชแรงดัน / แบบอางเปยก
              ปมน้ํามันเครื่อง                 แบบหมุน




                                     http://www.motorcycle.in.th
2


   หัวขอ                      รายการ                                      คามาตรฐาน
                ระบบระบายความรอน                     ระบายความรอนดวยอากาศ
                ไสกรองอากาศ                          แบบกระดาษ
                เพลาขอเหวี่ยง                        แบบแยกสวน
 เครื่องยนต
                การวางเครื่องยนต                     สูบเดียววางเอียง 80° จากแนวดิ่ง
                น้ําหนักเครื่องยนตขณะยังไมเติม      NF125 22.3 กก. ( 49.2 ปอนด )
                น้ํามัน                               NF125M 24.2 กก. ( 53.4 ปอนด )
                                                      PGM-FI [PROGRAMMED FUEL
                ระบบจายน้ํามัน
                                                      INJECTION ]
                  ขนาดของคอคอด                        22 มม. [0.9 in ]
                  แบบปมแรงดันสูง                    แบบใบพัด ( TURBINE PUMP )
    ระบบจาย      อัตราการไหล                         อยางนอย 13.9 cc./ 10 วินาที ที่แบตเตอรี12 โวลท
                                                                                               ่
น้ํามันเชื้อเพลิง หัวฉีด                              แบบรู
                  ความตานของหัวฉีด
                                                      10.2-11.4 โอหม
                  (ที่ 20oC/68oF)
                  ตัวควบคุมแรงดัน                     294 kpa (3.0 kgh/cm2,43 psi)
                  ความเร็วรอบเดินเบา                  1,400 + 100 รอบตอนาที
                  ระบบคลัทช                          แบบเปยกหลายแผนซอนกัน
                  ระบบการทํางานของคลัทช              แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง
                  ระบบสงกําลัง                       4 เกียร แบบขบกันตลอด
                  อัตราทดขั้นตน                      3.350 ( 67 / 20 )
                  อัตราทดขั้สุดทาย                   2.428 ( 34 / 14 )
ระบบสงกําลัง
                  อัตราทด เกียร 1                    2.500 ( 35 / 14 )
                            เกียร 2                  1.550 ( 31 / 20 )
                            เกียร 3                  1.150 ( 23 / 20 )
                            เกียร 4                  0.923 ( 24 / 26 )
                  การเปลี่ยนเกียร                    N - 1 - 2 - 3 - 4 (– N) ( เกียรวนขณะรถหยุดนิ่ง )
                  ระบบจุดระเบิด                       ดิจิตอลทรานซีสเตอรเต็มรูปแบบ
                                                      NF125 สตารทเทา
                ระบบสตารทเครื่องยนต
                                                      NF125M มอเตอรสตารท / สตารทเทา
 ระบบไฟฟา                                            CPR6EA-9 (NGK) หรือ
                หัวเทียน มาตรฐาน
                                                      U20EPR9 (DENSO)
                                                      CPR7EA-9 (NGK) หรือ
                สําหรับขับขี่ดวยความเร็วสูง
                                                      U22EPR9 (DENSO)
                ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน                0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 นิ้ว)




                                     http://www.motorcycle.in.th
3


  หัวขอ                   รายการ                                     คามาตรฐาน
            ระบบไฟชารจ                          เฟสเดียวจากอัลเทอรเนเตอร
            เรคกูเลเตอร / เรคติไฟเออร          SCR เฟสเดียวเรียงกระแสครึ่งครื่น
            ระบบแสงสวาง                         อัลเทอรเนเตอร
ระบบไฟฟา
            องศาการจุดระเบิด                     10o กอนศูนยตายบน ที่ 1,400รอบ/นาที
            แบตเตอรี่ 125C, 125MC                YTZ3,YTZ5S ( YUASA )
            ฟวสหลัก / ฟวสรอง                 15 / 10 A




                                http://www.motorcycle.in.th
4


                             KPHX : Fuel Injection System Step 2




           รถจักรยานยนต รุน Wave 125i ใหมไดมีการพัฒนาระบบการจายน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ PGM-FI Step 2
เขามาใชซึ่งเปนระบบที่พัฒนามาจากระบบ PGM-FI Step 1 โดยการออกแบบใหงายตอการตรวจเช็คซอมและการ
บํารุงรักษาตางๆ ไดมีการแยกอุปกรณควบคุม(กลองECM) ออกจากเรือนลิ้นเรงและเซนเซอรทั้งสามตัวไดแก เซนเซอร
ตรวจจับอุณหภูมิอากาศ,เซนเซอรตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง, เซนเซอรตรวจจับความดันในทอไอดี ซึ่งจากการออกแบบ
ดังกลาวทําใหสามารถตรวจเช็คและเปลี่ยนเซนเซอรตางๆ ไดในกรณีที่เกิดความเสียหาย            นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยน
ตําแหนงการติดตั้งตัวควบคุมแรงดันของน้ํามันในระบบโดยยายไปอยูในถังน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งติดตั้งเปนชุดเดียวกันกับ
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทําใหไมจําเปนตองมีทอน้ํามันไหลกลับเหมือนกับ PGM-FI Step1 ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงนี้ทําให
ความดันของน้ํามันในระบบคงที่อยูตลอดเวลาที่ความดัน 294 Kpa ในทุกสภาพการทํางานของเครื่องยนต




                                          http://www.motorcycle.in.th
5


ขอแตกตางของ KPHL กับ KPHX


                    STEP 1 KPHL                                           STEP 2 KPHX


  THB




  ECM
         เรือนลิ้นเรงและ ECM ยึดติดเปนชุดเดียวกัน              เรือนลิ้นเรงกับกลอง ECM แยกออกจากกัน

                                    หัวฉีดแบบ DN-C3                                     หัวฉีดแบบ KN-7


   INJ



                          เซนเซอรมุมเอียง                                  เซนเซอรมุมเอียง




                                 มีทอทางน้ํามันไหลกลับ          ไมมีทอทางน้ํามันไหลกลับ มีตัวควบคุมแรงดัน
                                                                 น้ํามันติดตั้งเปนชุดเดียวกันกับปม



  FPM




                                   http://www.motorcycle.in.th
6


                      หลักการทํางานเบื้องตนของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในรุน KPHX
                                                                           

           น้ํามันเชื้อเพลิงในถังจะถูกสงผานกรองน้ํามัน ไปยังหัวฉีด ( Injector ) ซึ่งติดตั้งอยูบริเวณทอไอดีโดยใช
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงแบบไฟฟา        ซึ่งติดตั้งอยูภายในถังน้ํามันพรอมกับตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งยึดติดเปนชุด
เดียวกันกับปมน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งจะทําหนาที่ควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบใหคงที่อยูตลอดเวลาในทุกสภาพการ
ทํางานของเครื่องยนต ที่ความดัน 294 Kpa สงไปยังหัวฉีด เมื่อกลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวด
เข็มหัวฉีดจะยกตัวขึ้น ทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีแรงดันสูง ถูกฉีดเขาไปผสมกับอากาศภายในทอไอดีเพื่อบรรจุเขากระบอก
สูบ ปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีดออกมาจะมีปริมาณมากหรือนอย ขึ้นอยูกับระยะเวลาที่กลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของ
ชุดหัวฉีดลงกราวด กลาวคือ ถาตองจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวดนาน จะทําใหเข็มของหัวฉีดเปดนาน สงผลใหปริมาณ
ของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ฉีดออกมามีปริมาณมากตามไปดวย

           ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง PGM-FI แบบ D-Jetronic
           เปนระบบที่มีการควบคุมระยะเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด โดยวิธีการวัดแรงดันของอากาศในทอไอดี
ดวยตัวจับความดันในทอไอดี แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามัน
เชื้อเพลิงของหัวฉีดใหเหมาะสมกับปริมาณอากาศที่เขากระบอกสูบ

           หลักการทํางาน
           ขณะที่เครื่องยนตมีความเร็วรอบต่ํา ลิ้นเรงจะเปดใหอากาศไหลเขากระบอกสูบนอยเปนผลใหความดันในทอไอดี
ต่ํา ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี จะสงสัญญาณไฟฟาที่สัมพันธกับความดันอากาศในทอไอดีในขณะนั้น เขาไปที่กลอง
ECM ในสภาวะแบบนี้กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอย และในทางกลับกันหากบิดคันเรงมากขึ้นจะทําใหมี
อากาศไหลเขากระบอกสูบมากขึ้น เปนผลใหความดันในทอไอดีสูงขึ้นในสภาวะแบบนี้กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามัน
เชื้อเพลิงมากขึ้น




                                             http://www.motorcycle.in.th
7


การควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

         ระบบจะมีการควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ การควบคุมระยะเวลาการ
ฉีดพื้นฐาน และการเพิ่มระยะเวลาในการฉีดตามสภาวะการทํางานของเครื่องยนต โดยมีรายละเอียดการควบคุมดังนี้

การควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน

         กลอง ECM จะไดรับสัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับความดันในทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของ
เครื่องยนต     สัญญาณไฟฟาทั้งสองจะเปนสัญญาณที่ใชสําหรับ กําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด
ระยะเวลาในการฉีดที่ไดจากสัญญาณทั้งสองนี้จะเรียกวา ระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน



                                                    อากาศ




    ตัวตรวจจับความดันใน
                                             ทอไอดี                 หัวฉีด         ตัวควบคุมความดัน
           ทอไอดี
                   สัญญาณความดันในทอ
                         ไอดี                                                           ปมน้ํามัน

             ECM                           เครื่องยนต
                        สัญญาณความเร็ว                                                 กรองน้ํามัน
                          รอบเครื่องยนต


                                                                                    ถังน้ํามันเชื้อเพลิง
                                      สัญญาณการฉีด


                               ไดอะแกรมการควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน


หมายเหตุ
         สัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตจะใชเปนขอมูลในการคํานวณหาปริมาณอากาศตอรอบการทํางานของ
เครื่องยนต พรอมทั้งเปนตัวกําหนดจังหวะการจุดระเบิด และจังหวะเริ่มตนการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด




                                       http://www.motorcycle.in.th
8




         การเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
         เนื่องจากเครื่องยนตตองทํางานภายใตสภาวะตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาจึงทําใหอัตราสวนผสมที่ได
จากสัญญาณการฉีดพื้นฐานไมสามารถตอบสนองตอความตองการของเครื่องยนตในทุกสภาวะการทํางานได ดังนั้นจึงตอง
มีตัวตรวจจับสภาวะการทํางานของเครื่องยนต ( Sensor ) เปนตัวสงขอมูลสภาวะการทํางานตางๆของเครื่องยนตใหกลอง
ECM ทราบ เพื่อที่กลอง ECM จะไดนําขอมูลเหลานั้นไปประมวลผลคํานวณหาปริมาณเชื้อเพลิงที่เครื่องยนตตองการ
ในสภาวะนั้นๆ แลวสั่งใหหัวฉีดฉีดน้ํามันออกมาผสมกับอากาศใหไดสวนผสมที่พอเหมาะที่สุด

         TA
                    ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ                     อากาศ
         THR
                    ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

       ตัวตรวจจับความดัน                              ทอไอดี             หัวฉีด       ตัวควบคุมความดัน
            ในทอไอดี
              สัญญาณความดันในทอไอดี
                                                                                           ปมน้ํามัน
                       สัญญาณอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
               ECM                               เครื่องยนต
                                                                                          กรองน้ํามัน
                         สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต

                                                                                            ถังน้ํามัน
                                           สัญญาณการฉีด



                                   ไดอะแกรมเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง


         สวนประกอบของระบบ
         - ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR )
         - ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ( FUEL PUMP )
         - ทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง ( FUEL HOSE )
         - กลองควบคุม ( ENGINE CONTROL MODULE )
         - หัวฉีด ( INJECTOR )
         - หลอดไฟเช็คเครื่องยนต ( FI-INDICATOR )




                                            http://www.motorcycle.in.th
9



                          ตําแหนงของอุปกรณระบบ PGM-FI
                                                                      ใชรูปกับคูมือซอม




ตัวตรวจจับการเอียงของรถ          กลอง ECM                       ตัวตรวจจับอุณหภูมิ
                                                                     น้ํามันเครื่อง




     ตัวเรือนหัวฉีด                  หัวฉีด                 เรกกูเลเตอร/เรกติไฟเออร




    ทอทางเดินน้ํามัน         ถังน้ํามันเชื้อเพลิง           ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
                                                            และตัวควบคุมแรงดัน




                              http://www.motorcycle.in.th
10



แผนผังระบบ PGM - FI

     ใชรูปกับคูมือ
     ซอม




                1.สวิทชจุดระเบิด                        12.คอยลจุดระเบิด
                2.ฟวสหลัก (15 A)                       13.ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ
                3.ฟวสรอง (10 A)                        14.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
                4.แบตเตอรี่                              15.ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี
                5.เรกกูเลเตอร/เรกติไฟเออร              16.หัวฉีด
                6.เกจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง           17.หัวเทียน
                7.หลอดไฟแสดงความผิดปกติ                  18.สวิทชไฟเกียรวาง
                8.หลอดไฟเกียรวาง                       19.พัลซเซอรคอยล
                9.ตัวตรวจจับการเอียงของรถ                20.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
                10.ขั้วตรวจสอบ                           21.อัลเทอรเนเตอร
                11.ปมน้ํามันเชื้อเพลิง




                                           http://www.motorcycle.in.th
11


 ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส

        ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกสประกอบดวย ECM, ตัวตรวจจับสัญญาณ, และอุปกรณทํางาน ECM จะรับ
 สัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับสัญญาณ และควบคุมการทํางานตางๆ เชน หัวฉีดและปมน้ํามันเชื้อเพลิง

           หนวยตรวจสอบ                                 หนวยควบคุม                              อุปกรณทํางาน

  ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง                       ควบคุมการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง                       หัวฉีด

 ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี                           ควบคุมการทํางานของ                         ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
                                                       ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
  ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ                                                                         คอยลจุดระเบิด
                                                      ควบคุมการทํางานของ
ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง                        ระบบจุดระเบิด                            หลอดไฟวิเคราะห
                                                                                                   ปญหา(FI)
ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต                 ควบคุมการทํางานของหลอดไฟ
                                                 แสดงความผิดปกติระบบวินิจฉัย
   ตัวตรวจจับมุมเอียงของรถ                           ขอขัดของดวยตัวเอง

         ขั้วตรวจสอบ



                       วงจรจายพลังงาน ( POWER SUPPLY CIRCUIT )
           แหลงจายพลังงานในรถจักรยานยนตรุน ใหม มีอยูดวยกัน 2 แหงดวยกันคือ
           1. แบตเตอรี่
           2. อัลเทอรเนเตอร
           ซึ่งระบบจายพลังงานสามารถแยกการทํางานออกเปน 2 กรณีคือ แบบปกติและแบบฉุกเฉิน ซึ่งมีหลักการทํางาน
           ดังนี้
           1. การทํางานแบบปกติ (แบตเตอรี่อยูในสภาพพรอมใชงาน)
                  เมื่อเปดสวิทชจุดระเบิดแบตเตอรี่จะจายพลังงานออกมาเลี้ยงระบบตางๆทั้งหมดจนกวาจะสตารทเครื่องยนต
 และเครื่องยนตติด ถาเครื่องยนตสามารถผลิตไฟฟาไดมากกวาแรงเคลื่อนของแบตเตอรี่เมื่อไหรอัลเทอรเนเตอรก็จะเปนตัว
 จายไฟเลียงระบบแทนแบตเตอรี่และจายไฟไปประจุที่แบตเตอรี่
           2. การทํางานแบบฉุกเฉิน (แบตเตอรี่อยูไมอยูในสภาพที่พรอมใชงาน)
                  อัลเทอรเนเตอรจะเปนตัวจายพลังงานไฟฟาออกมาเลี้ยงระบบทั้งหมดโดยไดพลังงานไฟฟามาจากการสตารท
 เครื่องยนต ซึ่งรุนนี้ไดมีการออกแบบชุดเรคติไฟเออรใหมใหมีความสามารถในการจายกระแสไฟไปออกมาเลี้ยงระบบได
 มากขึ้นโดยที่เรคกูเรเตอร-เรคติไฟเออร จะมีตัวเก็บประจุอยูภายในซึ่งจะชวยทําใหแรงเคลื่อนที่จายออกมาจาก
 อัลเทอรเนเตอรในระหวางการสตารทดวยคันสตารทมีความคงที่และเพียงพอในการติดเครื่องยนต




                                          http://www.motorcycle.in.th
12




                                                                                                 TO
                          15A   10A                                                              S A T RS .
                                                                                                  T RE . W

                                                                                    S A T RRLA
                                                                                     T RE E Y

                                      BT
                                       A2        V02

                  TO                   A1
                                      BT         V1
                                                  O
                  DIMMER .SW.




                                                                          F E PM
                                                                           UL U P


                                                                                    B N A G S NO
                                                                                     A K NLE E S R
                                ALTERNATOR




                                                วงจรจายพลังงาน

ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR )
            มีหนาที่ตรวจจับความเปลี่ยนแปลงตางๆ แลวสงขอมูลเขาไปที่กลอง ECM แลวนําขอมูลเหลานั้นไป
ประมวลผล เพื่อหาปริมาณการฉีดและจังหวะในการจุดระเบิดที่เหมาะสมที่สุด ในรถรุนนี้ ไดมีการติดตั้งตัวตรวจจับ
สัญญาณตางๆ ดังนี้
       1.ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ
       2.ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี
       3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
       4.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
       5.ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต
       6.ตัวตรวจจับมุมเอียงของรถ


    ใชรูปกับคูมือซอม




                                        http://www.motorcycle.in.th
13


ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศในทอไอดี ( Intake Air Temperature Sensor : IAT )

          เปนอุปกรณที่ใชสําหรับตรวจจับอุณหภูมิของอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบ และเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา
กลอง ECM เพื่อปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการฉีดเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับอุณหภูมิของอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป
          ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศเปนเทอรมิสเตอรที่สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศไดถึงแมจะ
เปนเพียงความรอนแคเล็กนอย ซึ่งติดตั้งอยูดานหนาของลิ้นปกผีเสื้อ เพื่อตรวจสอบอุณหภูมิของอากาศที่จะบรรจุเขา
กระบอกสูบโดยตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง




                                                   คาความตานทาน (K Ω )




                                                                           -20   0   20   40       60     80   1
         ตัวตรวจจับอุ ณหภูมิอ ากาศ                                                                  o
                                                                                      อุ ณหภูมิอ ากาศ C

            จากหลักการของระบบ ปริมาณอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบจะเปนขอมูลใหกลอง ECM คํานวณหาระยะเวลา
ในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหไดสวนผสมระหวางอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิงตามทฤษฎี แตดวยเหตุที่อุณหภูมิของอากาศไม
คงที่จึงทําใหความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงไป คือถาอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้นความหนาแนนจะนอยลง จากการที่
ความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงไปจะทําใหการจายสวนผสมผิดพลาดได ดังนั้นจึงจําเปนตองมีตัวตรวจจับอุณหภูมิ
ของอากาศกอนที่จะเขาเครื่องยนต ตรวจจับอุณหภูมิของอากาศแลวสงขอมูลใหกับกลอง ECM เพื่อที่จะนําขอมูลที่ไดไป
คํานวณหาปริมาณอากาศที่แทจริงแลวสั่งจายเชื้อเพลิงในปริมาณที่เหมาะสมกับปริมาณอากาศในขณะนั้น
            กลาวคือถาอุณหภูมิของอากาศต่ํา หมายความวาความหนาแนนของอากาศจะมากดวยกลอง ECM จะสั่งจาย
น้ํามันเชื้อเพลิงมาก ( หัวฉีดเปดนาน ) ในทางกลับกัน ถาอุณหภูมิของอากาศสูง หมายความวาความหนาแนนของอากาศจะ
นอยกลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอย ( หัวฉีดปดเร็ว )




                                         http://www.motorcycle.in.th
14


ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP )

        ทําหนาที่ตรวจวัดปริมาณอากาศดวยการตรวจจับความดันภายในทอไอดี แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา
กลอง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดพื้นฐานของหัวฉีด
        ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี เปนความตานทานที่เปลี่ยนแปลงไดแบบ สารกึ่งตัวนํา ซึ่งจะเปลี่ยนความดันให
เปนสัญญาณไฟฟาสงไปที่กลอง ECM
        กลอง ECM จะรับขอมูลความดันสมบูรณภายในทอไอดี จากสัญญาณที่สงมาจากตัวตรวจจับความดันใน
ทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต ซึ่งจะเปนขอมูลในการสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงขั้นพื้นฐานใหมีความ
เหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนต
        กลาวคือถาความดันภายในทอไอดีสูง กลองควบคุม ( ECM ) จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาก เพราะมีปริมาณ
อากาศมาก ในทางกลับกัน ถาความดันในทอไอดีต่ํา กลองควบคุม ( ECM ) จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยเพราะปริมาณ
อากาศนอย
        ตัวตรวจจับความดันจะติดตั้งอยูดานหลังของลิ้นปกผีเสื้อ เพื่อตรวจจับความดันของอากาศกอนที่จะเขาเครื่องยนต
โดยตัวตรวจจับความดันจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง


 ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี




           ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี




ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ( Throttle Position Sensor : TPS )

            ทําหนาที่ตรวจจับตําแหนงการเปดของลิ้นเรงแลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลในการ
สั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหมีความเหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนตในขณะนั้น และเปนขอมูลในการสั่งตัดการจาย
น้ํามันเชื้อเพลิงเมื่อผอนคันเรง โดยการเปรียบเทียบสัญญาณกับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตและสัญญาณอุณหภูมิ
ของน้ํามันเครื่อง
            ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง จะบอกการเปดของลิ้นเรงออกมาเปนสัญญาณทางไฟฟา ซึ่งเกิดจากความตานทานที่
เปลี่ยนแปลงไดที่ติดตั้งอยูที่สวนปลายของเพลาลิ้นเรง แลวสงสัญญาณไฟฟาดังกลาวไปที่กลองECM




                                         http://www.motorcycle.in.th
15




                                              เซนเซอรลิ้นเรง




      ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

          การทํางาน
          ที่ตําแหนงลิ้นเรงปดสุดชุดหนาสัมผัสสัญญาณการเปดลิ้นเรง จะตอที่สวนปลายของแผนความตานทานใน
ตําแหนงนี้ความตานทานจะมาก ทําใหไฟที่จายมาจากขั้ว VCC 5 โวลท ไหลผานความตานทานมากจึงทําใหไฟไหล
กลับไปที่กลอง ECM ที่ขั้ว THR นอย ( 0.5 โวลท ) ในตําแหนงนี้กลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีดจายน้ํามันเชื้อเพลิง
นอยเมื่อบิดคันเรงมากขึ้นชุดหนาสัมผัสสัญญาณการเปดลิ้นเรง จะเคลื่อนที่เขาหาขั้ว VCC มากขึ้น ทําใหคาความ
ตานทานระหวางขั้ว VCC กับขั้ว THR ลดลงยอมใหกระแสไฟไหลกลับไปที่กลอง ECM ที่ขั้ว THR มากขึ้น เปน
ผลใหกลอง ECM สั่งจายน้ํามันมากขึ้น จนลิ้นเรงเปดสุดความตานทานจะนอยที่สุดทําใหไฟไหลกลับไปที่กลอง ECM
ไดมากที่สุด ( 4.47 โวลท )
          ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง โดยจะเชื่อมตออยูกับแกนหมุนของ
          ลิ้นปกผีเสื้อ ซึ่งติดตั้งอยูที่ทอไอดี




                                        http://www.motorcycle.in.th
16


ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ( Engine Oil Temperature Sensor : EOT )

        ทําหนาที่ตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่อง แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อเพิ่มหรือลด
ปริมาณการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง กลาวคือถาน้ํามันเครื่องมีอุณหภูมิต่ํากลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น

                                                       คาความตานทาน กิโลโอม



                                                      7.000
                                                      6.000
                                                      5.000
                                                      4.000
                                                      3.000
                                                      2.000
                                                      1.000
                                                      0.000
                                                              0     20     40   60    80   100 120 140 160 180 200

                                                                         อุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ( องศาเซลเซียส )




             ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครือง
                                          ่




                                                                  อุณหภูมิ                      20oC                  100oC
                                                                                            2.5-2.8 KΩ             0.21-0.22 KΩ
                                                                  คาความตานทาน


          ตัวตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องติดตั้งอยูที่ดานลางของเสื้อสูบ ภายในประกอบดวยความตานทานแบบมีคา
สัมประสิทธิ์ทางอุณหภูมิเปนลบ ซึ่งจะมีคาความตานทานลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จากคุณสมบัติดังกลาวจะถูกนําไปใช
เปลี่ยนเปนแรงดันไฟฟาสงเขากลอง ECM                เพื่อเปนขอมูลในการคํานวณหาปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสมกับ
อุณหภูมิของเครื่องยนตขณะนั้น ถาเครื่องยนตเย็นความตานทานจะมาก เปนเหตุใหแรงดันไฟฟาตกครอมที่ตัวตรวจจับ
อุณหภูมิน้ํามันเครื่องมาก กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาก และเมื่อเครื่องยนตทํางานจนอุณหภูมิสูงขึ้น ความ
ตานทานจะลดลงเปนเหตุใหไฟฟาสามารถผานตัวตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องไปเขากลอง ECM ไดมากกลอง
ECM ก็จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหนอยลง ทั้งนี้ก็เพื่อความเหมาะสมกับสภาวะการทํางานของเครื่องยนต




                                          http://www.motorcycle.in.th
17


ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต ( Engine Speed Sensor )

        ทําหนาที่ตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต แลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานใน
การคํานวณจังหวะและอัตราการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับความเร็วรอบของเครื่องยนต และกลอง ECM ยังใช
สัญญาณนี้ไปคํานวณหาจังหวะจุดระเบิดที่เหมาะสมที่สุดสําหรับแตละสภาวะการทํางานของเครื่องยนต


                                   ลอแมเหล็ก




                           จุดตัดบอกตําแหนงองศา                               พัลเซอรคอยล
                                เพลาขอเหวี่ยง




ตัวตรวจจับการเอียงของรถ ( Bank Angle Sensor )

          ทําหนาที่ตรวจจับการเอียงของรถ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในกรณีรถลม โดยตัวตรวจจับการเอียงของรถจะสง
กระแสไฟฟาประมาณ 1 โวลท ไปยังชุดกลอง ECM เมื่อองศาการเอียงถึงจุดที่กําหนดไว เพื่อแจงใหทราบวาขณะนี้รถ
อยูในลักษณะเอียง กลอง ECM ก็จะสั่งใหระบบ PGM-FI หยุดทํางานเปนการปองกันไฟใหมในกรณีรถเกิดอุบัติเหตุ
ลม
          โดยตัวตรวจจับการเอียงของรถ จะสั่งใหกลอง ECM ตัดการทํางานของชุดไฟจุดระเบิดและหัวฉีด เมื่อ
รถจักรยานยนตเอียงเปนมุมมากวา 55o + 5o ภายในระยะเวลา 4 + 0.5 วินาที โดยการตัดวงจรนีจะเปนการตัดแบบถาวร
                                                                                             ้
ถึงแมวารถจะตั้งขึ้นมาแลวก็ตาม ECM สั่งใหระบบจุดระเบิดทํางานอีกครั้งเมื่อมีการปด-เปดสวิทชจุดระเบิดใหม ระบบ
จึงจะทํางานเปนปกติ ( ปมน้ํามันเชื้อเพลิงยังคงทํางานตามไดตามเงื่อนไขเดิม )

                                                                   55+5o o
                                                                                          55+5o     o
                                                                       55 +5                      55 +5




ตําแหนงติดตั้ง Bank Angle Sensor




                                         http://www.motorcycle.in.th
18


       ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในรถจักยานยนตรุน KPHX สามารถแบงระบบการทํางานไดดังนี้

         1. ระบบเชื้อเพลิง ทําหนาที่จายน้ํามันเชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนตในปริมาณที่เพียงพอตอความตองการในทุก
สภาวะการทํางานของเครื่องยนต ดวยความดันคงที่ 294 Kpa ตลอดเวลา ประกอบดวย ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ปมน้ํามัน
เชื้อเพลิง ตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง ทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง (ทอแรงดันสูง) หัวฉีด


                        หัวฉีด




                     ทอน้ํามัน                                                          ถังน้ํามันเชื้อเพลิง


                                                   ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง

         - ปมน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pump) ทําหนาที่สรางแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงจากถังสงไปยังหัวฉีดในปริมาณที่
เพียงพอตอความตองการของเครื่องยนตโดยปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะติดตั้งอยูภายในถังน้ํามันเชื้อเพลิงเปนปมแบบใบพัด (
Turbine Pump) ขับดวยมอเตอร 12 VDC.จายน้ํามันเชื้อเพลิงดวยอัตราการไหลคงที่ ที่แรงดัน 294 Kpa หรือ 3.0
Kgf/cm2 โดยทอดูดของปมติดตั้งอยูในตําแหนงต่ําสุดของถังน้ํามันและจะมีกรองตาขายอยูดานลางเพื่อกรองสิ่งสกปรกที่
มีขนาดตั้งแต 10 ไมครอนขึ้นไป มอเตอรปมจะถูกสั่งงานโดยกลอง ECM


                                                                           ลิ้นกันกลับ




          ตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง




                     กรองน้ํามันดานดูด



                                             http://www.motorcycle.in.th
19


            จากการที่ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจายน้ํามันดวยอัตราการไหลคงที่ตลอดเวลา แตเครื่องยนตตองการปริมาณน้ํามันที่ไม
คงที่ ดังนั้นจึงตองมีการควบคุมแรงดันน้ํามันอีกครั้งโดยตัวควบคุมแรงดันที่ติดตั้งอยูกับปมน้ํามันเชื้อเพลิงภายในถังกอนที่
จะสงไปยังหัวฉีด ทําใหไมมีน้ํามันสวนเกินสงไปยังหัวฉีด จึงไมตองมีทอน้ํามันไหลกลับเหมือนที่ใชในรุน KPHL

สวนประกอบของปมน้ํามันเชื้อเพลิง
                                                                           ขดลวดอาเมเจอร

    เรือนปม                        ใบพัด




                                                                                         ทอทางจาย




        หองปมน้ํามัน                                               ลิ้นกันกลับ


                                 มอเตอร

                                            ปมน้ํามันเชื้อเพลิง




                             ทางจาย           ทางดูด




                                                                           รองของใบพัด



                                                                     รองของใบพัด

                                ใบพัด
                                                      เรือนปม



          ปมน้ํามันประกอบดวย ขดลวดอาเมเจอร ชุดปม ลิ้นกันกลับ มอเตอร ใบพัด หองปม ทอทางดูดทอทางสง และ
เรือนปม ปมน้ํามันจะทํางานทุกครั้งที่เปดสวิทชกุญแจโดยกลอง ECM จะเปนตัวสั่งใหปมทํางานเปนเวลา 2 วินาที แลว
ดับหลังจากนั้นจะทํางานอีกเมื่อเครื่องยนตติด โดยปมน้ํามันจะทํางานตลอดเวลาถามีสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต
สงมาที่กลอง ECM ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะหยุดการทํางานอัตโนมัติเมื่อไมมีสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตสงมาที่
ECM เมื่อปมหยุดทํางานลิ้นกันกลับจะปดเพื่อรักษาแรงดันน้ํามันในระบบไว




                                             http://www.motorcycle.in.th
20


หัวฉีด ( Injector )

       ทําหนาที่ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเปนฝอยละออง เพื่อคลุกเคลากับอากาศบริเวณทอไอดีกอนผานวาลวไอดีเขาสู
กระบอกสูบ หัวฉีดที่ใชเปนแบบบังคับการเปดของหัวฉีดโดยโซลินอยดไฟฟาและปดโดยแรงดันสปริง โดยมีโครงสราง
ดังนี้




                                             KPHX (KN-7 Type)

          หลักการทํางาน
          น้ํามันจากทอสงไหลเขาหัวฉีดโดยผานกรองละเอียดที่ชองทางเขา ผานลงไปยังเข็มหัวฉีดที่ปลายดานลางของ
หัวฉีด ในขณะที่หัวฉีดยังไมทํางาน เข็มหัวฉีดจะถูกสปริงดันใหแนบสนิทอยูกับบาของเข็มหัวฉีดจังหวะนี้จะไมมีการฉีด
น้ํามัน เมื่อกลอง ECM สั่งใหไฟฟาที่มาจากหัวฉีดลงกราวดจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้นที่ขดลวด เสนแรงแมเหล็กที่
เกิดขึ้นจะดูดใหพลังเยอรที่อยูตรงกลางยกขึ้น เข็มหัวฉีดที่ติดกับพลังเยอรก็จะยกตัวขึ้นจากบาของเข็มหัวฉีดทําใหน้ํามันที่มี
แรงดันประมาณ 294 Kpa ถูกฉีดออกมาจากหัวฉีดในลักษณะเปนฝอยละออง สําหรับปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมาจะมาก
หรือนอยขึ้นอยูกับระยะเวลาในการเปดของหัวฉีด ถาหัวฉีดเปดนานปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมาก็จะมาก
          สําหรับหัวฉีดรุนนี้ (KN7) เปนหัวฉีดที่ถูกพัฒนาขึ้นมาสําหรับใชในรถรุน KPHX นี้โดยเฉพาะ มีขนาดเล็ก
กระทัดรัดเสียงเบา




                                             http://www.motorcycle.in.th
21


ตัวควบคุมแรงดัน ( Pressure Regulator )

       ติดตั้งอยูกับปมน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามัน มีหนาที่ในการรักษาแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบใหคงที่294 Kpa
ตลอดเวลา โดยการระบายแรงดันน้ํามันสวนเกินกลับลงไปในถังน้ํามันเชื้อเพลิงตามเดิม



                                   ไปทอสงจายน้ํามัน                                      ไปทอสงจายน้ํามัน




                                  ตัวควบคุมแรงดัน                                          ตัวควบคุมแรงดัน

                                                                                      กลับลงถังน้ํามัน




  แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงปกติ                               แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงสูงกวาปกติ




                                                                                        ตัวควบคุมแรงดัน




                                                                               กลับลงถังน้ํามัน




         2.ระบบประจุอากาศ
ทําหนาที่ประจุอากาศใหกับเครื่องยนตประกอบดวย กรองอากาศ เรือนลิ้นเรงและทอไอดี
          กรองอากาศ ( Air Cleaner )
          ทําหนาที่กรองสิ่งสกปรกออกจากอากาศที่จะบรรจุเขากระบอกสูบกรองอากาศจะตองมีการตรวจเช็คทําความ
สะอาดอยูเสมอ และควรเปลี่ยนเมื่อถึงระยะเวลาที่กําหนด เพื่อประสิทธิภาพของเครื่องยนต เพราะหากกรองอากาศอุดตัน
จะเปนสาเหตุใหเครื่องยนตสตารทติดยาก เดินเบาไมเรียบ หรืออาจจะสตารทไมติด และจะสงผลตอการทํางานของระบบ
อีกดวย




                                          http://www.motorcycle.in.th
22


เรือนลิ้นเรง ( THROTTLE BODY )




                                                                                  เรือนลิ้นเรง




        ชุดเซนเซอร
                                                                        สกรูปรับรอบเดินเบา




ที่ตัวเรือนลิ้นเรงจะประกอบไปดวยอุปกรณที่สําคัญหลายชิ้น คือ

         ลิ้นเรง ( Throttle Valve )
         สกรูปรับรอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw )
         ชองทางอากาศรอบเดินเบา ( Idle Air Passage )
         ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ( Throttle Position Sensor : TPS )
         ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ( Intake Air Temperature Sensor : IAT )
         ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP )




                                          http://www.motorcycle.in.th
23


ลิ้นเรง ( Throttle Valve )

         มีหนาที่ควบคุมปริมาณอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบซึ่งเปนการควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต

         สกรูปรับรอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw )
         สกรูปรับรอบเดินเบาจะทําหนาที่เปดชองทางใหอากาศไหลเขากระบอกสูบไดโดยไมผานลิ้นเรงเนื่องจากขณะ
เครื่องยนตเดินเบาลิ้นเรงปดดังนั้นจึงตองมีชองทาง Bypass ใหอากาศผานเขากระบอกสูบ เพื่อใหเครื่องยนตเดินเบาอยู
ไดโดยไมดับ ถาปรับสกรูใหอากาศไหลผานไดมากจะทําใหความเร็วรอบเดินเบาสูงขึ้น


                                สกรูปรับรอบ
                                  เดินเบา
ชองทางอากาศเดินเบา
Slow Line




                                       Main Line


                                               หัวฉีด

              ลิ้นเรง


                                                                                              สกรูปรับรอบเดินเบา


                                                                                              ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ




                                          ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี         ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง




                                           http://www.motorcycle.in.th
24


ECM : Engine Control Module

         กลองควบคุม (ECM) ถือไดวาเปนสมองกลของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ PGM-FI เปน
ไมโครคอมพิวเตอรที่ประกอบขึ้นมาจากอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส มีหนาที่รับสัญญาณตางๆ จากตัวตรวจจับสัญญาณ
แลวนําไปประมวลผลเพื่อสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงและกําหนดจังหวะในการจุดระเบิดใหมีความเหมาะสมในทุกสภาวะการ
ทํางานของเครื่องยนตเพื่อการเผาไหมที่สมบูรณ




       โดยกลอง ECM จะแยกติดตั้งอยูบริเวณบังโคลนหลังดานซายของตัวรถ เพื่อปองกันปญหาเรื่องความรอนที่
ออกจากเครื่องยนต เรื่องน้ําที่กระเด็นเขาทางดานหนา และใหงายตอการบํารุงรักษาหรือถอดเปลี่ยน

การตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

        กลอง ECM จะตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด ในบางสภาวะการทํางานของเครื่องยนต เพื่อความ
ประหยัดและเปนการปองกันการสึกหรอของเครื่องยนต คือ
        1. ขณะลดความเร็วรอบของเครื่องยนตอยางทันทีทันใด
        เชนขณะทําการเบรกหรือขับรถลงจากที่สูงซึ่งเปนภาวะที่เครื่องยนตไมตองการน้ํามันเชื้อเพลิงกลองECM จะทํา
การตัดการฉีดน้ํามันของหัวฉีด โดยกลอง ECM จะไดรับสัญญาณจากตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงเปนตําแหนงเดินเบา
และสัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต มาเปรียบเทียบกัน ถาลิ้นเรงอยูในตําแหนงเดินเบาแตเครื่องยนตมีความเร็วรอบสูง
กลอง ECM จะตัดการฉีดน้ํามันของหัวฉีด สวนความเร็วรอบในการตัดจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ํามันหลอลื่นที่สงมา
จากตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันหลอลื่นโดยมีเงื่อนไขดังนี้

         ถาอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องต่ํา ความเร็วรอบในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะสูง
         ถาอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องสูง ความเร็วรอบในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะต่ําลง

           ในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะเปนการตัดเพียงชั่วขณะเทานั้น หลังจากความเร็วรอบของเครื่องยนตลดลงถึง
คาที่กําหนดกลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีด ฉีดน้ํามันตามปกติเพื่อไมใหเครื่องยนตดับ




                                          http://www.motorcycle.in.th
25


         2.เมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงเกินคาที่กําหนด
         กลอง ECM จะทําการเปรียบเทียบความเร็วรอบของเครื่องยนตที่สงมาจากตัวตรวจจับความเร็วรอบของ
เครื่องยนตกับความเร็วสูงสุดที่ถูกกําหนดไวในหนวยความจํา หากพบวาความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงเกินคาที่กําหนดไว
กลอง ECM จะตัดการฉีดของน้ํามันของหัวฉีด เพื่อเปนการปองกันเครื่องยนตเสียหายจากการที่ความเร็วรอบสูงเกินไป
และเมื่อความเร็วรอบลดต่ําลงกวาคาที่กําหนด กลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีดฉีดน้ํามันตามปกติเพื่อใหเครื่องยนตทํางาน
ตอไปได

ระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง

          เปนระบบที่ติดตั้งเขามาเพื่อเปนการอํานวยความสะดวกกับนายชาง โดยที่ระบบนี้จะคอยตรวจสอบการทํางานของ
เซนเซอรอยูตลอดเวลาถาเมื่อใดระบบตรวจพบความผิดปกติเกิดขึ้นกับเซนเซอร ระบบก็จะแสดงผลออกมาทางหลอดไฟ
FI ซึ่งติดตั้งอยูที่หนาปทมเรือนไมล โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI



                                                                              ใชรูปกับคูมือ
                                                                              ซอม




รหัสขอขัดของ

          เมื่อเปดสวิทชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง " ON " หลอดไฟจะติดขึ้นมา 2 วินาทีแลวดับลง ถาระบบวินิจฉัย
ขอขัดของดวยตัวเอง ตรวจพบความผิดปกติของอุปกรณ หลอดไฟ " FI " จะกะพริบเปนรหัสเพื่อแจงปญหาใหทราบ โดย
หลอดไฟจะกะพริบเมื่อสวิทชอยูในตําแหนง " ON " และเครื่องยนตมีความเร็วรอบไมเกิน 2000 รอบตอนาที ถา
ความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงกวานี้ หลอดไฟจะติดตลอดและจะกะพริบอีกครั้งเมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนตลดลงต่ํา
กวา 2000 รอบตอนาที
          ระบบจะตรวจสอบเฉพาะปญหาที่เกิดจากการเปดของวงจรหรือปญหาที่เกิดจากการรัดวงจรเทานั้น
ขอมูลความผิดปกติที่เกิดขึ้นจะถูกบันทึกไวในกลอง ECM ตลอดไปจนกวาจะมีการแกไขปญหาลบขอมูลโดยการตัด
ไฟเลี้ยงกลอง ECM โดยการปดสวิทชจุดระเบิด



                                          http://www.motorcycle.in.th
26


           รหัสวินิจฉัยขอขัดของที่ใชในรถรุน KPHX จะมีอยู 2 แบบคือ แบบรหัสเดี่ยว และแบบรหัสคู
           แบบรหัสเดี่ยว
           เปนการแสดงรหัสขอขัดของ 1 รหัส โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหัสดวยความถี่ที่
เทากันเชนรหัส 3 ก็จะกะพริบ 3 ครั้ง รหัส 7 ก็จะกะพริบ 7 ครั้ง



                                      วินาที                    วินาที




        แบบรหัสคู                      วินาที


         เปนการแสดงรหัสขอขัดของ 2 รหัส โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหัสดวยความถี่ที่
แตกตางกันเชนรหัส 11 ก็จะกะพริบยาว 1 ครั้ง สั้น 1 ครั้ง รหัส 12 ก็จะกะพริบยาว 1 ครั้ง สั้น 2 ครั้ง



                                         วินาที




                                                  วินาที




                                       http://www.motorcycle.in.th
27


ตารางการวินจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง
           ิ

จํานวนครั้งการกะพริบของหลอดไฟ FI จะแสดงออกมาเปนรหัสของปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบ

      รหัสปญหา            จุดที่เกิดปญหา                      สาเหตุ                   อาการปญหา
   ไมกะพริบ         ขดลวดพัลซเซอร                  ไมมีสัญญาณไฟจาก           เครื่องยนตสตารทไมติด
                                                      ขดลวดพัลซเซอร
   ไมกะพริบ         หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง          1.กรองเชื้อเพลิงอุดตัน     เครื่องยนตสตารทไมติด
                                                      2.เข็มหัวฉีดติดตาย
   ไมกะพริบ         ECM                              ECM ผิดปกติ                เครื่องยนตสตารทไมติด
   ไมกะพริบ         ระบบไฟเลี้ยงหรือกราวด           1.ฟวส 15A ขาด            เครื่องยนตสตารทไมติด
                     ของ ECM                          2.วงจรเปดที่สายไฟเลี้ยง
                                                      กลอง ECM
                                                      3.สวิทชจุดระเบิดเสีย
   ไมกะพริบ         วงจรหลอดไฟ “FI”                  1.ECM ผิดปกติ              เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
                                                      2.มีการขาดหรือรัดวงจร
                                                      ของระบบไฟ “FI”
   ติดตอเนื่อง      ขั้วตรวจสอบหรือวงจร              1.มีการรัดวงจรที่ขั้ว      เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
                                                      ตรวจสอบ
                                                      2.มีการรัดวงจรของสาย
                                                      ขั้วตรวจสอบMIL
                                                      3.ECM ผิดปกติ
   รหัส 1,8,9        เซนเซอรที่เรือนลิ้นเรง         1.ขั้วตอของเซนเซอร       เครื่องยนตติดไดแตเรงแลวดับ
                                                      หลวมหรือไมดี
                                                      2.สายไฟของวงจรขาด
                                                      หรือรัดวงจร
                                                      3.ตัวตรวจจับเสีย
   รหัส 1            ตัวตรวจจับความดันในทอ           ตัวตรวจจับความดันใน        เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
                     ไอดี                             ทอไอดีเสีย
   รหัส 7            ตัวตรวจจับอุณหภูมิ               1.ขั้วตอของเซนเซอร       เครื่องยนตสตารทติดยากที่
                     น้ํามันเครื่อง                   หลวมหรือไมดี              อุณหภูมิต่ํา
                                                      2.สายไฟของวงจรขาด
                                                      หรือรัดวงจร
                                                      3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ
                                                      น้ํามันเครื่องเสีย




                                         http://www.motorcycle.in.th
28


  รหัสปญหา         จุดที่เกิดปญหา                      สาเหตุ                 อาการปญหา
รหัส 8        ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง       1.ขั้วตอของเซนเซอร      เครื่องยนตมีการตอบสนองไมดี
                                               หลวมหรือไมดี             ในขณะบิดคันเรงทันทีทันใด
                                               2.สายไฟของวงจรขาด
                                               หรือรัดวงจร
                                               3.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้น
                                               เรงเสีย
รหัส 9        ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ          1.ขั้วตอของเซนเซอร     เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
                                               หลวมหรือไมดี
                                               2.สายไฟของวงจรขาด
                                               หรือรัดวงจร
                                               3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ
                                               อากาศเสีย
รหัส 12       หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง          1.ขั้วตอสายของหัวฉีด    เครื่องยนตสตารทไมติด
                                               หลวมหรือไมดี
                                               2.สายไฟของวงจรหัวฉีด
                                               ขาดหรือรัดวงจร
                                               3.หัวฉีดเสีย
รหัส 33       EP-ROM ใน ECM                    ECM ผิดปกติ              เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
                                                                        แตไมสามารถวิเคราะหปญหา
                                                                        ได
รหัส 54       ตัวตรวจจับการเอียงของรถ          1.ขั้วตอของเซนเซอร     เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
                                               หลวมหรือไมดี
                                               2.สายไฟของวงจรขาด
                                               หรือรัดวงจร
                                               3.ตัวตรวจจับการเอียง
                                               ของรถเสีย




                                  http://www.motorcycle.in.th
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual
Honda wave innova supra 125 service manual

Contenu connexe

Tendances

Manaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivelaManaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivelaThiago Huari
 
Manual de serviço cbx750 f marchas
Manual de serviço cbx750 f marchasManual de serviço cbx750 f marchas
Manual de serviço cbx750 f marchasThiago Huari
 
Manual de serviço cb500 manivela
Manual de serviço cb500 manivelaManual de serviço cb500 manivela
Manual de serviço cb500 manivelaThiago Huari
 
Manual de serviço cg125 titan ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiant
Manual de serviço cg125 titan  ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiantManual de serviço cg125 titan  ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiant
Manual de serviço cg125 titan ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiantThiago Huari
 
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p cabecote
Manual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p cabecoteManual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p cabecote
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p cabecoteThiago Huari
 
YANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair Manual
YANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair ManualYANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair Manual
YANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair Manualjksmemmd
 
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p manutenc
Manual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p manutencManual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p manutenc
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p manutencThiago Huari
 
Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento 00x6b-mbz-002
Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento   00x6b-mbz-002Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento   00x6b-mbz-002
Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento 00x6b-mbz-002Thiago Huari
 
Manual de serviço xr200 r nx200 cbx200s mskbb931p manivela
Manual de serviço xr200 r nx200 cbx200s   mskbb931p manivelaManual de serviço xr200 r nx200 cbx200s   mskbb931p manivela
Manual de serviço xr200 r nx200 cbx200s mskbb931p manivelaThiago Huari
 
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 embreage
Manual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 embreageManual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 embreage
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 embreageThiago Huari
 
Manual de serviço nx150 rodadian
Manual de serviço nx150 rodadianManual de serviço nx150 rodadian
Manual de serviço nx150 rodadianThiago Huari
 
Manaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagem
Manaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagemManaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagem
Manaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagemThiago Huari
 
Manual de serviço cbx750 f suplem1
Manual de serviço cbx750 f suplem1Manual de serviço cbx750 f suplem1
Manual de serviço cbx750 f suplem1Thiago Huari
 
Manual de serviço nx200 xr lubrifa
Manual de serviço nx200 xr lubrifaManual de serviço nx200 xr lubrifa
Manual de serviço nx200 xr lubrifaThiago Huari
 
Manual de serviço cg150 titan ks es esd manutenc
Manual de serviço cg150 titan ks es esd manutencManual de serviço cg150 titan ks es esd manutenc
Manual de serviço cg150 titan ks es esd manutencThiago Huari
 
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p informac
Manual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p informacManual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p informac
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p informacThiago Huari
 
Manual de serviço xr250 diagrama
Manual de serviço xr250 diagramaManual de serviço xr250 diagrama
Manual de serviço xr250 diagramaThiago Huari
 
Manaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivelaManaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivelaThiago Huari
 
Manual de serviço nx150 informa
Manual de serviço nx150 informaManual de serviço nx150 informa
Manual de serviço nx150 informaThiago Huari
 
Manual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreage
Manual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreageManual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreage
Manual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreageThiago Huari
 

Tendances (20)

Manaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivelaManaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(2) (1998~2000) manivela
 
Manual de serviço cbx750 f marchas
Manual de serviço cbx750 f marchasManual de serviço cbx750 f marchas
Manual de serviço cbx750 f marchas
 
Manual de serviço cb500 manivela
Manual de serviço cb500 manivelaManual de serviço cb500 manivela
Manual de serviço cb500 manivela
 
Manual de serviço cg125 titan ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiant
Manual de serviço cg125 titan  ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiantManual de serviço cg125 titan  ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiant
Manual de serviço cg125 titan ks es kse cg125 cargo (2002) rodadiant
 
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p cabecote
Manual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p cabecoteManual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p cabecote
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p cabecote
 
YANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair Manual
YANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair ManualYANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair Manual
YANMAR 4TNV DIESEL ENGINE Service Repair Manual
 
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p manutenc
Manual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p manutencManual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p manutenc
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p manutenc
 
Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento 00x6b-mbz-002
Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento   00x6b-mbz-002Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento   00x6b-mbz-002
Manual de serviço cb600 f hornet ms (2006) suplemento 00x6b-mbz-002
 
Manual de serviço xr200 r nx200 cbx200s mskbb931p manivela
Manual de serviço xr200 r nx200 cbx200s   mskbb931p manivelaManual de serviço xr200 r nx200 cbx200s   mskbb931p manivela
Manual de serviço xr200 r nx200 cbx200s mskbb931p manivela
 
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 embreage
Manual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 embreageManual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 embreage
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 embreage
 
Manual de serviço nx150 rodadian
Manual de serviço nx150 rodadianManual de serviço nx150 rodadian
Manual de serviço nx150 rodadian
 
Manaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagem
Manaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagemManaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagem
Manaul de serviço cbr900 rr fireblade_(3)_(2002~) embreagem
 
Manual de serviço cbx750 f suplem1
Manual de serviço cbx750 f suplem1Manual de serviço cbx750 f suplem1
Manual de serviço cbx750 f suplem1
 
Manual de serviço nx200 xr lubrifa
Manual de serviço nx200 xr lubrifaManual de serviço nx200 xr lubrifa
Manual de serviço nx200 xr lubrifa
 
Manual de serviço cg150 titan ks es esd manutenc
Manual de serviço cg150 titan ks es esd manutencManual de serviço cg150 titan ks es esd manutenc
Manual de serviço cg150 titan ks es esd manutenc
 
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p informac
Manual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p informacManual de serviço xl250 r (1983)   mskb7831p informac
Manual de serviço xl250 r (1983) mskb7831p informac
 
Manual de serviço xr250 diagrama
Manual de serviço xr250 diagramaManual de serviço xr250 diagrama
Manual de serviço xr250 diagrama
 
Manaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivelaManaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivela
Manaul de serviço cbr600 f(3) (2001~) manivela
 
Manual de serviço nx150 informa
Manual de serviço nx150 informaManual de serviço nx150 informa
Manual de serviço nx150 informa
 
Manual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreage
Manual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreageManual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreage
Manual de serviço cg125 titan ks es cg125 cargo embreage
 

En vedette

Honda wave s 110 2012 2013
Honda wave s 110 2012  2013Honda wave s 110 2012  2013
Honda wave s 110 2012 2013vinagas
 
Honda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manual
Honda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manualHonda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manual
Honda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manualMuhammad Zakaria
 
Honda cup-c70-passport-80-81-service-manual
Honda cup-c70-passport-80-81-service-manualHonda cup-c70-passport-80-81-service-manual
Honda cup-c70-passport-80-81-service-manualMuhammad Zakaria
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informac
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informacManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informac
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informacThiago Huari
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motor
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motorManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motor
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motorThiago Huari
 
Gpr125 service manual
Gpr125 service manualGpr125 service manual
Gpr125 service manualbrubelec
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecote
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecoteManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecote
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecoteThiago Huari
 
Yamaha MT 09 Specs
Yamaha MT 09 SpecsYamaha MT 09 Specs
Yamaha MT 09 SpecsRushLane
 
Honda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnico
Honda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnicoHonda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnico
Honda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnicopolman79
 
Honda Sh Pantheon Dylan 125 150 Manuale Tecnico
Honda Sh   Pantheon Dylan 125 150 Manuale TecnicoHonda Sh   Pantheon Dylan 125 150 Manuale Tecnico
Honda Sh Pantheon Dylan 125 150 Manuale Tecnicoguest9a8b4d
 
Compare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.in
Compare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.inCompare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.in
Compare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.inCMB
 
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 carcaca
Manual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 carcacaManual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 carcaca
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 carcacaThiago Huari
 
2007 owner manual honda cbr600rr
2007 owner manual honda cbr600rr2007 owner manual honda cbr600rr
2007 owner manual honda cbr600rrandonis-artist
 
2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release
2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release
2017 Harley Davidson line-up for India - Press ReleaseRushLane
 
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 motor
Manual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 motorManual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 motor
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 motorThiago Huari
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicao
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicaoManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicao
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicaoThiago Huari
 
Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento ms443821 p cb400ii...
Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento   ms443821 p cb400ii...Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento   ms443821 p cb400ii...
Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento ms443821 p cb400ii...Thiago Huari
 

En vedette (20)

Honda wave s 110 2012 2013
Honda wave s 110 2012  2013Honda wave s 110 2012  2013
Honda wave s 110 2012 2013
 
Honda
HondaHonda
Honda
 
Honda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manual
Honda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manualHonda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manual
Honda ex5-dream 100-spare-part-catalog-manual
 
Honda cup-c70-passport-80-81-service-manual
Honda cup-c70-passport-80-81-service-manualHonda cup-c70-passport-80-81-service-manual
Honda cup-c70-passport-80-81-service-manual
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informac
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informacManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informac
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 informac
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motor
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motorManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motor
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 motor
 
Gpr125 service manual
Gpr125 service manualGpr125 service manual
Gpr125 service manual
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecote
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecoteManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecote
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 cabecote
 
Katalolg Pc Tiger2008
Katalolg Pc Tiger2008Katalolg Pc Tiger2008
Katalolg Pc Tiger2008
 
Sh300 07
Sh300 07Sh300 07
Sh300 07
 
Yamaha MT 09 Specs
Yamaha MT 09 SpecsYamaha MT 09 Specs
Yamaha MT 09 Specs
 
Honda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnico
Honda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnicoHonda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnico
Honda sh --pantheon-dylan_125-150_manuale_tecnico
 
Honda Sh Pantheon Dylan 125 150 Manuale Tecnico
Honda Sh   Pantheon Dylan 125 150 Manuale TecnicoHonda Sh   Pantheon Dylan 125 150 Manuale Tecnico
Honda Sh Pantheon Dylan 125 150 Manuale Tecnico
 
Compare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.in
Compare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.inCompare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.in
Compare yamaha r15 vs honda cbr 150 -review at Choosemybike.in
 
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 carcaca
Manual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 carcacaManual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 carcaca
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 carcaca
 
2007 owner manual honda cbr600rr
2007 owner manual honda cbr600rr2007 owner manual honda cbr600rr
2007 owner manual honda cbr600rr
 
2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release
2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release
2017 Harley Davidson line-up for India - Press Release
 
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 motor
Manual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 motorManual de serviço cb400 (1980)   ms.001 05-80 motor
Manual de serviço cb400 (1980) ms.001 05-80 motor
 
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicao
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicaoManual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicao
Manual de serviço c 100 dream - 00 x6b-gn5-710 ignicao
 
Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento ms443821 p cb400ii...
Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento   ms443821 p cb400ii...Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento   ms443821 p cb400ii...
Manual serviço cb400 ii cb400 policial (1982) suplemento ms443821 p cb400ii...
 

Honda wave innova supra 125 service manual

  • 2. คํานํา คูมือประกอบการอบรมรถจักรยานยนตรุน Wave125-I ใหมนี่จัดทําขึ้นเพื่อใหนายชางประจํา ศูนยบริการรถจักรยานยนตฮอนดาไดใชในการศึกษาเรียนรูระบบการทํางานตางๆของเครื่องยนตระบบหัวฉีดซึ่ง ในรถรุน Wave125-I ใหมนี้เปนรุนที่สองของฮอนดาแลวที่ไดมีการติดตั้งระบบการจายน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ ใชหัวฉีดระบบ PGM-FI ซึงถือไดวาเปนเทคโนโลยีใหมลาสุดของรถจักรยานยนตฮอนดาในขณะนี้ ่ คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือประกอบการอบรมเลมนี้จะเปนประโยชนกับนายชางทุกคน ฝายบริการหลังการขาย บริษัท เอ.พี.ฮอนดา จํากัด http://www.motorcycle.in.th
  • 3. สารบัญ 1. ขอมูลทางเทคนิค 1 2. ขอแตกตางระหวางรุนเกากับรุนใหม 5 3. หลักการเบื้องตนของระบบฉีดเชื้อเพลิง 6 4. ตําแหนงอุปกรณของระบบ 9 5. แผนผังระบบ PGM-FI 10 6. ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส 11 7. ตัวตรวจจับสัญญาณ 12 8. ระบบเชื้อเพลิง 18 9. ระบบประจุอากาศ 21 10. ECM 24 11. ระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง 25 12. การเรียกดูรายการปญหา 29 13. การลบขอมูล 30 14. การปรับตั้งตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง 32 15. การถอดทอน้ํามันแรงดันสูง 34 16. การประกอบทอน้ํามันแรงดันสูง 36 17. ปญหาขอขัดของ 37 18. วงจรไฟ 43 http://www.motorcycle.in.th
  • 4. ขอมูลทางเทคนิค WAVE 125 i หัวขอ รายการ คามาตรฐาน ความยาวตัวรถ 1,881 มม. ( 74.1 นิ้ว ) ความกวางตัวรถ 706 มม. ( 27.81 นิ้ว ) ความสูงตัวรถ 1,082 มม. ( 42.6 นิ้ว) ระยะหางลอหนา - ลอหลัง 1,239 มม. ( 48.8 นิ้ว ) ขนาด ความสูงของเบาะนั่ง 761 มม. ( 30.0 นิ้ว ) ความสูงของพักเทา 266 มม. ( 10.5 นิ้ว ) ระยะหางจากพื้น 130 มม. ( 5 .11 นิ้ว ) 97 กก. ( 213.8 ปอนด )< NF125> น้ําหนักสุทธิ 99 กก. ( 218.3 ปอนด )< NF125M> แบบตัวถัง แบบแบคโบน ( BACK BONE) ระบบกันสะเทือนหนา / ระยะยุบ แบบเทเลสโคปค / 80.5 มม. ( 3.17 นิ้ว ) ระบบกันสะเทือนหลัง / ระยะยุบ แบบสวิงอารม / 81.8 มม. ( 3.22 นิ้ว ) ขนาดยางหนา 60/100 - 17 M/C 33 P ตังถัง ขนาดยางหลัง 70/90 - 17 M/C 43 P เบรคหนา แบบดิสกเบรค / ไฮดรอลิค เบรคหลัง แบบดรัมเบรค มุมแคสเตอร / ระยะเทรล 26° 30' / 68 มม. ( 2.7 นิ้ว ) ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง 4 ลิตร กระบอกสูบ X ระยะชัก 52.4 X 57.9 มม. ( 2.06 X 2.28 นิ้ว ) ปริมาตรกระบอกสูบ 124.8 ซม.3 ( 7.61 นิ้ว ) อัตราสวนการอัด 9.3 : 1 หลังเปลี่ยนถาย 0.7 ลิตร ( 700 ซีซี. ) ความจุน้ํามันเครื่อง หลังประกอบเครื่องยนต 0.9 ลิตร ( 900 ซีซี. ) ระบบขับเคลื่อนวาลว โซราวลิ้นแบบซับเสียง วาลวไอดี เปด ที่ 1 มม. 5 ° กอนศูนยตายบน เครื่องยนต ปด (0.04 นิ้ว) 22° หลังศูนยตายลาง วาลวไอเสียเปด 37° กอนศูนยตายลาง ปด -3° หลังศูนยตายบน วาลวไอดี 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นิ้ว ) ระยะหางวาลว ( ขณะเย็น ) วาลวไอเสีย 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นิ้ว ) ระบบหลอลื่น ใชแรงดัน / แบบอางเปยก ปมน้ํามันเครื่อง แบบหมุน http://www.motorcycle.in.th
  • 5. 2 หัวขอ รายการ คามาตรฐาน ระบบระบายความรอน ระบายความรอนดวยอากาศ ไสกรองอากาศ แบบกระดาษ เพลาขอเหวี่ยง แบบแยกสวน เครื่องยนต การวางเครื่องยนต สูบเดียววางเอียง 80° จากแนวดิ่ง น้ําหนักเครื่องยนตขณะยังไมเติม NF125 22.3 กก. ( 49.2 ปอนด ) น้ํามัน NF125M 24.2 กก. ( 53.4 ปอนด ) PGM-FI [PROGRAMMED FUEL ระบบจายน้ํามัน INJECTION ] ขนาดของคอคอด 22 มม. [0.9 in ] แบบปมแรงดันสูง แบบใบพัด ( TURBINE PUMP ) ระบบจาย อัตราการไหล อยางนอย 13.9 cc./ 10 วินาที ที่แบตเตอรี12 โวลท ่ น้ํามันเชื้อเพลิง หัวฉีด แบบรู ความตานของหัวฉีด 10.2-11.4 โอหม (ที่ 20oC/68oF) ตัวควบคุมแรงดัน 294 kpa (3.0 kgh/cm2,43 psi) ความเร็วรอบเดินเบา 1,400 + 100 รอบตอนาที ระบบคลัทช แบบเปยกหลายแผนซอนกัน ระบบการทํางานของคลัทช แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง ระบบสงกําลัง 4 เกียร แบบขบกันตลอด อัตราทดขั้นตน 3.350 ( 67 / 20 ) อัตราทดขั้สุดทาย 2.428 ( 34 / 14 ) ระบบสงกําลัง อัตราทด เกียร 1 2.500 ( 35 / 14 ) เกียร 2 1.550 ( 31 / 20 ) เกียร 3 1.150 ( 23 / 20 ) เกียร 4 0.923 ( 24 / 26 ) การเปลี่ยนเกียร N - 1 - 2 - 3 - 4 (– N) ( เกียรวนขณะรถหยุดนิ่ง ) ระบบจุดระเบิด ดิจิตอลทรานซีสเตอรเต็มรูปแบบ NF125 สตารทเทา ระบบสตารทเครื่องยนต NF125M มอเตอรสตารท / สตารทเทา ระบบไฟฟา CPR6EA-9 (NGK) หรือ หัวเทียน มาตรฐาน U20EPR9 (DENSO) CPR7EA-9 (NGK) หรือ สําหรับขับขี่ดวยความเร็วสูง U22EPR9 (DENSO) ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน 0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 นิ้ว) http://www.motorcycle.in.th
  • 6. 3 หัวขอ รายการ คามาตรฐาน ระบบไฟชารจ เฟสเดียวจากอัลเทอรเนเตอร เรคกูเลเตอร / เรคติไฟเออร SCR เฟสเดียวเรียงกระแสครึ่งครื่น ระบบแสงสวาง อัลเทอรเนเตอร ระบบไฟฟา องศาการจุดระเบิด 10o กอนศูนยตายบน ที่ 1,400รอบ/นาที แบตเตอรี่ 125C, 125MC YTZ3,YTZ5S ( YUASA ) ฟวสหลัก / ฟวสรอง 15 / 10 A http://www.motorcycle.in.th
  • 7. 4 KPHX : Fuel Injection System Step 2 รถจักรยานยนต รุน Wave 125i ใหมไดมีการพัฒนาระบบการจายน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ PGM-FI Step 2 เขามาใชซึ่งเปนระบบที่พัฒนามาจากระบบ PGM-FI Step 1 โดยการออกแบบใหงายตอการตรวจเช็คซอมและการ บํารุงรักษาตางๆ ไดมีการแยกอุปกรณควบคุม(กลองECM) ออกจากเรือนลิ้นเรงและเซนเซอรทั้งสามตัวไดแก เซนเซอร ตรวจจับอุณหภูมิอากาศ,เซนเซอรตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง, เซนเซอรตรวจจับความดันในทอไอดี ซึ่งจากการออกแบบ ดังกลาวทําใหสามารถตรวจเช็คและเปลี่ยนเซนเซอรตางๆ ไดในกรณีที่เกิดความเสียหาย นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยน ตําแหนงการติดตั้งตัวควบคุมแรงดันของน้ํามันในระบบโดยยายไปอยูในถังน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งติดตั้งเปนชุดเดียวกันกับ ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทําใหไมจําเปนตองมีทอน้ํามันไหลกลับเหมือนกับ PGM-FI Step1 ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงนี้ทําให ความดันของน้ํามันในระบบคงที่อยูตลอดเวลาที่ความดัน 294 Kpa ในทุกสภาพการทํางานของเครื่องยนต http://www.motorcycle.in.th
  • 8. 5 ขอแตกตางของ KPHL กับ KPHX STEP 1 KPHL STEP 2 KPHX THB ECM เรือนลิ้นเรงและ ECM ยึดติดเปนชุดเดียวกัน เรือนลิ้นเรงกับกลอง ECM แยกออกจากกัน หัวฉีดแบบ DN-C3 หัวฉีดแบบ KN-7 INJ เซนเซอรมุมเอียง เซนเซอรมุมเอียง มีทอทางน้ํามันไหลกลับ ไมมีทอทางน้ํามันไหลกลับ มีตัวควบคุมแรงดัน น้ํามันติดตั้งเปนชุดเดียวกันกับปม FPM http://www.motorcycle.in.th
  • 9. 6 หลักการทํางานเบื้องตนของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในรุน KPHX  น้ํามันเชื้อเพลิงในถังจะถูกสงผานกรองน้ํามัน ไปยังหัวฉีด ( Injector ) ซึ่งติดตั้งอยูบริเวณทอไอดีโดยใช ปมน้ํามันเชื้อเพลิงแบบไฟฟา ซึ่งติดตั้งอยูภายในถังน้ํามันพรอมกับตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งยึดติดเปนชุด เดียวกันกับปมน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งจะทําหนาที่ควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบใหคงที่อยูตลอดเวลาในทุกสภาพการ ทํางานของเครื่องยนต ที่ความดัน 294 Kpa สงไปยังหัวฉีด เมื่อกลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวด เข็มหัวฉีดจะยกตัวขึ้น ทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีแรงดันสูง ถูกฉีดเขาไปผสมกับอากาศภายในทอไอดีเพื่อบรรจุเขากระบอก สูบ ปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีดออกมาจะมีปริมาณมากหรือนอย ขึ้นอยูกับระยะเวลาที่กลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของ ชุดหัวฉีดลงกราวด กลาวคือ ถาตองจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวดนาน จะทําใหเข็มของหัวฉีดเปดนาน สงผลใหปริมาณ ของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ฉีดออกมามีปริมาณมากตามไปดวย ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง PGM-FI แบบ D-Jetronic เปนระบบที่มีการควบคุมระยะเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด โดยวิธีการวัดแรงดันของอากาศในทอไอดี ดวยตัวจับความดันในทอไอดี แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิงของหัวฉีดใหเหมาะสมกับปริมาณอากาศที่เขากระบอกสูบ หลักการทํางาน ขณะที่เครื่องยนตมีความเร็วรอบต่ํา ลิ้นเรงจะเปดใหอากาศไหลเขากระบอกสูบนอยเปนผลใหความดันในทอไอดี ต่ํา ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี จะสงสัญญาณไฟฟาที่สัมพันธกับความดันอากาศในทอไอดีในขณะนั้น เขาไปที่กลอง ECM ในสภาวะแบบนี้กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอย และในทางกลับกันหากบิดคันเรงมากขึ้นจะทําใหมี อากาศไหลเขากระบอกสูบมากขึ้น เปนผลใหความดันในทอไอดีสูงขึ้นในสภาวะแบบนี้กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามัน เชื้อเพลิงมากขึ้น http://www.motorcycle.in.th
  • 10. 7 การควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบจะมีการควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ การควบคุมระยะเวลาการ ฉีดพื้นฐาน และการเพิ่มระยะเวลาในการฉีดตามสภาวะการทํางานของเครื่องยนต โดยมีรายละเอียดการควบคุมดังนี้ การควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน กลอง ECM จะไดรับสัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับความดันในทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของ เครื่องยนต สัญญาณไฟฟาทั้งสองจะเปนสัญญาณที่ใชสําหรับ กําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด ระยะเวลาในการฉีดที่ไดจากสัญญาณทั้งสองนี้จะเรียกวา ระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน อากาศ ตัวตรวจจับความดันใน ทอไอดี หัวฉีด ตัวควบคุมความดัน ทอไอดี สัญญาณความดันในทอ ไอดี ปมน้ํามัน ECM เครื่องยนต สัญญาณความเร็ว กรองน้ํามัน รอบเครื่องยนต ถังน้ํามันเชื้อเพลิง สัญญาณการฉีด ไดอะแกรมการควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน หมายเหตุ สัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตจะใชเปนขอมูลในการคํานวณหาปริมาณอากาศตอรอบการทํางานของ เครื่องยนต พรอมทั้งเปนตัวกําหนดจังหวะการจุดระเบิด และจังหวะเริ่มตนการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด http://www.motorcycle.in.th
  • 11. 8 การเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง เนื่องจากเครื่องยนตตองทํางานภายใตสภาวะตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาจึงทําใหอัตราสวนผสมที่ได จากสัญญาณการฉีดพื้นฐานไมสามารถตอบสนองตอความตองการของเครื่องยนตในทุกสภาวะการทํางานได ดังนั้นจึงตอง มีตัวตรวจจับสภาวะการทํางานของเครื่องยนต ( Sensor ) เปนตัวสงขอมูลสภาวะการทํางานตางๆของเครื่องยนตใหกลอง ECM ทราบ เพื่อที่กลอง ECM จะไดนําขอมูลเหลานั้นไปประมวลผลคํานวณหาปริมาณเชื้อเพลิงที่เครื่องยนตตองการ ในสภาวะนั้นๆ แลวสั่งใหหัวฉีดฉีดน้ํามันออกมาผสมกับอากาศใหไดสวนผสมที่พอเหมาะที่สุด TA ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ อากาศ THR ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ตัวตรวจจับความดัน ทอไอดี หัวฉีด ตัวควบคุมความดัน ในทอไอดี สัญญาณความดันในทอไอดี ปมน้ํามัน สัญญาณอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ECM เครื่องยนต กรองน้ํามัน สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต ถังน้ํามัน สัญญาณการฉีด ไดอะแกรมเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง สวนประกอบของระบบ - ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR ) - ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ( FUEL PUMP ) - ทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง ( FUEL HOSE ) - กลองควบคุม ( ENGINE CONTROL MODULE ) - หัวฉีด ( INJECTOR ) - หลอดไฟเช็คเครื่องยนต ( FI-INDICATOR ) http://www.motorcycle.in.th
  • 12. 9 ตําแหนงของอุปกรณระบบ PGM-FI ใชรูปกับคูมือซอม ตัวตรวจจับการเอียงของรถ กลอง ECM ตัวตรวจจับอุณหภูมิ น้ํามันเครื่อง ตัวเรือนหัวฉีด หัวฉีด เรกกูเลเตอร/เรกติไฟเออร ทอทางเดินน้ํามัน ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ปมน้ํามันเชื้อเพลิง และตัวควบคุมแรงดัน http://www.motorcycle.in.th
  • 13. 10 แผนผังระบบ PGM - FI ใชรูปกับคูมือ ซอม 1.สวิทชจุดระเบิด 12.คอยลจุดระเบิด 2.ฟวสหลัก (15 A) 13.ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ 3.ฟวสรอง (10 A) 14.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง 4.แบตเตอรี่ 15.ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี 5.เรกกูเลเตอร/เรกติไฟเออร 16.หัวฉีด 6.เกจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง 17.หัวเทียน 7.หลอดไฟแสดงความผิดปกติ 18.สวิทชไฟเกียรวาง 8.หลอดไฟเกียรวาง 19.พัลซเซอรคอยล 9.ตัวตรวจจับการเอียงของรถ 20.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง 10.ขั้วตรวจสอบ 21.อัลเทอรเนเตอร 11.ปมน้ํามันเชื้อเพลิง http://www.motorcycle.in.th
  • 14. 11 ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกสประกอบดวย ECM, ตัวตรวจจับสัญญาณ, และอุปกรณทํางาน ECM จะรับ สัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับสัญญาณ และควบคุมการทํางานตางๆ เชน หัวฉีดและปมน้ํามันเชื้อเพลิง หนวยตรวจสอบ หนวยควบคุม อุปกรณทํางาน ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ควบคุมการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง หัวฉีด ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ควบคุมการทํางานของ ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ คอยลจุดระเบิด ควบคุมการทํางานของ ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ระบบจุดระเบิด หลอดไฟวิเคราะห ปญหา(FI) ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต ควบคุมการทํางานของหลอดไฟ แสดงความผิดปกติระบบวินิจฉัย ตัวตรวจจับมุมเอียงของรถ ขอขัดของดวยตัวเอง ขั้วตรวจสอบ วงจรจายพลังงาน ( POWER SUPPLY CIRCUIT ) แหลงจายพลังงานในรถจักรยานยนตรุน ใหม มีอยูดวยกัน 2 แหงดวยกันคือ 1. แบตเตอรี่ 2. อัลเทอรเนเตอร ซึ่งระบบจายพลังงานสามารถแยกการทํางานออกเปน 2 กรณีคือ แบบปกติและแบบฉุกเฉิน ซึ่งมีหลักการทํางาน ดังนี้ 1. การทํางานแบบปกติ (แบตเตอรี่อยูในสภาพพรอมใชงาน) เมื่อเปดสวิทชจุดระเบิดแบตเตอรี่จะจายพลังงานออกมาเลี้ยงระบบตางๆทั้งหมดจนกวาจะสตารทเครื่องยนต และเครื่องยนตติด ถาเครื่องยนตสามารถผลิตไฟฟาไดมากกวาแรงเคลื่อนของแบตเตอรี่เมื่อไหรอัลเทอรเนเตอรก็จะเปนตัว จายไฟเลียงระบบแทนแบตเตอรี่และจายไฟไปประจุที่แบตเตอรี่ 2. การทํางานแบบฉุกเฉิน (แบตเตอรี่อยูไมอยูในสภาพที่พรอมใชงาน) อัลเทอรเนเตอรจะเปนตัวจายพลังงานไฟฟาออกมาเลี้ยงระบบทั้งหมดโดยไดพลังงานไฟฟามาจากการสตารท เครื่องยนต ซึ่งรุนนี้ไดมีการออกแบบชุดเรคติไฟเออรใหมใหมีความสามารถในการจายกระแสไฟไปออกมาเลี้ยงระบบได มากขึ้นโดยที่เรคกูเรเตอร-เรคติไฟเออร จะมีตัวเก็บประจุอยูภายในซึ่งจะชวยทําใหแรงเคลื่อนที่จายออกมาจาก อัลเทอรเนเตอรในระหวางการสตารทดวยคันสตารทมีความคงที่และเพียงพอในการติดเครื่องยนต http://www.motorcycle.in.th
  • 15. 12 TO 15A 10A S A T RS . T RE . W S A T RRLA T RE E Y BT A2 V02 TO A1 BT V1 O DIMMER .SW. F E PM UL U P B N A G S NO A K NLE E S R ALTERNATOR วงจรจายพลังงาน ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR ) มีหนาที่ตรวจจับความเปลี่ยนแปลงตางๆ แลวสงขอมูลเขาไปที่กลอง ECM แลวนําขอมูลเหลานั้นไป ประมวลผล เพื่อหาปริมาณการฉีดและจังหวะในการจุดระเบิดที่เหมาะสมที่สุด ในรถรุนนี้ ไดมีการติดตั้งตัวตรวจจับ สัญญาณตางๆ ดังนี้ 1.ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ 2.ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี 3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง 4.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง 5.ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต 6.ตัวตรวจจับมุมเอียงของรถ ใชรูปกับคูมือซอม http://www.motorcycle.in.th
  • 16. 13 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศในทอไอดี ( Intake Air Temperature Sensor : IAT ) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับตรวจจับอุณหภูมิของอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบ และเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา กลอง ECM เพื่อปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการฉีดเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับอุณหภูมิของอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศเปนเทอรมิสเตอรที่สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศไดถึงแมจะ เปนเพียงความรอนแคเล็กนอย ซึ่งติดตั้งอยูดานหนาของลิ้นปกผีเสื้อ เพื่อตรวจสอบอุณหภูมิของอากาศที่จะบรรจุเขา กระบอกสูบโดยตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง คาความตานทาน (K Ω ) -20 0 20 40 60 80 1 ตัวตรวจจับอุ ณหภูมิอ ากาศ o อุ ณหภูมิอ ากาศ C จากหลักการของระบบ ปริมาณอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบจะเปนขอมูลใหกลอง ECM คํานวณหาระยะเวลา ในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหไดสวนผสมระหวางอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิงตามทฤษฎี แตดวยเหตุที่อุณหภูมิของอากาศไม คงที่จึงทําใหความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงไป คือถาอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้นความหนาแนนจะนอยลง จากการที่ ความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงไปจะทําใหการจายสวนผสมผิดพลาดได ดังนั้นจึงจําเปนตองมีตัวตรวจจับอุณหภูมิ ของอากาศกอนที่จะเขาเครื่องยนต ตรวจจับอุณหภูมิของอากาศแลวสงขอมูลใหกับกลอง ECM เพื่อที่จะนําขอมูลที่ไดไป คํานวณหาปริมาณอากาศที่แทจริงแลวสั่งจายเชื้อเพลิงในปริมาณที่เหมาะสมกับปริมาณอากาศในขณะนั้น กลาวคือถาอุณหภูมิของอากาศต่ํา หมายความวาความหนาแนนของอากาศจะมากดวยกลอง ECM จะสั่งจาย น้ํามันเชื้อเพลิงมาก ( หัวฉีดเปดนาน ) ในทางกลับกัน ถาอุณหภูมิของอากาศสูง หมายความวาความหนาแนนของอากาศจะ นอยกลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอย ( หัวฉีดปดเร็ว ) http://www.motorcycle.in.th
  • 17. 14 ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP ) ทําหนาที่ตรวจวัดปริมาณอากาศดวยการตรวจจับความดันภายในทอไอดี แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา กลอง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดพื้นฐานของหัวฉีด ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี เปนความตานทานที่เปลี่ยนแปลงไดแบบ สารกึ่งตัวนํา ซึ่งจะเปลี่ยนความดันให เปนสัญญาณไฟฟาสงไปที่กลอง ECM กลอง ECM จะรับขอมูลความดันสมบูรณภายในทอไอดี จากสัญญาณที่สงมาจากตัวตรวจจับความดันใน ทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต ซึ่งจะเปนขอมูลในการสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงขั้นพื้นฐานใหมีความ เหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนต กลาวคือถาความดันภายในทอไอดีสูง กลองควบคุม ( ECM ) จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาก เพราะมีปริมาณ อากาศมาก ในทางกลับกัน ถาความดันในทอไอดีต่ํา กลองควบคุม ( ECM ) จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยเพราะปริมาณ อากาศนอย ตัวตรวจจับความดันจะติดตั้งอยูดานหลังของลิ้นปกผีเสื้อ เพื่อตรวจจับความดันของอากาศกอนที่จะเขาเครื่องยนต โดยตัวตรวจจับความดันจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ( Throttle Position Sensor : TPS ) ทําหนาที่ตรวจจับตําแหนงการเปดของลิ้นเรงแลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลในการ สั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหมีความเหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนตในขณะนั้น และเปนขอมูลในการสั่งตัดการจาย น้ํามันเชื้อเพลิงเมื่อผอนคันเรง โดยการเปรียบเทียบสัญญาณกับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตและสัญญาณอุณหภูมิ ของน้ํามันเครื่อง ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง จะบอกการเปดของลิ้นเรงออกมาเปนสัญญาณทางไฟฟา ซึ่งเกิดจากความตานทานที่ เปลี่ยนแปลงไดที่ติดตั้งอยูที่สวนปลายของเพลาลิ้นเรง แลวสงสัญญาณไฟฟาดังกลาวไปที่กลองECM http://www.motorcycle.in.th
  • 18. 15 เซนเซอรลิ้นเรง ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง การทํางาน ที่ตําแหนงลิ้นเรงปดสุดชุดหนาสัมผัสสัญญาณการเปดลิ้นเรง จะตอที่สวนปลายของแผนความตานทานใน ตําแหนงนี้ความตานทานจะมาก ทําใหไฟที่จายมาจากขั้ว VCC 5 โวลท ไหลผานความตานทานมากจึงทําใหไฟไหล กลับไปที่กลอง ECM ที่ขั้ว THR นอย ( 0.5 โวลท ) ในตําแหนงนี้กลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีดจายน้ํามันเชื้อเพลิง นอยเมื่อบิดคันเรงมากขึ้นชุดหนาสัมผัสสัญญาณการเปดลิ้นเรง จะเคลื่อนที่เขาหาขั้ว VCC มากขึ้น ทําใหคาความ ตานทานระหวางขั้ว VCC กับขั้ว THR ลดลงยอมใหกระแสไฟไหลกลับไปที่กลอง ECM ที่ขั้ว THR มากขึ้น เปน ผลใหกลอง ECM สั่งจายน้ํามันมากขึ้น จนลิ้นเรงเปดสุดความตานทานจะนอยที่สุดทําใหไฟไหลกลับไปที่กลอง ECM ไดมากที่สุด ( 4.47 โวลท ) ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง โดยจะเชื่อมตออยูกับแกนหมุนของ ลิ้นปกผีเสื้อ ซึ่งติดตั้งอยูที่ทอไอดี http://www.motorcycle.in.th
  • 19. 16 ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ( Engine Oil Temperature Sensor : EOT ) ทําหนาที่ตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่อง แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อเพิ่มหรือลด ปริมาณการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง กลาวคือถาน้ํามันเครื่องมีอุณหภูมิต่ํากลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น คาความตานทาน กิโลโอม 7.000 6.000 5.000 4.000 3.000 2.000 1.000 0.000 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 อุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ( องศาเซลเซียส ) ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครือง ่ อุณหภูมิ 20oC 100oC 2.5-2.8 KΩ 0.21-0.22 KΩ คาความตานทาน ตัวตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องติดตั้งอยูที่ดานลางของเสื้อสูบ ภายในประกอบดวยความตานทานแบบมีคา สัมประสิทธิ์ทางอุณหภูมิเปนลบ ซึ่งจะมีคาความตานทานลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จากคุณสมบัติดังกลาวจะถูกนําไปใช เปลี่ยนเปนแรงดันไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลในการคํานวณหาปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสมกับ อุณหภูมิของเครื่องยนตขณะนั้น ถาเครื่องยนตเย็นความตานทานจะมาก เปนเหตุใหแรงดันไฟฟาตกครอมที่ตัวตรวจจับ อุณหภูมิน้ํามันเครื่องมาก กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาก และเมื่อเครื่องยนตทํางานจนอุณหภูมิสูงขึ้น ความ ตานทานจะลดลงเปนเหตุใหไฟฟาสามารถผานตัวตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องไปเขากลอง ECM ไดมากกลอง ECM ก็จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหนอยลง ทั้งนี้ก็เพื่อความเหมาะสมกับสภาวะการทํางานของเครื่องยนต http://www.motorcycle.in.th
  • 20. 17 ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต ( Engine Speed Sensor ) ทําหนาที่ตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต แลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานใน การคํานวณจังหวะและอัตราการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับความเร็วรอบของเครื่องยนต และกลอง ECM ยังใช สัญญาณนี้ไปคํานวณหาจังหวะจุดระเบิดที่เหมาะสมที่สุดสําหรับแตละสภาวะการทํางานของเครื่องยนต ลอแมเหล็ก จุดตัดบอกตําแหนงองศา พัลเซอรคอยล เพลาขอเหวี่ยง ตัวตรวจจับการเอียงของรถ ( Bank Angle Sensor ) ทําหนาที่ตรวจจับการเอียงของรถ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในกรณีรถลม โดยตัวตรวจจับการเอียงของรถจะสง กระแสไฟฟาประมาณ 1 โวลท ไปยังชุดกลอง ECM เมื่อองศาการเอียงถึงจุดที่กําหนดไว เพื่อแจงใหทราบวาขณะนี้รถ อยูในลักษณะเอียง กลอง ECM ก็จะสั่งใหระบบ PGM-FI หยุดทํางานเปนการปองกันไฟใหมในกรณีรถเกิดอุบัติเหตุ ลม โดยตัวตรวจจับการเอียงของรถ จะสั่งใหกลอง ECM ตัดการทํางานของชุดไฟจุดระเบิดและหัวฉีด เมื่อ รถจักรยานยนตเอียงเปนมุมมากวา 55o + 5o ภายในระยะเวลา 4 + 0.5 วินาที โดยการตัดวงจรนีจะเปนการตัดแบบถาวร ้ ถึงแมวารถจะตั้งขึ้นมาแลวก็ตาม ECM สั่งใหระบบจุดระเบิดทํางานอีกครั้งเมื่อมีการปด-เปดสวิทชจุดระเบิดใหม ระบบ จึงจะทํางานเปนปกติ ( ปมน้ํามันเชื้อเพลิงยังคงทํางานตามไดตามเงื่อนไขเดิม ) 55+5o o 55+5o o 55 +5 55 +5 ตําแหนงติดตั้ง Bank Angle Sensor http://www.motorcycle.in.th
  • 21. 18 ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในรถจักยานยนตรุน KPHX สามารถแบงระบบการทํางานไดดังนี้ 1. ระบบเชื้อเพลิง ทําหนาที่จายน้ํามันเชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนตในปริมาณที่เพียงพอตอความตองการในทุก สภาวะการทํางานของเครื่องยนต ดวยความดันคงที่ 294 Kpa ตลอดเวลา ประกอบดวย ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ปมน้ํามัน เชื้อเพลิง ตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง ทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง (ทอแรงดันสูง) หัวฉีด หัวฉีด ทอน้ํามัน ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง - ปมน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pump) ทําหนาที่สรางแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงจากถังสงไปยังหัวฉีดในปริมาณที่ เพียงพอตอความตองการของเครื่องยนตโดยปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะติดตั้งอยูภายในถังน้ํามันเชื้อเพลิงเปนปมแบบใบพัด ( Turbine Pump) ขับดวยมอเตอร 12 VDC.จายน้ํามันเชื้อเพลิงดวยอัตราการไหลคงที่ ที่แรงดัน 294 Kpa หรือ 3.0 Kgf/cm2 โดยทอดูดของปมติดตั้งอยูในตําแหนงต่ําสุดของถังน้ํามันและจะมีกรองตาขายอยูดานลางเพื่อกรองสิ่งสกปรกที่ มีขนาดตั้งแต 10 ไมครอนขึ้นไป มอเตอรปมจะถูกสั่งงานโดยกลอง ECM ลิ้นกันกลับ ตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง กรองน้ํามันดานดูด http://www.motorcycle.in.th
  • 22. 19 จากการที่ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจายน้ํามันดวยอัตราการไหลคงที่ตลอดเวลา แตเครื่องยนตตองการปริมาณน้ํามันที่ไม คงที่ ดังนั้นจึงตองมีการควบคุมแรงดันน้ํามันอีกครั้งโดยตัวควบคุมแรงดันที่ติดตั้งอยูกับปมน้ํามันเชื้อเพลิงภายในถังกอนที่ จะสงไปยังหัวฉีด ทําใหไมมีน้ํามันสวนเกินสงไปยังหัวฉีด จึงไมตองมีทอน้ํามันไหลกลับเหมือนที่ใชในรุน KPHL สวนประกอบของปมน้ํามันเชื้อเพลิง ขดลวดอาเมเจอร เรือนปม ใบพัด ทอทางจาย หองปมน้ํามัน ลิ้นกันกลับ มอเตอร ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ทางจาย ทางดูด รองของใบพัด รองของใบพัด ใบพัด เรือนปม ปมน้ํามันประกอบดวย ขดลวดอาเมเจอร ชุดปม ลิ้นกันกลับ มอเตอร ใบพัด หองปม ทอทางดูดทอทางสง และ เรือนปม ปมน้ํามันจะทํางานทุกครั้งที่เปดสวิทชกุญแจโดยกลอง ECM จะเปนตัวสั่งใหปมทํางานเปนเวลา 2 วินาที แลว ดับหลังจากนั้นจะทํางานอีกเมื่อเครื่องยนตติด โดยปมน้ํามันจะทํางานตลอดเวลาถามีสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต สงมาที่กลอง ECM ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะหยุดการทํางานอัตโนมัติเมื่อไมมีสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตสงมาที่ ECM เมื่อปมหยุดทํางานลิ้นกันกลับจะปดเพื่อรักษาแรงดันน้ํามันในระบบไว http://www.motorcycle.in.th
  • 23. 20 หัวฉีด ( Injector ) ทําหนาที่ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเปนฝอยละออง เพื่อคลุกเคลากับอากาศบริเวณทอไอดีกอนผานวาลวไอดีเขาสู กระบอกสูบ หัวฉีดที่ใชเปนแบบบังคับการเปดของหัวฉีดโดยโซลินอยดไฟฟาและปดโดยแรงดันสปริง โดยมีโครงสราง ดังนี้ KPHX (KN-7 Type) หลักการทํางาน น้ํามันจากทอสงไหลเขาหัวฉีดโดยผานกรองละเอียดที่ชองทางเขา ผานลงไปยังเข็มหัวฉีดที่ปลายดานลางของ หัวฉีด ในขณะที่หัวฉีดยังไมทํางาน เข็มหัวฉีดจะถูกสปริงดันใหแนบสนิทอยูกับบาของเข็มหัวฉีดจังหวะนี้จะไมมีการฉีด น้ํามัน เมื่อกลอง ECM สั่งใหไฟฟาที่มาจากหัวฉีดลงกราวดจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้นที่ขดลวด เสนแรงแมเหล็กที่ เกิดขึ้นจะดูดใหพลังเยอรที่อยูตรงกลางยกขึ้น เข็มหัวฉีดที่ติดกับพลังเยอรก็จะยกตัวขึ้นจากบาของเข็มหัวฉีดทําใหน้ํามันที่มี แรงดันประมาณ 294 Kpa ถูกฉีดออกมาจากหัวฉีดในลักษณะเปนฝอยละออง สําหรับปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมาจะมาก หรือนอยขึ้นอยูกับระยะเวลาในการเปดของหัวฉีด ถาหัวฉีดเปดนานปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมาก็จะมาก สําหรับหัวฉีดรุนนี้ (KN7) เปนหัวฉีดที่ถูกพัฒนาขึ้นมาสําหรับใชในรถรุน KPHX นี้โดยเฉพาะ มีขนาดเล็ก กระทัดรัดเสียงเบา http://www.motorcycle.in.th
  • 24. 21 ตัวควบคุมแรงดัน ( Pressure Regulator ) ติดตั้งอยูกับปมน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามัน มีหนาที่ในการรักษาแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบใหคงที่294 Kpa ตลอดเวลา โดยการระบายแรงดันน้ํามันสวนเกินกลับลงไปในถังน้ํามันเชื้อเพลิงตามเดิม ไปทอสงจายน้ํามัน ไปทอสงจายน้ํามัน ตัวควบคุมแรงดัน ตัวควบคุมแรงดัน กลับลงถังน้ํามัน แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงปกติ แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงสูงกวาปกติ ตัวควบคุมแรงดัน กลับลงถังน้ํามัน 2.ระบบประจุอากาศ ทําหนาที่ประจุอากาศใหกับเครื่องยนตประกอบดวย กรองอากาศ เรือนลิ้นเรงและทอไอดี กรองอากาศ ( Air Cleaner ) ทําหนาที่กรองสิ่งสกปรกออกจากอากาศที่จะบรรจุเขากระบอกสูบกรองอากาศจะตองมีการตรวจเช็คทําความ สะอาดอยูเสมอ และควรเปลี่ยนเมื่อถึงระยะเวลาที่กําหนด เพื่อประสิทธิภาพของเครื่องยนต เพราะหากกรองอากาศอุดตัน จะเปนสาเหตุใหเครื่องยนตสตารทติดยาก เดินเบาไมเรียบ หรืออาจจะสตารทไมติด และจะสงผลตอการทํางานของระบบ อีกดวย http://www.motorcycle.in.th
  • 25. 22 เรือนลิ้นเรง ( THROTTLE BODY ) เรือนลิ้นเรง ชุดเซนเซอร สกรูปรับรอบเดินเบา ที่ตัวเรือนลิ้นเรงจะประกอบไปดวยอุปกรณที่สําคัญหลายชิ้น คือ ลิ้นเรง ( Throttle Valve ) สกรูปรับรอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw ) ชองทางอากาศรอบเดินเบา ( Idle Air Passage ) ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ( Throttle Position Sensor : TPS ) ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ( Intake Air Temperature Sensor : IAT ) ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP ) http://www.motorcycle.in.th
  • 26. 23 ลิ้นเรง ( Throttle Valve ) มีหนาที่ควบคุมปริมาณอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบซึ่งเปนการควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต สกรูปรับรอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw ) สกรูปรับรอบเดินเบาจะทําหนาที่เปดชองทางใหอากาศไหลเขากระบอกสูบไดโดยไมผานลิ้นเรงเนื่องจากขณะ เครื่องยนตเดินเบาลิ้นเรงปดดังนั้นจึงตองมีชองทาง Bypass ใหอากาศผานเขากระบอกสูบ เพื่อใหเครื่องยนตเดินเบาอยู ไดโดยไมดับ ถาปรับสกรูใหอากาศไหลผานไดมากจะทําใหความเร็วรอบเดินเบาสูงขึ้น สกรูปรับรอบ เดินเบา ชองทางอากาศเดินเบา Slow Line Main Line หัวฉีด ลิ้นเรง สกรูปรับรอบเดินเบา ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง http://www.motorcycle.in.th
  • 27. 24 ECM : Engine Control Module กลองควบคุม (ECM) ถือไดวาเปนสมองกลของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ PGM-FI เปน ไมโครคอมพิวเตอรที่ประกอบขึ้นมาจากอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส มีหนาที่รับสัญญาณตางๆ จากตัวตรวจจับสัญญาณ แลวนําไปประมวลผลเพื่อสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงและกําหนดจังหวะในการจุดระเบิดใหมีความเหมาะสมในทุกสภาวะการ ทํางานของเครื่องยนตเพื่อการเผาไหมที่สมบูรณ โดยกลอง ECM จะแยกติดตั้งอยูบริเวณบังโคลนหลังดานซายของตัวรถ เพื่อปองกันปญหาเรื่องความรอนที่ ออกจากเครื่องยนต เรื่องน้ําที่กระเด็นเขาทางดานหนา และใหงายตอการบํารุงรักษาหรือถอดเปลี่ยน การตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง กลอง ECM จะตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด ในบางสภาวะการทํางานของเครื่องยนต เพื่อความ ประหยัดและเปนการปองกันการสึกหรอของเครื่องยนต คือ 1. ขณะลดความเร็วรอบของเครื่องยนตอยางทันทีทันใด เชนขณะทําการเบรกหรือขับรถลงจากที่สูงซึ่งเปนภาวะที่เครื่องยนตไมตองการน้ํามันเชื้อเพลิงกลองECM จะทํา การตัดการฉีดน้ํามันของหัวฉีด โดยกลอง ECM จะไดรับสัญญาณจากตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงเปนตําแหนงเดินเบา และสัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต มาเปรียบเทียบกัน ถาลิ้นเรงอยูในตําแหนงเดินเบาแตเครื่องยนตมีความเร็วรอบสูง กลอง ECM จะตัดการฉีดน้ํามันของหัวฉีด สวนความเร็วรอบในการตัดจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ํามันหลอลื่นที่สงมา จากตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันหลอลื่นโดยมีเงื่อนไขดังนี้ ถาอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องต่ํา ความเร็วรอบในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะสูง ถาอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องสูง ความเร็วรอบในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะต่ําลง ในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะเปนการตัดเพียงชั่วขณะเทานั้น หลังจากความเร็วรอบของเครื่องยนตลดลงถึง คาที่กําหนดกลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีด ฉีดน้ํามันตามปกติเพื่อไมใหเครื่องยนตดับ http://www.motorcycle.in.th
  • 28. 25 2.เมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงเกินคาที่กําหนด กลอง ECM จะทําการเปรียบเทียบความเร็วรอบของเครื่องยนตที่สงมาจากตัวตรวจจับความเร็วรอบของ เครื่องยนตกับความเร็วสูงสุดที่ถูกกําหนดไวในหนวยความจํา หากพบวาความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงเกินคาที่กําหนดไว กลอง ECM จะตัดการฉีดของน้ํามันของหัวฉีด เพื่อเปนการปองกันเครื่องยนตเสียหายจากการที่ความเร็วรอบสูงเกินไป และเมื่อความเร็วรอบลดต่ําลงกวาคาที่กําหนด กลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีดฉีดน้ํามันตามปกติเพื่อใหเครื่องยนตทํางาน ตอไปได ระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง เปนระบบที่ติดตั้งเขามาเพื่อเปนการอํานวยความสะดวกกับนายชาง โดยที่ระบบนี้จะคอยตรวจสอบการทํางานของ เซนเซอรอยูตลอดเวลาถาเมื่อใดระบบตรวจพบความผิดปกติเกิดขึ้นกับเซนเซอร ระบบก็จะแสดงผลออกมาทางหลอดไฟ FI ซึ่งติดตั้งอยูที่หนาปทมเรือนไมล โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ใชรูปกับคูมือ ซอม รหัสขอขัดของ เมื่อเปดสวิทชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง " ON " หลอดไฟจะติดขึ้นมา 2 วินาทีแลวดับลง ถาระบบวินิจฉัย ขอขัดของดวยตัวเอง ตรวจพบความผิดปกติของอุปกรณ หลอดไฟ " FI " จะกะพริบเปนรหัสเพื่อแจงปญหาใหทราบ โดย หลอดไฟจะกะพริบเมื่อสวิทชอยูในตําแหนง " ON " และเครื่องยนตมีความเร็วรอบไมเกิน 2000 รอบตอนาที ถา ความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงกวานี้ หลอดไฟจะติดตลอดและจะกะพริบอีกครั้งเมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนตลดลงต่ํา กวา 2000 รอบตอนาที ระบบจะตรวจสอบเฉพาะปญหาที่เกิดจากการเปดของวงจรหรือปญหาที่เกิดจากการรัดวงจรเทานั้น ขอมูลความผิดปกติที่เกิดขึ้นจะถูกบันทึกไวในกลอง ECM ตลอดไปจนกวาจะมีการแกไขปญหาลบขอมูลโดยการตัด ไฟเลี้ยงกลอง ECM โดยการปดสวิทชจุดระเบิด http://www.motorcycle.in.th
  • 29. 26 รหัสวินิจฉัยขอขัดของที่ใชในรถรุน KPHX จะมีอยู 2 แบบคือ แบบรหัสเดี่ยว และแบบรหัสคู แบบรหัสเดี่ยว เปนการแสดงรหัสขอขัดของ 1 รหัส โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหัสดวยความถี่ที่ เทากันเชนรหัส 3 ก็จะกะพริบ 3 ครั้ง รหัส 7 ก็จะกะพริบ 7 ครั้ง วินาที วินาที แบบรหัสคู วินาที เปนการแสดงรหัสขอขัดของ 2 รหัส โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหัสดวยความถี่ที่ แตกตางกันเชนรหัส 11 ก็จะกะพริบยาว 1 ครั้ง สั้น 1 ครั้ง รหัส 12 ก็จะกะพริบยาว 1 ครั้ง สั้น 2 ครั้ง วินาที วินาที http://www.motorcycle.in.th
  • 30. 27 ตารางการวินจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง ิ จํานวนครั้งการกะพริบของหลอดไฟ FI จะแสดงออกมาเปนรหัสของปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบ รหัสปญหา จุดที่เกิดปญหา สาเหตุ อาการปญหา ไมกะพริบ ขดลวดพัลซเซอร ไมมีสัญญาณไฟจาก เครื่องยนตสตารทไมติด ขดลวดพัลซเซอร ไมกะพริบ หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง 1.กรองเชื้อเพลิงอุดตัน เครื่องยนตสตารทไมติด 2.เข็มหัวฉีดติดตาย ไมกะพริบ ECM ECM ผิดปกติ เครื่องยนตสตารทไมติด ไมกะพริบ ระบบไฟเลี้ยงหรือกราวด 1.ฟวส 15A ขาด เครื่องยนตสตารทไมติด ของ ECM 2.วงจรเปดที่สายไฟเลี้ยง กลอง ECM 3.สวิทชจุดระเบิดเสีย ไมกะพริบ วงจรหลอดไฟ “FI” 1.ECM ผิดปกติ เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ 2.มีการขาดหรือรัดวงจร ของระบบไฟ “FI” ติดตอเนื่อง ขั้วตรวจสอบหรือวงจร 1.มีการรัดวงจรที่ขั้ว เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ ตรวจสอบ 2.มีการรัดวงจรของสาย ขั้วตรวจสอบMIL 3.ECM ผิดปกติ รหัส 1,8,9 เซนเซอรที่เรือนลิ้นเรง 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตติดไดแตเรงแลวดับ หลวมหรือไมดี 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจับเสีย รหัส 1 ตัวตรวจจับความดันในทอ ตัวตรวจจับความดันใน เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ ไอดี ทอไอดีเสีย รหัส 7 ตัวตรวจจับอุณหภูมิ 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตสตารทติดยากที่ น้ํามันเครื่อง หลวมหรือไมดี อุณหภูมิต่ํา 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ น้ํามันเครื่องเสีย http://www.motorcycle.in.th
  • 31. 28 รหัสปญหา จุดที่เกิดปญหา สาเหตุ อาการปญหา รหัส 8 ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตมีการตอบสนองไมดี หลวมหรือไมดี ในขณะบิดคันเรงทันทีทันใด 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้น เรงเสีย รหัส 9 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ หลวมหรือไมดี 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ อากาศเสีย รหัส 12 หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง 1.ขั้วตอสายของหัวฉีด เครื่องยนตสตารทไมติด หลวมหรือไมดี 2.สายไฟของวงจรหัวฉีด ขาดหรือรัดวงจร 3.หัวฉีดเสีย รหัส 33 EP-ROM ใน ECM ECM ผิดปกติ เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ แตไมสามารถวิเคราะหปญหา ได รหัส 54 ตัวตรวจจับการเอียงของรถ 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ หลวมหรือไมดี 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจับการเอียง ของรถเสีย http://www.motorcycle.in.th