SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  105
Télécharger pour lire hors ligne
จัดทำโดย
นำงสำวอัญชลี จตุรำนน
เพื่อนำเสนอ อำจำรย์ ดร.สุนทรี สุริยะรังษี
ในรำยวิชำ ศึกษำงำนสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ
ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต
มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่
ภำคเรียนที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕
และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ
ศึกษำวิเครำะห์หนังสือเรื่อง
“ภำวนำทีปนี”
ผลงำนท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
๑. เพื่อศึกษำถึงอัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร,
ป.ธ. ๙)
๒. เพื่อศึกษำถึงผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ.
๙)
๓. เพื่อศึกษำรำยละเอียดของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อันเป็น
ผลงำนทรงคุณค่ำของพระพุทธศำสนำ (ทั้งทำงด้ำนบรรณำนุกรม
และเนื้อหำสำระ)
๔. เพื่อวิเครำะห์เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
๕. เพื่อวิเครำะห์ถึงคุณค่ำของ หนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ในด้ำนต่ำงๆ
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำวิเครำะห์
หนังสือเรื่อง
“ภำวนำทีปนี” (ผลงำนท่ำนพระพรหมโมลี)
๑. อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
๒. ประวัติผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
๓. รำยละเอียดด้ำนบรรณำนุกรม และเนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง
“ภำวนำทีปนี”
๔. วิเครำะห์เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
๕. วืเครำะห์คุณค่ำของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
โครงสร้ำงเนื้อหำสำระ
ประวัติ
อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
พระพรหมโมลี (วิลำศ ญำณวโร ป.ธ.๙) – เจ้ำอำวำสวัดยำนนำวำ
เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร
สถำนะเดิม
ชื่อ วิลำศ นำมสกุล ทองคำ เกิดวันอังคำร ขึ้น ๗ ค่ำเดือน ๗ ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ ๓
เดือนมิถุนำยน พ.ศ. ๒๔๗๓
บิดำชื่อ นำยบัว ทองคำ มำรดำชื่อ นำงยม ทองคำ หมู่ที่ ๑ ตำบลอุโลกสี่หมื่น อำเภอ
ท่ำมะกำ จังหวัดกำญูจนบุรี มีพี่น้องรวม ๗ คน คือ
๑.) นำงหว่ำ รุ่งเรือง ๒.) นำงมำ ปุ๋ ยทอง (เลียชีวิตแล้ว)
๓.) นำยติ๋ม ทองคำ ๔.) พระพรหมโมลี (วิลำศ ทองคำ)
๕.) นำงเค้ำ รุ่งเรือง (เสียชีวิตเล้ว)
๖.) นำงพูล ละมูลจิตร ๗.) นำยทวี ทองคำ
บรรพชำอุปสมบท
อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
บรรพชำ
วันพุธ ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๗ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๑๖ เดือนมิถุนำยน พ. ศ. ๒๔๘๖
ณ วัดพระแท่นดงรังวรวิหำร อำเภอท่ำมะกำ จังหวัด กำญจนบุรี
พระอุปัชฌำย์ - พระครูวรวัตตวิบูล วัดแสนตอ อำเภอท่ำมะกำ จังหวัดกำญจนบุรี
อุปสมบท
วันอำทิตย์ แรม ๑๑ ค่ำ เตือน ๘ ปีขำล ตรงกับวันที่ ๙ เดือน กรกฎำคม พ.ศ. ๒๔๙๓
ณ วัดดอน แขวงยำนนำวำ
พระอุปัชฌำย์ - สมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ วัดสำมพระยำ กรุงเทพมหำนคร
วิทยฐำนะ
อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
พ.ศ. ๒๔๘๕ - จบชั้นประถมบริบูรณ์ โรงเรียนอำจวิทยำคำร ตำบลอุโลกสี่หมื่น
อำเภอท่ำมะกำ จังหวัดกำญจนบุรี
พ.ศ. ๒๔๘๙ - สอบได้ น.ธ.เอก สำนักเรียนวัดพระแท่นดงรังวรวิหำร อำเภอท่ำมะกำ
จังหวัดกำญจนบุรี
พ.ศ. ๒๕๐๓ - สอบได้ ป.ธ. ๙ สำนักเรียนวัดยำนนำวำ
พ.ศ. ๒๕๑๗ - สำเร็จกำรศึกษำโรงเรียนพระสังฆำธิกำรส่วนกลำง กรุงเทพมหำนคร
พ.ศ. ๒๕๓๒ - ได้รับปริญญำพุทธศำสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ มหำวิทยำลัยมหำ
จุฬำลงกรณ์รำชวิทยำลัย
บทบำทของท่ำนพระพรหมโมลีในกรณีคดีวัดธรรมกำย
อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
ปี ๒๕๔๒ วัดธรรมกายมีคดีอาญา โดยมีสองประเด็นคือเรื่องยักยอกเงินวัด และเรื่องสอนผิด
จากพระไตรปิฎก
ปี ๒๕๔๙ พระธัมมชโย พ้นจากคดีนี้ทั้งสองประเด็น โดย
คดียักยอกเงินวัด – อัยการสูงสุดขอถอนฟ้ องเนื่องจากพระธัมมชโยได้คืนเงินให้แก่วัดแล้ว
คดีสอนผิดจำกพระไตรปิฎก – พระพรหมโมลีซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าคณะภาค ๑ และ
กรรมการมหาเถรสมาคม ได้ตัดสินว่าพระธัมมชโยไม่ได้สอนผิดไปจากพระไตรปิฎก เพียงแต่
อ่อนด้านพระอภิธรรม และสั่งให้ไปเรียนพระอภิธรรมเพิ่ม
ผลกระทบ จากการตัดสินคดีในครั้งนี้ส่งผลให้พระพรหมโมลี ถูกปลดจากตาแหน่งเจ้าคณะ
ภาค ๑ และกรรมการมหาเถรสมาคม
งำนปกครอง
ผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
พ.ศ. ๒๕๐๙ - เป็นเจ้ำอำวำสวัดดอน
พ.ศ. ๒๕๑๓ - เป็นเจ้ำคณะตำบลวัดพระยำไกร
พ.ศ. ๒๕๑๔ - เป็นพระอุปัชฌำย์
พ.ศ. ๒๕๑๕ - เป็นเจ้ำคณะเขตยำนนำวำ
พ.ศ. ๒๕๒๘ - เป็นรองเจ้ำคณะภำค ๑
พ.ศ. ๒๕๓๑ - เป็นเจ้ำอำวำสวัดยำนนำวำ (พระอำรำมหลวง)
พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๔๓ - เป็นเจ้ำคณะภำค ๑
พ.ศ. ๒๕๓๕ - เป็นกรรมกำรมหำเถรสมำคม
งำนกำรศึกษำ
ผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
พ.ศ. ๒๔๙๓ - เป็นครูสอนปริยัติธรรม
พ.ศ. ๒๔๙๖ - เป็นกรรมกำรตรวจธรรมสนำมหลวง
พ.ศ. ๒๔๙๖ - เป็นกรรมกำรตรวจบำลีสนำมหลวง
พ.ศ. ๒๕๑๘ - เป็นกรรมกำรนำประโยคบำลี สนำมหลวงไปเปิดสอบใน
จังหวัดส่วนภูมิภำค
พ.ศ. ๒๕๓๑ - เป็นเจ้ำสำนักเรียนวัดยำนนำวำ
งำนเผยแผ่
ประวัติผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
๑. ) โลกทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๖)
๒. ) มุนีนำถทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๖)
๓. ) วิปัสสนำทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๖)
๔. ) โลกนำถทืปนี (พ.ศ. ๒๕๐๗)
๕. ) ภำวนำทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๗)
๖. ) โพธิธรรมทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๗)
๗.) ภูมิวิลำสินี (พ.ศ. ๒๕๑๑)
๘. ) วิมุตดิรัตนมำลี (พ.ศ. ๒๕๑๕)
๙. ) กรรมทีปนี (พ.ศ. ๒๔๑๗)
๑๐.) วิปัสสนำวงศ์ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
รำงวัลชนะเลิศในกำรประกวดวรรณกรรม*
ประวัติผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี
(วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
ภูมิวิลำสินี - รำงวัลชนะเลิศวรรณกรรมสำขำศำสนำ เมื่อวันที ๗ เมษำยน ๒๕๑๓
วิมุตติรัตนมำลี - รำงวัลชนะเลิศวรรณกรรมสำขำศำสนำ เมื่อวันที ๑๒ ธันวำคม
๒๕๑๖
กรรมทีปนี - รำงวัลชนะเลิศวรรณกรรมสำขำศำสนำ เมื่อวันที่ ๑๙
พฤษภำคม ๒๕๑๙ พรัอมกับไดัรับคำชมเชยว่ำ เป็น เพชรน้ำเอกในวงวรรณกรรมซึ่ง
นับว่ำ เป็นเกียรติประวัติอันสูงส่งแก่วงกำร คณะสงฆ์ไทย
*จัดประกวดโดยธนำคำรกรุงเทพ จำกัด (มหำชน)
รำยละเอียดด้ำนบรรณำนุกรม
ของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
๑.) ลักษณะคำประพันธ์ ร้อยแก้ว
๒.) ควำมยำว ๒๕๖ หน้ำ มี ๖ ภำค
๓.) เป็นผลงำนลำดับที่ ๕ (ในจำนวนทั้งหมด ๑๐ เล่ม) พิมพ์
ครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๐๗
๔.) เลขเรียกหนังสือ ISBN 974-689-119-7
๕.) หมำยเลขหนังสือในห้องสมุด มจร. เชียงใหม่
• 294.3422 พ 237ภ (สำนักพิมพ์ดอกหญ้ำ)
• 294.3422 ว721ภ 2526 (โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม)
• 294.3422 ว 721ภ (มูลนิธิธรรมกำย)
• 294.3422 พ237ภ2/2545 (สำนักพิมพ์ดอกหญ้ำ)
หัวข้อหลัก
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
๑. ปณำมพจน์
๒. อำรัมภกำถำ
๓. ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ
๔. ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
๕. อวสำนกถำ
๖. ปัจฉิมพจน์
๑.) ปณำมพจน์
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ถวำยนมัสกำรพระพุทธเจ้ำ พระอริยสงฆ์และ
ครูบำอำจำรย์ทั้งหลำย
และกล่ำวว่ำรจนำกถำชื่อว่ำ “ภำวนำทีปนี”
เพื่อชี้แจงเรื่องกำรบำเพ็ญภำวนำใน
พระพุทธศำสนำ ตำมคำสอนของ
พระพุทธเจ้ำ ขอให้ผู้ใคร่ในภำวนำกรรม
ทั้งหลำย จงตั้งใจฟังกถำนี้
๒.) อำรัมภกำถำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กล่ำวถึงเรื่องรำวของพระพุทธเจ้ำก่อนตรัสรู้ ตั้งจิตอธิษฐำน ได้รับ
พยำกรณ์ และช่วงที่เป็นพระโพธิสัตว์ บำเพ็ญบำรมีในชำติต่ำงๆ จนถึง
ชำติสุดท้ำยคือ พระเวสสันดร เมื่อสิ้นอำยุขัยก็ไปจุติเป็น พระเสตุเกตุ
เทพบุตร อำยุขัย ๔,๐๐๐ ปีทิพย์ รอเวลำมำจุติเป็นพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ
พระพุทธโกลำหล
ท่ำนท้ำวมหำพรหมออกป่ำวประกำศว่ำพระพุทธเจ้ำ
จะอุบัติขึ้นในโลก พรหมและเทพทั้งหลำยทูลอำรธนำ
พระพุทธเจ้ำประสูติ
๒.) อำรัมภกำถำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ภำวนำกรรมพระทศพล
เรื่องรำวตั้งแต่พระพุทธเจ้ำทรงออกผนวช บำเพ็ญทุกรกิริยำ มีมำรมำทูลเชิญ
ให้เลิกบำเพ็ญเพียร แต่พระพุทธองค์ก็ทรงบำเพ็ญเพียรต่อไป จนพบหนทำง
แห่งมัชฌิมำปฏิปทำ และตรัสรู้อนุตรสัมมำสัมโพธิญำณในที่สุด
ประเภทภำวนำ
“ภำเวตพฺพำติ ภำวนำ” “ธรรมที่บัณฑิตชนทั้งหลำย ควรทำให้เกิดขึ้นเป็นครั้ง
แรกและครั้งหลังๆ ให้ติดต่อกันไปเป็นนิตย์ จนถึงเจริญขึ้นๆ เรื่อยไป ธรรม
นั้นชื่อว่ำ ภำวนำ” ภำวนำมี ๒ ประเภท คือ สมถภำวนำ และ วิปัสนำภำวนำ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
“กิเลเส สเมตีติ กัมโถ” “ธรรมใดมีอำนำจทำให้กิเลส มีกำมฉันทนิวรณ์ เป็นต้น
สงบลงได้ ธรรมนั้นชื่อว่ำ สมถะ”
อำรมณ์สมถภำวนำ
อำรมณ์ คือ อุปกรณ์ในกำรบำเพ็ญสมถะภำวนำ มี ๔๐ อย่ำงคือ
• กสิณ ๑๐
• อสุภ ๑๐
• อนุสติ ๑๐
• อัปปมัญญำ ๔
• อำหำเรปฏิกูลสัญญำ ๑
• จตุธำตุววัตถำน ๑
• อรูปฌำน ๔
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กสิณ ๑๐
- ปฐวีกสิณ (ดินสีแดง), อำโปกสิณ (น้า), เตโชกสิณ (ไฟ), วำโยกสิณ (ลม),
นีลกสิณ (สีเขียว), ปีตกสิณ (สีเหลือง), โลหิตกสิณ (สีแดง), โอทำกสิณ (สี
ขาว), อำกำสกสิณ (อากาศ), อำโลกกสิณ (แสงสว่าง)
อสุภ ๑๐
- อุทธุมำตกอสุภ (ซากศพพอง ตาย ๒-๓ วัน), วินีลกอสุภ (ซากศพน่า
เกลียดมีสีต่างๆ), วิปุพพกอสุภ (ศพมีน้าเหลือง น้าหนอง), วิจฉิททกอสุภ
(ศพขาด ๒ ท่อน), วิกขำยิตกอสุภ (ศพที่มีสัตว์รุมทึ้ง), วิกขิตตกอสุภ (ศพ
อวัยวะแยกส่วน), หตวิกขิตตกอสุภ (ศพถูกฟันด้วยอาวุธ), โลหิตกอสุภ
(ศพเลือดอาบ), ปุฬวกอสุภ (ศพหนอนไต่ตอม), อัฏฐิกอสุภ (ศพที่มีแต่
กระดูก)
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อนุสติ ๑๐
- พุทธำนุสติ, ธัมมำนุสติ, สังฆำนุสติ, สีลำนุสติ, จำคำนุสติ,
เทวตำนุสติ, อุปสมำนุสติ, มรณำนุสติ, กำยคตำสติ*, อำณำ
ปำณสติ**
*มีเฉพำะในพระพุทธศำสนำ
**ผู้เจริญอำณำปำณสติจนได้ฌำน และใช้ฌำนนี้เป็นบำทในกำรเจริญวิปัสสนำต่อจน
บรรลุอรหัตผล จะสำมำรถกำหนดรู้อำยุสังขำรได้
อัปปมัญญำ ๔
- เมตตำอัปปมัญญำ, กรุณำอัปปมัญญำ, มุทิตำอัปปมัญญำ,
อุเบกขำอัปปมัญญำ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำหำเรปฏิกูลสัญญำ ๑
พิจำรณำควำมน่ำเกลียดของอำหำร จนเกิดปัญญำ
หรือ ปริญญำ ๓ คือ ญำตปริญญำ (เห็นทุกข์ในกำร
บริโภค), ตีรณปริญญำ (เห็นควำมเกิดดับของกำร
บริโภค), ปหำนปริญญำ (เห็นควำมลำบำกที่เกิดจำกอำหำร)
จตุธำตุววัตถำน ๑
กำหนดธำตุ ๔ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ ให้เห็นเป็นเพียงกองธำตุหนึ่งๆ
ไม่มี สัตว์ตัวตน บุคคล เรำ เขำ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อรูปฌำน ๔
- อำกำสำนัญจำยตนะ (กำหนดอำกำศเป็นอำรมณ์)
- วิญญำณัญจำรยตนะ (กำหนดวิญญำณเป็นอำรมณ์)
- อำกิญจัญญำยตนะ ( กำหนดภำวะที่ไม่มีอะไรเป็นอำรมณ์)
- เนวสัญญำนำสัญญำยตนะ (กำหนดภำวะที่มีสัญญำก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญำ
ก็ไม่ใช่)
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ผลแห่งสมถะภำวนำ
จะทำสิ่งใด ต้องมีเป้ ำหมำย ต้องรู้ผลแห่งกำร
กระทำ
ผลที่สุดของสมถภำวนำคือ “ฌำน” แต่ อำรมณ์
สมถภำวนำไม่ได้ให้ผลเป็นฌำนหมดทั้ง ๔๐
อำรมณ์
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำรมณ์ที่ให้ได้ฌำน
เปรียบเหมือน “เรือที่จอดนิ่งอยู่ได้ในกระแสน้ำที่เชี่ยวกรำก ด้วยอำนำจถ่อไม้
ไผ่ที่ปักไว้”
มี ๓๐ คือ
• กสิณ ๑๐
• อสุภ ๑๐
• กำยคตำสติ
• อำณำปำณสติ
• อัปปมัญญำ ๔
• อรูปฌำน ๔
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำรมณ์ที่ไม่ได้ให้ถึงฌำน
เปรียบเหมือน “เรือที่ทอดสมออยู่กลำงน้ำลึก”
มี ๑๐ คือ
• อนุสติ ๘ ที่เหลือ
• อำหำเรปฏิกูลสัญญำ
• จตุธำตุววัตถำน
อำรมณ์ทั้ง ๑๐ นี้ ให้เข้ำถึงเพียง อุปจำรภำวนำ ไม่ถึงอัปปนำภำวนำ
(ฌำน)
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำจำรย์เข้ำใจผิด
ภิกษุผู้หนึ่ง ผู้มีพุทธิจริต ปัญญำมำก แต่ไม่มีอำจำรย์สอนกรรมฐำน
บำเพ็ญแต่สมถภำวนำด้วยอำรมณ์พุทโธ โดยเข้ำใจว่ำคือวิปัสสนำ เมื่อมี
ภิกษุฝ่ำยคำมวำสีมำซักถำมก็เกิดโทสะ
กำรบำเพ็ญสมถภำวนำ
ผู้บำเพ็ญสมถภำวนำ ย่อมปรำรถนำซึ่งฌำน หรือกำรเป็น ฌำนลำภี
บุคคล แต่เมื่อบำเพ็ญสมถภำวนำไปเรื่อย ย่อมพบกับอุปสรรคของกำร
ภำวนำ นั่นก็คือ “นิวรณ์”
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
นิวรณ์
“ฌำนำทิก นิวำเรนฺตีติ นิวรณำนิ” “สภำพที่ห้ำมไว้ซึ่งคุณพิเศษ มีฌำนเป็น
ต้น สภำพนั้นชื่อว่ำ นิวรณ์”
โลกิยณำน เมื่อได้แล้ว นิวรณ์เกิดขึ้น ฌำนเสื่อม
โลกุตรฌำน เมื่อได้แล้ว นิวรณ์เกิดขึ้น ฌำนไม่เสื่อม
นิวรณ์ถือว่ำเป็นปฏิปักษ์กับสมำธิ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
นิวรณ์ ลักษณะ องค์ธรรม อุปมำ*
กำมฉันทะ ควำมพอใจในกำมคุณ โลภเจตสิก เจ้ำหนี้ (ไม่เป็นอิสระ)
พยำบำท ควำมไม่พอใจใน
อำรมณ์ต่ำงๆ
โทสเจตสิก โรคภัย
(กระสับกระส่ำย)
ถีนมิทธะ ควำมหดหู่ ท้อถอย ถีนมิทธเจตสิก คุก (ไม่เห็นสิ่งสวยงำม)
อุทธัจจกุกกุจจะ ควำมฟุ้ งซ่ำนรำคำญใจ อุทธัจจกุกกุจจะเจตสิก ทำส (ถูกเจ้ำนำยใช้ให้
วิ่งวุ่น)
วิจิกิจฉำ ควำมสงสัยในคุณของ
พระรัตนตรัย
วิจิกิจฉำเจตสิก ทำงกันดำร (เดินไป
ด้วยควำมหวำดหวั่น)
*ในคัมภีร์ สุมังคลำวิลำสินีอรรถกถำ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ปฐมฌำน
สมถภำวนำ บำเพ็ญโดยกำรบริกรรมไปเรื่อย จนนิวรณ์สงบลง เข้ำอุปจำร
ภำวนำ
ถ้ำเป็น ติกขบุคคล (ผู้มีปัญญำกล้ำ) ก็สำมำรถบรรลุปฐมฌำนได้โดยง่ำย
ถ้ำเป็น มันทบุคคล (ผู้มีปัญญำน้อย) ก็สำมำรถบรรลุปฐมฌำนได้ แต่ช้ำ
Note: ระหว่ำงที่ได้ปฏิภำคนิมิตในอุปจำรภำวนำ ให้พึงระวังรักษำสมำธิ
ให้ดี ดุจดังพระรำชินีระวังรักษำครรภ์ แห่งบุตรผู้จะเกิดมำเป็นใหญ่
ลักษณะของปฐมฌำน - มีวิตก วิจำร ปีติ และสุข จำกสมำธิ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ทุติยฌำน
เมื่อบุคคลได้เข้ำถึงปฐมฌำนแล้ว ก็สำมำรถข่มกิเลสให้สงบลงได้ มีสมำธิ
กล้ำ เป็นฌำนลำภีบุคคล (ผู้ได้ถึงฌำน) จะต้องบำเพ็ญปฐมฌำนชวนะให้
เกิดต่อเนื่อง ๑-๗ วัน เพื่อเป็นฐำนแก่กำรฝึกวสีภำวะ ๕ (ฌำนขั้นสูงต้องมี
วสีภำวะ)
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
วสีภำวะ
๑. อำวัชชนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถพิจารณาองค์ฌาน
๒. สมำปัชชนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถในการเข้าฌานเวลาใดก็ได้
๓. อธิษฐำนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถกาหนดเวลาในการเข้าฌาน
๔. วุฏฐำนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถในการกาหนดเวลาในการออกจาก
ฌาน
๕. ปัจจเวกขณวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถพิจารณาองค์ฌานแห่งชวนะ
เมื่อออกจากฌานแล้ว
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ทุติยฌำน (ต่อ)
เมื่อบุคคลได้ฝึกวสีภำวะจนชำนำญ เข้ำปฐมฌำน ออกปฐมฌำน
พิจำรณำว่ำปฐมฌำนนี้ใกล้นิวรณ์ยิ่งนัก ไม่ประณีต เสื่อมได้ง่ำย
เมื่อพิจำรณำจนเกิดควำมเบื่อหน่ำย ก็บำเพ็ญภำวนำทั้ง ๓ ลำดับ
บริกรรมภำวนำ เข้ำถึงอุปจำรภำวนำ และอัปปนำภำวนำ ทุติยฌำนจะ
เกิดขึ้น
ลักษณะของทุติยฌำน - ไม่มีวิตก วิจำร มีแต่ปีติ และสุข จำกสมำธิ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ตติยฌำน
เมื่อบุคคลมีวสีภำวะ เข้ำทุติยฌำน ออกทุติยฌำน พิจำรณำว่ำทุติยฌำนนี้
ใกล้ปฐมฌำนยิ่งนัก ไม่ประณีต เสื่อมได้ง่ำย
เมื่อพิจำรณำจนเกิดควำมเบื่อหน่ำย ก็บำเพ็ญภำวนำทั้ง ๓ ลำดับ
บริกรรมภำวนำ เข้ำถึงอุปจำรภำวนำ และอัปปนำภำวนำ ตติยฌำนจะ
เกิดขึ้น
ลักษณะของทุติยฌำน – มีอุเบกขำ สติ สัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนำม
กำย เพรำะปีตืสิ้นไป
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
จตุตถฌำน
เมื่อบุคคลมีวสีภำวะ เข้ำตติยฌำน ออกตติยฌำน พิจำรณำว่ำตติยฌำนนี้
ใกล้ทุติยฌำนยิ่งนัก ไม่ประณีต เสื่อมได้ง่ำย
เมื่อพิจำรณำจนเกิดควำมเบื่อหน่ำย ก็บำเพ็ญภำวนำทั้ง ๓ ลำดับ
บริกรรมภำวนำ เข้ำถึงอุปจำรภำวนำ และอัปปนำภำวนำ ไม่มีทุกข์ ไม่มี
สุข ดับโทมนัส และ โสมนัส จตุตถฌำนจะเกิดขึ้น
ลักษณะของจตุตถฌำน – มีอุเบกขำ อันเป็นเหตุให้เกิดสติบริสุทธ์อยู่
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
รูปฌำนสูงสุด คือรูปฌำน ๔ หรือ รูปฌำน ๕ ?
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฌำน ๒ นัย
๑. ปัญจกนัย – เกิดแก่บุคคลผู้มีปัญญำ
น้อย ฌำนแรก (ปฐมฌำน) จึงมีวิตก
อย่ำงเดียวเป็นองค์ฌำน
๒. จตุกนัย – เกิดแก่บุคคลผู้มีปัญญำ
มำก ฌำนแรก (ปฐมฌำน) จึงมีวิตก
และวิจำร เป็นองค์ฌำน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฌำน ปัญจกนัย (เกิดแก่มันทบุคคล) จตุกนัย (เกิดแก่ติกขบุคคล)
ปฐมฌำน มี วิตก วิจำร ปีติ สุข เอกัคคตำ มี วิตก วิจำร ปีติ สุข เอกัคคตำ
ทุติยฌำน มี วิจำร ปีติ สุข เอกัคคตำ มี ปีติ สุข เอกัคคตำ
ตติยฌำน มี ปีติ สุข เอกัคคตำ มี สุข เอกัคคตำ
จตุตถฌำน มี สุข เอกัคคตำ มี อุเบกขำเอกัคคตำ
ปัญจมฌำน มี อุเบกขำเอกัคคตำ
*อักษรสีแดง คือ องค์ธรรม ของแต่ละฌำน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฌำน - อภิญญำ
ผลแห่งสมถภำวนำในเบื้องต้นคือ รูปฌำน บุคคลผู้ได้
รูปฌำนแล้ว เรียกว่ำ ฌำนลำภีบุคคล
ฌำนลำภีบุคคลที่เคยได้อภิญญำมำก่อน หรือเคย
บำเพ็ญกุศล และอธิษฐำนจิตให้ได้อภิญญำ ก็จะได้
อภิญญำในขั้นนี้ แต่หำกฌำนลำภีบุคคลผู้นั้นไม่เคยได้
อภิญญำ หรืออธิษฐำนมำก่อน ก็จะต้องบำเพ็ญสมถ
ภำวนำต่อไปให้ได้เข้ำถึงอรูปฌำนก่อน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำกำสำนัญจำยตนฌำน
เมื่อได้จตุตถฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ กำยนี้น่ำ
รังเกียจ หรือ อภิญญำนี้เป็นสิ่งไม่ประณีต
ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนำญ เมื่อออกจำกรูปฌำนก็ถือเอำอำกำศเป็น
อำรมณ์ บริกรรม “อำกำโส อนนฺโต อำกำโส อนนฺโต ......” ไปเรื่อยๆ จน
จิตสงบเข้ำสู่อำกำสำนัญจำยตนฌำน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
วิญญำณัญจำยตนฌำน
เมื่อได้อำกำสำนัญจำยตนฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ
อำกำสำนัญจำยตนฌำนเป็นสิ่งไม่ประณีต อยู่ใกล้ รูปฌำน เสื่อมได้ง่ำย
ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนำญ เมื่อออกจำกอำกำสำนัญจำยตนฌำนก็ถือเอำ
วิญญำณเป็นอำรมณ์ บริกรรม “วิญญำณ อนนฺต......” ไปเรื่อยๆ จนจิต
สงบเข้ำสู่วิญญำณัญจำยตนฌำน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำกิญจัญญำยตนฌำน
เมื่อได้วิญญำณัญจำยตนฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ
วิญญำณัญจำยตนฌำนเป็นสิ่งไม่ประณีต อยู่ใกล้ อำกำสำนัญจำยตน
ฌำนเสื่อมได้ง่ำย
ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนวญ เมื่อออกจำกวิญญำณัญจำยตนฌำนก็บริกรรม
“นตฺถิ กิญฺจิ นตฺถิ กิญฺจิ ......” ไปเรื่อยๆ ถือเอำภำวะที่ไม่มีอะไร เป็น
อำรมณ์ จนจิตสงบเข้ำสู่อำกิญจัญญำยตนฌำน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
เนวสัญญำนำสัญญำยตนฌำน
เมื่อได้อำกิญจัญญำยตนฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ
อำกิญจัญญำยตนฌำนเป็นสิ่งไม่ประณีต อยู่ใกล้ วิญญำณัญจำยตนฌำน
เสื่อมได้ง่ำย
ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนวญ เมื่อออกจำกอำกิญจัญญำยตนฌำนก็
บริกรรม “เอตํ สนฺติ เอตํ สนฺติ......” ไปเรื่อยๆ ถือเอำภำวะที่มี
สัญญำก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญำก็ไม่ใช่ เป็นอำรมณ์ จนจิตสงบเข้ำสู่
เนวสัญญำนำสัญญำยตนฌำน
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
องค์ฌำนของอรูปฌำน
อรูปฌำนทั้ง ๔ มีองค์ฌำนคือ อุเบกขำ
เอกัคคตำ เหมือนกันทุกฌำน
แต่ อรูปฌำนระดับสูง จะมีคุณธรรม ควำม
ละเอียดประณีตมำกกว่ำอรูปฌำนระดับ
ต่ำลงมำ เปรียบดังปรำสำท ๔ ชั้น ที่มีกำร
ประดับตกแต่งสวยงำมในทุกๆชั้น แต่ชั้น
บนสุดย่อมตกแต่งได้อย่ำงสวยงำม และ
ประณีตที่สุด
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อภิญญำ
“วิเสสโต ชำนำตีติ อภิญฺญำ” “ปัญญำใดย่อมสำมำรถรู้ในอำรมณ์ต่ำงๆ
เป็นพิเศษฉะนั้น ปัญญำนั้นชื่อว่ำ อภิญญำ”
ผลของฌำนสูงสุดในชำติปัจจุบันคือ อภิญญำลำภีบุคคล
อภิญญำเกิดแก่ผู้ใด?
เกิดแก่ฌำนลำภีบุคคล ผู้เจริญสมถภำวนำมำ
โดยใช้กสิณเป็นอำรมณ์เท่ำนั้น (เพรำะเป็น
สมำธิที่แก่กล้ำที่สุด)
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อภิญญำมี ๒ ประเภท
๑. โลกียอภิญญำ
๒. โลกุตรอภิญญำ
*ผู้ที่บำเพ็ญแต่สมถภำวนำล้วนๆ จะได้
เพียงแค่โลกียอภิญญำเท่ำนั้น
โลกุตรอภิญญำจะเกิดได้ด้วยวิปัสนำ
ภำวนำ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
โลกิยอภิญญำ ๕
๑. อิทธีวิธอภิญญำ – อธิษฐานอิทธี (ดาดิน, แยกร่าง, เหาะ, หายตัว), วิฤพพนาอิทธี (เนรมิตสิ่ง
ต่างๆได้) และ มโนมยิทธิ (อิทธิฤทธิ์ที่สาเร็จด้วยใจ)
๒. ทิพพโสตอภิญญำ – หูทิพย์เหมือนเทวดา พรหม ได้ยินทุกสิ่งที่ต้องการฟัง ถ้าต้องการรู้
ความหมายต้องอธิษฐานปรจิตตวิชานนอภิญญา
๓. ปรจิตตวิชำนนอภิญญำ – รู้ใจผู้อื่น แรกๆทาโดยดูสีโลหิตในหัวใจ เมื่อชานาญก็ไม่ต้องดูสีโลหิต
สามารถดูใจได้เลย
๔. ปุพเพนิวำสำนุสติอภิญญำ – ระลึกชาติที่ตนเคยเกิดมาได้ วาสนาบารมีมาก ก็ย้อนระลึกได้
จานวนชาติมาก
๕. ทิพจักขุอภิญญำ – ตาทิพย์เหมือนเทวดา เห็นได้ทุกอย่างที่ต้องการเห็น จุตูปปาตอภิญญา (เห็น
การตายและเกิดแห่งสัตว์ทั้งหลาย), ยถากัมมูปคอภิญญา (เห็นภาวะที่สัตว์ไปเกิดตามกรรมของ
ตน) และ อาคตังสอภิญญา (เห็นเหตุการณ์ในภายภาคหน้า)
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ข้อคิดเรื่องอภิญญำ
• เมื่อเข้ำในถึงผลที่สุดของกำรบำเพ็ญสมถภำวนำที่จะได้ในชำตินี้ ซึ่งคือ
อภิญญำ นี้แล้ว ก็จะเข้ำใจว่ำ เรื่องเล่ำต่ำงๆเกี่ยวกับปำฏิหำริย์เกิดขึ้นได้อย่ำงไร
• ควรพึงระลึกไว้ว่ำ อภิญญำสำมำรถเสื่อมได้ หำกเป็นปุถุชนที่มีฤทธิ์ ก็ยังต้อง
บำเพ็ญเพียรเพื่อรักษำไว้ ดังเช่นตัวอย่ำงเรื่อง ฤำษีผู้มีฤทธิ์ ในคัมภีร์เอกนิบำต
อรรถกถำ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฤำษีผู้มีฤทธิ์
ครั้งหนึ่งเมื่อพระพุทธเจ้ำยังทรงบำเพ็ญบำรมีเป็นพระโพธิสัตว์อยู่นั้น ได้เคยเป็นฤำษีผู้สละ
ทรัพย์มำกมำยออกบวชบำเพ็ญเพียรจะได้อิทธิฤทธิ์อภิญญำ
วันหนึ่งพระรำชำมำพบ เกิดควำมเลื่อมใส เชิญเข้ำไปอยู่วัง ก็บำเพ็ญเพียรไปด้วยดี
มำวันหนึ่งเมื่อเหำะอยู่บังเอิญได้ไปเห็นนำงมุทุลักขณำ (พระมเหสี) ผ้ำผ่อนหลุดลุ่ย ฌำนจึง
เสื่อมตกจำกอำกำศ
พระรำชำทรำบว่ำฤำษีหลงรักนำงมุทุลักขณำ ก็ยกนำงให้พระฤำษี
นำงมุทุลักขณำบอกให้ฤำษีไปขอบ้ำนจำกพระรำชำ และย้ำยไปอยู่ด้วยกัน
ฤำษีถูกนำงมุทุลักขณำใช้ให้ทำควำมสะอำดบ้ำน หำข้ำวหำน้ำ ทำกิจของฆำรวำสต่ำงๆวุ่นวำย
จึงได้สติ และกลับไปบำเพ็ญเพียร จะได้ฌำนและอภิญญำคืนกลับมำ
*จากคัมภีร์เอกนิบาตอรรถกถา
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
มุ่งหน้ำสู่พรหมโลก
ผลที่สุดของสมถภำวนำในชำตินี้คือ ฌำน
ผลที่สุดของสมถภำวนำในชำติถัดไปคือ พรหม
โลก
*จะบังเกิดในพรหมโลกชั้นใด ขึ้นกับระดับของ
ฌำนที่ได้บรรลุ
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฌำน ระดับ ชั้นพรหมที่จุติ อำยุขัย
ปฐมฌำน
ปริตตะ พรหมปำริสัชชำภูมิ ๑ ใน ๓ มหำกัป
มัชฌิมะ พรหมปุโรหิตำภูมิ ครึ่งมหำกัป
ปณีตะ มหำพรหมำภูมิ ๑ มหำกัป
ทุติยฌำน
ปริตตะ ปริตตำภำภูมิ ๒ มหำกัป
มัชฌิมะ อัปปมำณำภำภูมิ ๔ มหำกัป
ปณีตะ อำภัสสรำภูมิ ๘ มหำกัป
ตติยฌำน
ปริตตะ ปริตตสุภำภูมิ ๑๖ มหำกัป
มัชฌิมะ อัปปมำณสุภำภูมิ ๓๒ มหำกัป
ปณีตะ สุภกิณหำภูมิ ๖๔ มหำกัป
*จำกพระคัมภีร์ธัมมหทยวิภังค์
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฌำน ระดับ ชั้นพรหมที่จุติ อำยุขัย
จตุตถฌำน
จตุตถฌำนอย่ำงเดียว
ล้วนๆ
เวหัปผลำภูมิ ๕๐๐ มหำกัป
จตุตถฌำนที่มีควำม
เบื่อหน่ำยจิต
อสัญญสัตตำภูมิ (พรหมลูก
ฟัก)
๕๐๐ มหำกัป
จตุตถฌำนและเป็น
พระอนำคำมี จะ
บังเกิดเป็นพรหม ณ
สุทธำวำสพรหมโลก
อวิหำภูมิ ๑,๐๐๐ มหำกัป
อตัปปำภูมิ ๒,๐๐๐ มหำกัป
สุทัสสำภูมิ ๔,๐๐๐ มหำกัป
สุทัสสีภูมิ ๘,๐๐๐ มหำกัป
อกนิฏฐำภูมิ ๑๖,๐๐๐ มหำกัป
*จำกพระคัมภีร์ธัมมหทยวิภังค์
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ฌำน ระดับ ชั้นพรหมที่จุติ อำยุขัย
อรูปฌำน (จะไป
บังเกิด ณ อรูป
พรหมโลก)
อำกำสำนัญจำยตน
ฌำน
อำกำสำนัญจำยตนภูมิ ๒๐,๐๐๐ มหำกัป
วิญญำณัญจำยตน
ฌำน
วิญญำณัญจำยตนภูมิ ๔๐,๐๐๐ มหำกัป
อำกิญจัญญำยตน
ฌำน
อำกิญจัญญำยตนภูมิ ๖๐,๐๐๐ มหำกัป
เนวสัญญำนำ
สัญญำยตนฌำน
เนวสัญญำนำสัญญำยตนภูมิ ๘๔,๐๐๐ มหำกัป
*จำกพระคัมภีร์ธัมมหทยวิภังค์
๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ)
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สรุปสมถภำวนำ
๑.) สมถภำวนำเป็นกำรบำเพ็ญเพื่อให้กิเลสทั้งหลำยสงบระงับไป
๒.) กำรบำเพ็ญสมถภำวนำต้องใช้อำรมณ์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งในอำรมณ์ ๔๐ (กสิณ
๑๐, อสุภ ๑๐, อนุสติ ๑๐, อัปปมัญญำ ๔, อรูปฌำน ๔, อำหำเรปฏิกูลสัญญำ,
ธำตุ ๔)
๓.) ผลในชำติปัจจุบันของสมถภำวนำคือ ฌำน แบ่งเป็นรูปฌำน และอรูปฌำน ผู้
ได้บรรลุอรูปฌำน สำมำรถอธิษฐำนให้สำเร็จได้ซึ่ง อภิญญำ
๔.) ผลในชำติหน้ำของสมถภำวนำคือ กำรไปอุบัติเกิดเป็นพระพรหม ณ พรหม
โลกชั้นต่ำงๆ ตำมอำนำจแห่งฌำนที่ตนได้บรรลุ
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
วิปัสสนำเป็นภำวนำกรรมประเภทสูงสุด วิเศษสุด ซึ่ง
มีเฉพำะในพระพุทธศำสนำเท่ำนั้น แต่ก็ยังมีผู้เข้ำใจ
ผิดเกี่ยวกับวิปัสสนำอยู่มำกมำย เพรำะเป็นเรื่อง
ซับซ้อน
ก่อนจะทำควำมเข้ำใจกับควำมหมำยของคำว่ำ
“วิปัสสนำ” ควรทำควำมเข้ำใจกับคำว่ำ “วัฏสงสำร”
และ “กิเลส ตัณหำ” เสียก่อน
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
วัฏสงสำร
วัฏสงสำร คือ กำรท่องเที่ยวเวียนเกิดเวียนตำยอยู่ในโลกอย่ำงไม่
มีที่สิ้นสุด วัฏสงสำรมี ๓ ประเภทใหญ่ๆ
๑. เหฏฐิมสงสำร – ภูมิเบื้องต่ำทั้ง ๔ คือ นรก เปรต อสุรกำย
และ เดรัจฉำน
๒. มัชฌิมสงสำร – ภูมิชั้นกลำงทั้ง ๗ คือ มนุษย์ และเทวโลก
ทั้ง ๖ ชั้น
๓. อุปริมสงสำร – ภูมิชั้นสูงทั้ง ๒๐ คือ พรหมโลกทั้ง ๒๐ ชั้น
*ปุถุชนย่อมต้องเวียนว่ำยตำยเกิดวนอยู่ในภพภูมิเหล่ำนี้ไม่มีที่
สิ้นสุด ตรำบเท่ำที่มีกิเลส
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ทัณฑสูตร
(เปรียบเทียบกำรเวียนว่ำยในวัฏสงสำร)
พระพุทธเจ้ำทรงตรัสสอนภิกษุทั้งหลำยว่ำ วัฏสงสำรเป็นสิ่งที่หำเบื้องต้น
เบื้องปลำยไม่ได้ เมื่อเหล่ำสัตว์ยังมีอวิชชำ และกิเลสตัณหำอยู่
เปรียบเหมือนท่อนไม้ที่โยนขึ้นอำกำศ บำงครำวก็ตกลงทำงโคน บำงครำว
ก็ตกลงทำงขวำง เหมือนสัตว์ทั้งหลำยที่ต้องท่องเที่ยวไป จำกโลกอื่นสู่
โลกนี้ จำกโลกนี้สู่โลกอื่น ไม่มีที่สิ้นสุด
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖, พระสุตตันตปิฎก, สังยุตตนิกาย, นิทานวรรค
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ปฐวีสูตร
(แสดงถึงควำมยำวนำนแห่งวัฏสงสำร)
พระพุทธเจ้ำทรงเปรียบเทียบควำมยำวนำนแห่งวัฏสงสำร ว่ำบุรุษผู้หนึ่ง
ปั้นดินเป็นก้อนเท่ำเม็ดกระเบำทีละก้อน และสมมติว่ำ “นี่คือบิดำของเรำ
นี่คือบิดำของเรำ......” ไปเรื่อยๆ ยังไม่สิ้นสุด จนมหำปฐพีนี้สิ้นสุดไปก่อน
คือควำมยำวนำนแห่งสังสำรวัฏ ที่สมควรแก่กำรเบื่อหน่ำย คลำยกำหนัด
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖, พระสุตตันตปิฎก, สังยุตตนิกาย, นิทานวรรค
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ติงสมัตตำสูตร
(แสดงถึงควำมยำวนำนแห่งวัฏสงสำร)
พระพุทธเจ้ำทรงแสดงธรรมแก่หมู่ภิกษุผู้อยู่ป่ำเป็น
วัตร เที่ยวบิณฑบำตเป็นวัตร แต่ยังไม่หมดสัญโญชน์
โดยเปรียบว่ำ โลหิตที่หลั่งไหลออกมำจำกผู้ที่
ท่องเที่ยวในสังสำรวัฏนี้ มีมำกกว่ำน้ำในมหำสมุทร
ทั้ง ๔
เปรียบให้เห็นควำมยำวนำนของสังสำรวัฏนี้ ที่น่ำเบื่อ
หน่ำย และคลำยกำหนัด เพื่อควำมหลุดพ้น
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖, พระสุตตันตปิฎก, สังยุตตนิกาย, นิทานวรรค (ฉบับมจร.เรียก ติงสมัตตสูตร)
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒
วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
เหตุใดหนอ สัตว์
ทั้งหลำยจึงต้องวนเวียน
ตำยเกิดอยู่ในสังสำรวัฏ
อันน่ำเบื่อนี้?
เพรำะกิเลสตัณหำนั่นเอง
ผูกพันสัตว์ทั้งหลำยให้ติด
ข้องอยู่ในวัฏสงสำรนี้
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กิเลส
“กิเลเสนฺติ อุปตำเปนฺตีติ กิเลสำ” “ธรรมชำติใด มีสภำพเศร้ำหมองเร่ำ
ร้อน และยังสัมปยุตธรรมให้เศร้ำหมองเร่ำร้อน ธรรมชำตินั้นชื่อว่ำ กิเลส”
กิเลสเกิดร่วมกับจิตหรือเจตสิกอื่นใด ก็ทำให้จิตและเจตสิกนั้นเร่ำร้อนไป
ด้วย
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒
วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กิเลส ๑๐ ประกำร
๑. ทิฐิกิเลส
๒. วิจิกิจฉำกิเลส
๓. โลภกิเลส
๔. โทสกิเลส
๕. โมหกิเลส
๖. มำนกิเลส
๗. ถีนกิเลส
๘. อุทธัจจกิเลส
๙. อหิริกกิเลส
๑๐. อโนตัปปกิเลส
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กิเลส ๑๕๐๐ ตัณหำ ๑๐๘
กิเลส ๑๕๐๐
อำรมณ์ที่ให้กิเลสยึดมี ๓ คือ จิต ๑ เจตสิก ๑ รูป ๑
จิตทั้งหมดทุกดวงนับเป็น ๑ เพรำะมีธรรมชำติรู้อำรมณ์เหมือนกัน
เจตสิกนับเป็น ๕๒ ดวง ตำมลักษณะที่แตกต่ำงกัน
รูปที่เป็นอำรมณ์ของกิเลสมี ๒๒
รวมสภำพธรรมที่เป็นอำรมณ์กิเลสมี ๗๕ (๑+๔๒+๒๒)
กิเลสหลักใหญ่ ๑๐ ประกำร ย่อมจับสภำพธรรมที่เป็นกิเลสนี้ รวมเป็น ๗๕๐ (๗๕
คูณ ๑๐)
กิเลสที่จับอำรมณ์ภำยใน ๗๕๐ + กิเลสที่จับอำรมณ์ภำยนอก ๗๕๐ = ๑๕๐๐
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑, พระสุตตันตปิฎก,อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กิเลส ๑๕๐๐ ตัณหำ ๑๐๘ (ต่อ)
ตัณหำ ๑๐๘
• ตัณหำหลักมี ๓ คือ กำมตัณหำ ภวตัณหำ วิภวตัณหำ
• ตัณหำทั้งหลำยต้องอำศัยทวำรทั้ง ๖ ในกำรปรำกฏ แต่ละทวำรมีทั้งที่เป็น
ปัจจุบัน อดีต และอนำคตกำล จำแนกตำมอำรมณ์และกำล ตัณหำแต่ละ
อย่ำงนับได้ ๑๘ (๖ คูณ ๓)
• อำรมณ์ที่เป็นเหตุให้เกิดตัณหำมีทั้งอำรมณ์ภำยใน ๑ ภำยนอก ๑ ดังนั้น
ตัณหำแต่ละอย่ำงจึงนับได้ ๓๖ (๑๘ คูณ ๒)
• รวมเป็นตัณหำ ๑๐๘ (๓๖ คูณ ๓)
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑, พระสุตตันตปิฎก,อังคุตตร
นิกาย จตุกกนิบาต
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
กิเลส ๑๕๐๐ ตัณหำ ๑๐๘ (ต่อ)
จำนวนของกิเลสตัณหำที่ว่ำมำก ยังไม่เท่ำควำมร้ำยกำจของมัน ที่มำกมำย
กว่ำอย่ำงเทียบไม่ได้
• แม้ไฟนรกที่เป็นยอดแห่งควำมร้อน ยังไม่สำมำรถเผำกิเลสให้มอดไหม้ไป
ได้
• แม้น้ำกรดที่เป็นยอดแห่งควำมเย็น ยังไม่สำมำรถกัดกิเลสให้สลำยไปได้
• แม้เทวดำผู้เสวยสุขอยู่บนเทวโลก ยังไม่สำมำรถใช้ควำมสุขนั้นลบล้ำงกิเลส
ได้
• แม้พระพรหมผู้เสวยสุขสงบที่ประณีตที่สุด ยังไม่สำมำรถใช้ควำมสงบจำก
ฌำนนั้น ประหำรหักกิเลสไปจำกใจได้
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑, พระสุตตันตปิฎก,อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
หนทำงประหำรกิเลส
หลักปฏิบัติทั่วไปของชำวพุทธโดยย่อ คือ ทำน ศีล ภำวนำ โดยทรำบกันดีแล้ว
ว่ำ ทำน และ ศีล ให้ผลที่สุดในชำติหน้ำถึงแค่สวรรค์สมบัติเท่ำนั้น
ภำวนำ นั้นนับเป็นหลักปฏิบัติขั้นสูง เฉพำะส่วนของ สมถภำวนำ ก็ให้ผลที่สุด
ในชำตินี้คือ ฌำน และ อภิญญำ และผลที่สุดในชำติหน้ำคือไปบังเกิดเป็น
พระพรหม ยังไม่สำมำรถประหัตประหำรกิเลสลงได้
ผู้ที่ต้องกำรประหำรกิเลสให้สิ้นซำก เพื่อออกจำกวัฏสงสำรนั้น ต้องศึกษำและ
บำเพ็ญ “วิปัสสนำภำวนำ”
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
วิปัสสนำ
“ปญฺจกฺขนฺเธสุ วิวิเธน อนิจฺจำทิ อำกำเรน ปสูสตีติ วิปสฺสนำ” “ธรรมชำติใด
ย่อมเห็นแจ้งในขันธ์ ๕ หรือ รูปนำม โดยประกำรต่ำงๆคือ โดยอำกำรที่เป็น
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ ธรรมชำตินั้น เรียกชื่อว่ำ วิปัสสนำ”
“วิเสเสน ปสฺสตีติ วิปสฺสนำ” “ปัญญำที่สำมำรถรู้เห็นรูปนำม โดยอำกำรต่ำงๆ
เป็นพิเศษ เรียกว่ำ วิปัสสนำ”*
*จำกคัมภีร์ ปรมัตถทีปนีฎีกำ
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อำรมณ์วิปัสสนำภำวนำ
อำรมณ์หรือเครื่องมือในกำรบำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำมีเพียงอย่ำงเดียวคือ
“ขันธ์ ๕” ซึ่งได้แก่
๑. รูปขันธ์
๒. เวทนำขันธ์
๓. สัญญำขันธ์
๔. สังขำรขันธ์
๕. วิญญำณขันธ์
รูป
นำม
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
มุ่งหน้ำสู่โลกุตรภูมิ
เมื่อบุคคลมีปัญญำเห็นภัยในวัฏสงสำร ก็จะมีควำม
ประสงค์ที่จะประหำรกิเลสที่ติดแน่นอยู่ในจิตตน โดยเริ่ม
ปฏิบัติวิปัสสนำภำวนำ ถือเอำขันธ์ ๕ (รูปนำม) เป็น
อำรมณ์ จนอินทรีย์ทั้ง ๕* แก่กล้ำ และสมดุล สภำวะ
แห่งวิปัสสนำญำณก็จักบังเกิดแก่บุคคลนั้น และนำพำ
บุคคลนั้นบรรลุถึง โลกุตรภูมิ (ภูมิที่พ้นจำกโลก)
*อินทรีย์ ๕ คือ สัทธนทรีย์, วิริยินทรีย์, สตินทรีย์, สมำธินทรีย์
และ ปัญญินทรีย์
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
โลกุตรภูมิ
ภูมิที่พ้นจำกโลก มี ๔ ลำดับดังนี้
๑. โสตำปันนโลกุตรภูมิ
๒. สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ
๓. อนำคำมีโลกุตรภูมิ
๔. อรหัตโลกุตรภูมิ
ผู้บรรลุโลกุตรภูมิแต่ละขั้น สำมำรถประหำรกิเลสตัณหำให้หมดไปได้เป็น
ลำดับๆ จนหมดสิ้นไปในขั้นอรหัตโลกุตรภูมิ
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
โสตำปันโลกุตรภูมิ
เป็นพระอริยบุคคลขั้นแรกในพุทธศำสนำ
เมื่อผู้เห็นภัยในวัฏสงสำรได้บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ โดยถือเอำขันธ์ ๕ (รูป
นำม) เป็นอำรมณ์ไปอย่ำงต่อเนื่อง จนอินทรีย์ทั้ง ๕ แก่กล้ำและสมดุลกันดี
“สภำวญำณ” ก็จะเกิดขึ้น
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ
๑.) นำมรูปปริจเฉทญำณ – เกิดปัญญำ รู้แจ่มแจ้งว่ำอะไรเป็นรูป อะไรเป็น
นำม รูปกับนำมเหมือนหรือต่ำงกันอย่ำงไร
๒.) ปัจจยปริคคหญำณ – เกิดปัญญำ รู้ในเหตุปัจจัยหรือเหตุผลแห่งรูปนำม
๓.) สัมมสนญำณ – เกิดปัญญำรู้รูปนำม โดยอำกำรที่ปรำกฏเป็นไตรลักษณ์
(อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ)*
*ญำณที่ไตรลักษณ์จะปรำกฏ จะเกิดทุกขเวทนำอย่ำงหนักแก่ผู้บำเพ็ญ ทำให้บำงท่ำนที่ไม่
เข้ำใจ อำจล้มเลิกกำรบำเพ็ญเพียรไป เนื่องจำกทุกขเวทนำอันรุนแรงนี้
**ปัญญำที่เกิดในญำณ หมำยควำมถึง ภำวนำมยปัญญำเท่ำนั้น
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
๔.) อุทยัพพยญำณ – เกิดปัญญำกำหนดรู้ควำมเกิดดับแห่งรูปนำม
ในญำณนี้จะเกิดวิปัสสนูปกิเลส (ธรรมเครื่องเข้ำไปทำให้วิปัสสนำเศร้ำหมอง)
มีอยู่ ๑๐ ประกำรคือ โอภำส (แสงสว่าง), ญำณ (ปัญญาจากวิปัสสนา), ปีติ,
ปัสสัทธิ (ความสงบกายใจ), สุข, อธิโมกข์ (ศรัทธากล้า), ปัคคำหะ (ความเพียร),
อุปัฏฐำนะ (สติอันว่องไว), อุเบกขำ และ นิกันติ (ความติดใจในคุณวิเศษทั้ง ๙
ประการนี้)
*หำกติดอยู่ในวิปัสสนูปกิเลสนี้ ก็จะไม่สำมำรถบำเพ็ญวิปัสสนำต่อไปได้
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
๕.) ภังคญำณ – เกิดปัญญำกำหนดรู้ควำมแตกสลำยไปแห่งรูปนำม
ในขั้นนี้อำจจะได้เห็น อุปฺปำทนิโรธ ซึ่งเป็นควำมดับที่ยังมีโอกำสเกิดขึ้นอีก
ยังไม่ใช่เป็นควำมดับที่แน่แท้ จึงต้องมีสติ และบำเพ็ญเพียรต่อไป
๖.) ภยญำณ – เกิดปัญญำเห็นรูปนำมเป็นภัยที่น่ำกลัว
๗.) อำทีนวญำณ – เกิดปัญญำกำหนดเห็นโทษแห่งรูปนำม
๘.) นิพพิทำญำณ – เกิดปัญญำกำหนดรู้ควำมเบื่อหน่ำยในรูปนำม
๙.) มุญจิตุกัมยตำญำณ - ญำณปรำรถนำใคร่หลุดพ้นไปจำกรูปนำม
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
๑๐.) ปฏิสังขำญำณ – ญำณที่พิจำรณำรูปนำมโดยไตรลักษณ์อีกครั้งหนึ่ง
(ครั้งแรกในญำณที่ ๓ คือ สัมมสนญำณ) ครั้งนี้พิจำรณำด้วยปัญญำกล้ำกว่ำ
ครั้งแรก ต้องพิจำรณำเพรำะไตรลักษณ์เปรียบเหมือนประตูสู่นิพพำน
ทุกขเวทนำในสัมมสนญำณ
– มำกแห่ง แต่ไม่รุนแรงมำก
ทุกขเวทนำในปฏิสังขำญำณ
– น้อยแห่ง แต่รุนแรงมำก
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
๑๑.) สังขำรุเบกขำญำณ – ญำณที่วำงเฉยในรูปนำม เพรำะเห็นชัดแจ้งด้วย
ปัญญำแล้ว ว่ำรูปนำมนี้ไม่มีอะไรที่จะยึดถือเอำเป็นที่พึ่งได้
๑๒.) อนุโลมญำณ – เป็นญำณที่เห็นพ้องต้องกันกับวิปัสสนำญำณเบื้องต้น
ทั้ง ๘ ตั้งแต่อุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณ
๑๓.) โคตรภูญำณ – ญำณที่เข้ำสู่ภูมิแห่งพระอริยะ ก้ำวล่วงจำกโคตรแห่ง
ปุถุชน
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
๑๔.) มรรคญำณ - หลังจำกโคตรภูญำณแล้ว ก็จะถึง
จุดมุ่งหมำยของกำรบำเพ็ญวิปัสสนำ นั่นก็คือ “มรรค
ญำณ” ซึ่งเป็นญำณอันประเสริฐ
แต่ก่อนจะศึกษำรำยละเอียดของ “มรรคญำณ” ควร
ทำควำมเข้ำใจใน “วุฏฐำนคำมินีวิปัสสนำ” เสียก่อน
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
วุฏฐำนคำมินีวิปัสสนำ
คือ ตัววิปัสสนำที่จะเข้ำไปสู่มรรคญำณ บุคคลจะเข้ำถึงพระนิพพำนในทำงใด ขึ้นอยู่กับ
บำรมีที่ได้สั่งสมมำ
ลักษณะอินทรีย์ที่แก่กล้ำ ไตรลักษณ์ที่ชัดแจ้ง วิธีกำรเข้ำสู่มรรค
ผู้ที่มีสัทธินทรีย์แก่กล้ำ เห็นอนิจจลักษณ์ชัดแจ้งที่สุด อนิมิตตวิโมกข์ (เข้ำสู่มรรคทำงอนิจ
ลักษณ์)
ผู้ที่มีสมำธินทรีย์แก่กล้ำ เห็นทุกขลักษณ์ชัดแจ้งที่สุด อัปปณิปิตวิโมกข์ (เข้ำสู่มรรคทำง
ทุกขลักษณ์)
ผู้ที่มีปัญญินทรีย์แก่กล้ำ เห็นอนัตตลักษณ์ชัดแจ้งที่สุด สุญญตวิโมกข์ (เข้ำสู่มรรคทำ
งอนัตตลักษณ์)
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
๑๕.) ผลญำณ – เมื่อมรรคญำณบังเกิดขึ้นแล้ว ผลญำณจะปรำกฏตำมติด
ขึ้นมำทันที ไม่มีระหว่ำงกลำงคั่นเลย มรรคญำณปรำกฏขึ้นเพียงชั่วขณะจิต
เดียวเท่ำนั้น ก็จะทำกำรประหำรกองกิเลสต่ำงๆตำมอำนำจของมรรคชั้นนั้นๆ
ผลญำณในขั้นแรก ก็คือ โสตำปันนโลกุตรภูมิ นั่นเอง
๑๖.) ปัจจเวกขณญำณ – ภำวนำมยปัญญำที่กำหนดหรือพิจำรณำอีกทีหนึ่ง
เมื่อมรรคญำณอุบัติ ทำกำรประหำรกิเลส ก็เข้ำสู่ผลญำณเสวยอำรมณ์
นิพพำน ๒ หรือ ๓ ขณะ หลังจำกนั้นจิตก็ลงภวังค์ และจึงเกิดปัจจเวกขณ
ญำณ พิจำรณำอริยมรรค อริยผลที่ตนได้บรรลุไป สภำวะแห่งพระนิพพำ กอง
กิเลสที่ประหำรไป กองกิเลสที่เหลืออยู่
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สภำวญำณ (ต่อ)
หลังจำกปัจจเวกขณญำณ บุคคลผู้บำเพ็ญเพียร
ต่อไป จะตกลงมำยังญำณที่ ๔ คือ อุทยัพพยญำณ
อีกครั้ง เพรำะได้บรรลุถึงญำณสูงสุดแล้ว เปรียบ
เหมือนเดินมำสุดทำง ถ้ำจะเดินทำงต่อ ก็ต้องมำที่
จุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อที่จะเดินทำงสู่มรรคขั้นต่อไปคือ
พระทุติยมรรค (สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ) นั่นเอง
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ผลแห่งพระปฐมมรรค (โสตำปันนโลกุตรภูมิ)
๑.) ประหำรกิเลส ๒ ตัว คือ ทิฐิกิเลส (ควำมยึดมั่นว่ำรูปนำมเป็นของตน) และ
วิจิกิจฉำกิเลส (ควำมสงสัยในพระรัตนตรัย)
๒.) ตัดวัฏสงสำร คือ ต้องเกิดอีกอย่ำงมำกไม่เกิน ๗ ชำติ (เอกพิชีโสดำบัน
บำรมีกล้ำ เกิดอีก ๑ ชำติ, โกลังโกลโสดำบัน บำรมีปำนกลำง เกิดอีก ๒-๓ ชำติ
และ สัตตักขัตตุปรมโสดำบัน บำรมีอ่อน เกิดอีก ๗ ชำติ)
๓.) ปิดประตูอบำย – จะไม่เกิดในอบำยภูมิ คือ
นรก เปรต อสุรกำย เดียรัจฉำน อีกต่อไป
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ
คือ ภูมิแห่งท่ำนที่จะมำเกิดอีกเพียงครั้งเดียว บุคคลผู้ผ่ำนโสดำปันโลกุตรภูมิ
บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ ผ่ำนอุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณอีก
ครั้ง สภำวะต่ำงๆจะชัดเจนกว่ำเดิม จำกนั้นเกิดอนุโลมญำณ ตำมด้วย โวทำ
นะ (แทนโคตรภูญำณ) และพระทุตยมรรคก็จะบังเกิดขึ้น
ผลแห่งพระทุติยมรรค (สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ)
๑.) กิเลสเบำบำงลงกว่ำพระโสดำบัน
๒.) สำมำรถเข้ำ สกิทำคำมีผลสมำบัติ เสวยอำรมณ์พระนิพพำนได้ตำมจิต
ปรำรถนำ
๓.) เกิดอีกเพียงชำติเดียวเท่ำนั้น (ในมนุษยโลก หรือเทวโลก)
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อนำคำมีโลกุตรภูมิ
คือ ภูมิแห่งท่ำนที่จะไม่กลับมำเกิดอีก บุคคลผู้ผ่ำน
สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ ผ่ำน
อุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณอีกครั้ง
สภำวะต่ำงๆจะชัดเจนกว่ำเดิม จำกนั้นเกิดอนุโลม
ญำณ ตำมด้วย โวทำนะ และพระตติยมรรคก็จะ
บังเกิดขึ้น
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ผลแห่งพระตติยมรรค (อนำคำมีโลกุตรภูมิ)
๑.) ประหำรกิเลสได้อีก ๑ คือ โทสกิเลส (รวมประหำรแล้ว ๓ คือ ทิฐิกิเลส, วิจิกิจฉำ
กิเลส และ โทสกิเลส)
๒.) สำมำรถเข้ำ อนำคำมีผลสมำบัติ เสวยอำรมณ์พระนิพพำนได้ตำมจิตปรำรถนำ
๓.) ไม่กลับมำเกิดในมนุษยโลก หรือเทวโลก (กำมภูมิ)
อีก ไปอุบัติใน สุทธำวำสพรหมโลก เท่ำนั้น (แม้ว่ำจะ
บำเพ็ญมำแต่วิปัสสนำ ไม่ได้บำเพ็ญสมถภำวนำ แต่
เมื่อใกล้จะจุติ จะเกิด มัคคสิทธิฌำน ขึ้น เป็นปัจจัยให้
ท่ำนไปอุบัติเกิด ณ พรหมโลกชั้นสุทธำวำส
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ผลแห่งพระตติยมรรค (อนำคำมีโลกุตรภูมิ) (ต่อ)
พระอนำคำมีจะไปจุติในพรหมโลกสุทธำวำสชั้นใด ขึ้นกับบำรมีอินทรีย์ที่บำเพ็ญมำ
๑.) พระอนำคำมีผู้มีสัทธินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ อวิหำสุทธำวำสพรหมโลก
๒.) พระอนำคำมีผู้มีวิริยินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ อตัปปำสุทธำวำสพรหมโลก
๓.) พระอนำคำมีผู้มีสตินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ สุทัสสีสุทธำวำสพรหมโลก
๔.) พระอนำคำมีผู้มีสมำธินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ สุทัสสีสุทธำวำสพรหมโลก
๕.) พระอนำคำมีผู้มีปัญญินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ อกนิฏฐสุทธำวำสพรหมโลก
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ผลแห่งพระตติยมรรค (อนำคำมีโลกุตรภูมิ) (ต่อ)
เมื่อพระอนำคำมีไปจุติเป็นพระพรหม ณ สุทธำวำสพรหมชั้นต่ำงๆแล้ว ทุกท่ำนก็จะสำเร็จ
เป็นพระอรหันต์และดับขันธ์เข้ำสู่พระนิพพำนตำมประเภทแห่งพระอนำคำมีทั้ง ๕
๑.) อันตรำปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลภายในอายุครึ่งแรก
ของสุทธาวาสพรหมโลกที่ท่านอยู่
๒.) อุปหัจจปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลภายในอายุครึ่งหลัง
ของสุทธาวาสพรหมโลกที่ท่านอยู่
๓.) อสังขำรปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลในภูมินั้นโดย
สะดวกสบาย
๔.) สังขำรปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลในภูมินั้นโดยต้องใช้
ความพยายามอย่างแรงกล้า
๕.) อุทธังโสโตอกนิฏฐคำมี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วไปจุติในสุทธาวาสพรหมโลกชั้น
สูงๆขึ้นไป แล้วจึงบรรลุอรหัตผล ณ สุทธาวาสพรหมโลกชั้นสูงสุด
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
อรหัตโลกุตรภูมิ
คือ ภูมิที่พ้นจำกโลก บุคคลผู้ผ่ำนอนำคำมีโลกุตรภูมิ บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ
ผ่ำนอุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณอีกครั้ง สภำวะต่ำงๆจะ
ชัดเจนกว่ำเดิม จำกนั้นเกิดอนุโลมญำณ ตำมด้วย โวทำนะ และพระจตุตถ
มรรคก็จะบังเกิดขึ้น ประหัตประหำรกองกิเลสทั้งปวงให้สิ้นไปจำกขันธสันดำน
๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ
เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี”
ผลแห่งพระจตุตถมรรค (อรหัตโลกุตรภูมิ)
ประหำรกิเลสที่เหลืออีก ๗ ประกำรคือ
โลภกิเลส (กามราคะ, รูปราคะ, อรูปราคะ), มำนกิเลส (ความ
ถือตัวว่าดี ว่าไม่ดี ว่าสูง ว่าต่า), อุทธัจจกิเลส (ความฟุ้ งซ่าน),
ถีนกิเลส (ความง่วงเหงา หดหู่), อหิริกกิเลส (ความไม่ละอาย
ต่ออกุศล), อโนตัปปกิเลส (ความไม่เกรงกลัวต่ออกุศล) และ
โมหกิเลส (ความมืดมน มัวเมา)
เมื่อหมดสิ้นซึ่งกิเลสทั้งปวง ก็ไม่มีเหตุปัจจัยให้มีกำรเกิดอีกต่อไป
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี

Contenu connexe

Tendances

วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์krupornpana55
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4  ผลการดำเนินงานบทที่ 4  ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานchaiwat vichianchai
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
Questionnaire
QuestionnaireQuestionnaire
Questionnairesakonpon
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 

Tendances (20)

วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
Noise pollution
Noise pollutionNoise pollution
Noise pollution
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4  ผลการดำเนินงานบทที่ 4  ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
Questionnaire
QuestionnaireQuestionnaire
Questionnaire
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
 

En vedette

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑Wataustin Austin
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Wataustin Austin
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ PdfMameaw Pawa
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 

En vedette (9)

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 

Similaire à ภาวนาทีปนี

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2Tongsamut vorasan
 
หนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdf
หนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdfหนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdf
หนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdfl12345678
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 

Similaire à ภาวนาทีปนี (20)

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 
หนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdf
หนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdfหนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdf
หนังสือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม.pdf
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 

Plus de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 

Plus de Anchalee BuddhaBucha (14)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 

ภาวนาทีปนี

  • 1. จัดทำโดย นำงสำวอัญชลี จตุรำนน เพื่อนำเสนอ อำจำรย์ ดร.สุนทรี สุริยะรังษี ในรำยวิชำ ศึกษำงำนสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่ ภำคเรียนที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕ และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ ศึกษำวิเครำะห์หนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลงำนท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙)
  • 2. ๑. เพื่อศึกษำถึงอัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ๒. เพื่อศึกษำถึงผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ๓. เพื่อศึกษำรำยละเอียดของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อันเป็น ผลงำนทรงคุณค่ำของพระพุทธศำสนำ (ทั้งทำงด้ำนบรรณำนุกรม และเนื้อหำสำระ) ๔. เพื่อวิเครำะห์เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ๕. เพื่อวิเครำะห์ถึงคุณค่ำของ หนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ในด้ำนต่ำงๆ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำวิเครำะห์ หนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” (ผลงำนท่ำนพระพรหมโมลี)
  • 3. ๑. อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ๒. ประวัติผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ๓. รำยละเอียดด้ำนบรรณำนุกรม และเนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ๔. วิเครำะห์เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ๕. วืเครำะห์คุณค่ำของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” โครงสร้ำงเนื้อหำสำระ
  • 4. ประวัติ อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) พระพรหมโมลี (วิลำศ ญำณวโร ป.ธ.๙) – เจ้ำอำวำสวัดยำนนำวำ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร สถำนะเดิม ชื่อ วิลำศ นำมสกุล ทองคำ เกิดวันอังคำร ขึ้น ๗ ค่ำเดือน ๗ ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ ๓ เดือนมิถุนำยน พ.ศ. ๒๔๗๓ บิดำชื่อ นำยบัว ทองคำ มำรดำชื่อ นำงยม ทองคำ หมู่ที่ ๑ ตำบลอุโลกสี่หมื่น อำเภอ ท่ำมะกำ จังหวัดกำญูจนบุรี มีพี่น้องรวม ๗ คน คือ ๑.) นำงหว่ำ รุ่งเรือง ๒.) นำงมำ ปุ๋ ยทอง (เลียชีวิตแล้ว) ๓.) นำยติ๋ม ทองคำ ๔.) พระพรหมโมลี (วิลำศ ทองคำ) ๕.) นำงเค้ำ รุ่งเรือง (เสียชีวิตเล้ว) ๖.) นำงพูล ละมูลจิตร ๗.) นำยทวี ทองคำ
  • 5. บรรพชำอุปสมบท อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) บรรพชำ วันพุธ ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๗ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๑๖ เดือนมิถุนำยน พ. ศ. ๒๔๘๖ ณ วัดพระแท่นดงรังวรวิหำร อำเภอท่ำมะกำ จังหวัด กำญจนบุรี พระอุปัชฌำย์ - พระครูวรวัตตวิบูล วัดแสนตอ อำเภอท่ำมะกำ จังหวัดกำญจนบุรี อุปสมบท วันอำทิตย์ แรม ๑๑ ค่ำ เตือน ๘ ปีขำล ตรงกับวันที่ ๙ เดือน กรกฎำคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ วัดดอน แขวงยำนนำวำ พระอุปัชฌำย์ - สมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ วัดสำมพระยำ กรุงเทพมหำนคร
  • 6. วิทยฐำนะ อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) พ.ศ. ๒๔๘๕ - จบชั้นประถมบริบูรณ์ โรงเรียนอำจวิทยำคำร ตำบลอุโลกสี่หมื่น อำเภอท่ำมะกำ จังหวัดกำญจนบุรี พ.ศ. ๒๔๘๙ - สอบได้ น.ธ.เอก สำนักเรียนวัดพระแท่นดงรังวรวิหำร อำเภอท่ำมะกำ จังหวัดกำญจนบุรี พ.ศ. ๒๕๐๓ - สอบได้ ป.ธ. ๙ สำนักเรียนวัดยำนนำวำ พ.ศ. ๒๕๑๗ - สำเร็จกำรศึกษำโรงเรียนพระสังฆำธิกำรส่วนกลำง กรุงเทพมหำนคร พ.ศ. ๒๕๓๒ - ได้รับปริญญำพุทธศำสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ มหำวิทยำลัยมหำ จุฬำลงกรณ์รำชวิทยำลัย
  • 7. บทบำทของท่ำนพระพรหมโมลีในกรณีคดีวัดธรรมกำย อัตชีวประวัติของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ปี ๒๕๔๒ วัดธรรมกายมีคดีอาญา โดยมีสองประเด็นคือเรื่องยักยอกเงินวัด และเรื่องสอนผิด จากพระไตรปิฎก ปี ๒๕๔๙ พระธัมมชโย พ้นจากคดีนี้ทั้งสองประเด็น โดย คดียักยอกเงินวัด – อัยการสูงสุดขอถอนฟ้ องเนื่องจากพระธัมมชโยได้คืนเงินให้แก่วัดแล้ว คดีสอนผิดจำกพระไตรปิฎก – พระพรหมโมลีซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าคณะภาค ๑ และ กรรมการมหาเถรสมาคม ได้ตัดสินว่าพระธัมมชโยไม่ได้สอนผิดไปจากพระไตรปิฎก เพียงแต่ อ่อนด้านพระอภิธรรม และสั่งให้ไปเรียนพระอภิธรรมเพิ่ม ผลกระทบ จากการตัดสินคดีในครั้งนี้ส่งผลให้พระพรหมโมลี ถูกปลดจากตาแหน่งเจ้าคณะ ภาค ๑ และกรรมการมหาเถรสมาคม
  • 8. งำนปกครอง ผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) พ.ศ. ๒๕๐๙ - เป็นเจ้ำอำวำสวัดดอน พ.ศ. ๒๕๑๓ - เป็นเจ้ำคณะตำบลวัดพระยำไกร พ.ศ. ๒๕๑๔ - เป็นพระอุปัชฌำย์ พ.ศ. ๒๕๑๕ - เป็นเจ้ำคณะเขตยำนนำวำ พ.ศ. ๒๕๒๘ - เป็นรองเจ้ำคณะภำค ๑ พ.ศ. ๒๕๓๑ - เป็นเจ้ำอำวำสวัดยำนนำวำ (พระอำรำมหลวง) พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๔๓ - เป็นเจ้ำคณะภำค ๑ พ.ศ. ๒๕๓๕ - เป็นกรรมกำรมหำเถรสมำคม
  • 9. งำนกำรศึกษำ ผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) พ.ศ. ๒๔๙๓ - เป็นครูสอนปริยัติธรรม พ.ศ. ๒๔๙๖ - เป็นกรรมกำรตรวจธรรมสนำมหลวง พ.ศ. ๒๔๙๖ - เป็นกรรมกำรตรวจบำลีสนำมหลวง พ.ศ. ๒๕๑๘ - เป็นกรรมกำรนำประโยคบำลี สนำมหลวงไปเปิดสอบใน จังหวัดส่วนภูมิภำค พ.ศ. ๒๕๓๑ - เป็นเจ้ำสำนักเรียนวัดยำนนำวำ
  • 10. งำนเผยแผ่ ประวัติผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ๑. ) โลกทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๖) ๒. ) มุนีนำถทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๖) ๓. ) วิปัสสนำทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๖) ๔. ) โลกนำถทืปนี (พ.ศ. ๒๕๐๗) ๕. ) ภำวนำทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๗) ๖. ) โพธิธรรมทีปนี (พ.ศ. ๒๕๐๗) ๗.) ภูมิวิลำสินี (พ.ศ. ๒๕๑๑) ๘. ) วิมุตดิรัตนมำลี (พ.ศ. ๒๕๑๕) ๙. ) กรรมทีปนี (พ.ศ. ๒๔๑๗) ๑๐.) วิปัสสนำวงศ์ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
  • 11. รำงวัลชนะเลิศในกำรประกวดวรรณกรรม* ประวัติผลงำนของท่ำนพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร, ป.ธ. ๙) ภูมิวิลำสินี - รำงวัลชนะเลิศวรรณกรรมสำขำศำสนำ เมื่อวันที ๗ เมษำยน ๒๕๑๓ วิมุตติรัตนมำลี - รำงวัลชนะเลิศวรรณกรรมสำขำศำสนำ เมื่อวันที ๑๒ ธันวำคม ๒๕๑๖ กรรมทีปนี - รำงวัลชนะเลิศวรรณกรรมสำขำศำสนำ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภำคม ๒๕๑๙ พรัอมกับไดัรับคำชมเชยว่ำ เป็น เพชรน้ำเอกในวงวรรณกรรมซึ่ง นับว่ำ เป็นเกียรติประวัติอันสูงส่งแก่วงกำร คณะสงฆ์ไทย *จัดประกวดโดยธนำคำรกรุงเทพ จำกัด (มหำชน)
  • 12. รำยละเอียดด้ำนบรรณำนุกรม ของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ๑.) ลักษณะคำประพันธ์ ร้อยแก้ว ๒.) ควำมยำว ๒๕๖ หน้ำ มี ๖ ภำค ๓.) เป็นผลงำนลำดับที่ ๕ (ในจำนวนทั้งหมด ๑๐ เล่ม) พิมพ์ ครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๐๗ ๔.) เลขเรียกหนังสือ ISBN 974-689-119-7 ๕.) หมำยเลขหนังสือในห้องสมุด มจร. เชียงใหม่ • 294.3422 พ 237ภ (สำนักพิมพ์ดอกหญ้ำ) • 294.3422 ว721ภ 2526 (โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม) • 294.3422 ว 721ภ (มูลนิธิธรรมกำย) • 294.3422 พ237ภ2/2545 (สำนักพิมพ์ดอกหญ้ำ)
  • 13. หัวข้อหลัก เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ๑. ปณำมพจน์ ๒. อำรัมภกำถำ ๓. ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ ๔. ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ ๕. อวสำนกถำ ๖. ปัจฉิมพจน์
  • 14. ๑.) ปณำมพจน์ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ถวำยนมัสกำรพระพุทธเจ้ำ พระอริยสงฆ์และ ครูบำอำจำรย์ทั้งหลำย และกล่ำวว่ำรจนำกถำชื่อว่ำ “ภำวนำทีปนี” เพื่อชี้แจงเรื่องกำรบำเพ็ญภำวนำใน พระพุทธศำสนำ ตำมคำสอนของ พระพุทธเจ้ำ ขอให้ผู้ใคร่ในภำวนำกรรม ทั้งหลำย จงตั้งใจฟังกถำนี้
  • 15. ๒.) อำรัมภกำถำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กล่ำวถึงเรื่องรำวของพระพุทธเจ้ำก่อนตรัสรู้ ตั้งจิตอธิษฐำน ได้รับ พยำกรณ์ และช่วงที่เป็นพระโพธิสัตว์ บำเพ็ญบำรมีในชำติต่ำงๆ จนถึง ชำติสุดท้ำยคือ พระเวสสันดร เมื่อสิ้นอำยุขัยก็ไปจุติเป็น พระเสตุเกตุ เทพบุตร อำยุขัย ๔,๐๐๐ ปีทิพย์ รอเวลำมำจุติเป็นพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ พระพุทธโกลำหล ท่ำนท้ำวมหำพรหมออกป่ำวประกำศว่ำพระพุทธเจ้ำ จะอุบัติขึ้นในโลก พรหมและเทพทั้งหลำยทูลอำรธนำ พระพุทธเจ้ำประสูติ
  • 16. ๒.) อำรัมภกำถำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ภำวนำกรรมพระทศพล เรื่องรำวตั้งแต่พระพุทธเจ้ำทรงออกผนวช บำเพ็ญทุกรกิริยำ มีมำรมำทูลเชิญ ให้เลิกบำเพ็ญเพียร แต่พระพุทธองค์ก็ทรงบำเพ็ญเพียรต่อไป จนพบหนทำง แห่งมัชฌิมำปฏิปทำ และตรัสรู้อนุตรสัมมำสัมโพธิญำณในที่สุด ประเภทภำวนำ “ภำเวตพฺพำติ ภำวนำ” “ธรรมที่บัณฑิตชนทั้งหลำย ควรทำให้เกิดขึ้นเป็นครั้ง แรกและครั้งหลังๆ ให้ติดต่อกันไปเป็นนิตย์ จนถึงเจริญขึ้นๆ เรื่อยไป ธรรม นั้นชื่อว่ำ ภำวนำ” ภำวนำมี ๒ ประเภท คือ สมถภำวนำ และ วิปัสนำภำวนำ
  • 17. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” “กิเลเส สเมตีติ กัมโถ” “ธรรมใดมีอำนำจทำให้กิเลส มีกำมฉันทนิวรณ์ เป็นต้น สงบลงได้ ธรรมนั้นชื่อว่ำ สมถะ” อำรมณ์สมถภำวนำ อำรมณ์ คือ อุปกรณ์ในกำรบำเพ็ญสมถะภำวนำ มี ๔๐ อย่ำงคือ • กสิณ ๑๐ • อสุภ ๑๐ • อนุสติ ๑๐ • อัปปมัญญำ ๔ • อำหำเรปฏิกูลสัญญำ ๑ • จตุธำตุววัตถำน ๑ • อรูปฌำน ๔
  • 18. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กสิณ ๑๐ - ปฐวีกสิณ (ดินสีแดง), อำโปกสิณ (น้า), เตโชกสิณ (ไฟ), วำโยกสิณ (ลม), นีลกสิณ (สีเขียว), ปีตกสิณ (สีเหลือง), โลหิตกสิณ (สีแดง), โอทำกสิณ (สี ขาว), อำกำสกสิณ (อากาศ), อำโลกกสิณ (แสงสว่าง) อสุภ ๑๐ - อุทธุมำตกอสุภ (ซากศพพอง ตาย ๒-๓ วัน), วินีลกอสุภ (ซากศพน่า เกลียดมีสีต่างๆ), วิปุพพกอสุภ (ศพมีน้าเหลือง น้าหนอง), วิจฉิททกอสุภ (ศพขาด ๒ ท่อน), วิกขำยิตกอสุภ (ศพที่มีสัตว์รุมทึ้ง), วิกขิตตกอสุภ (ศพ อวัยวะแยกส่วน), หตวิกขิตตกอสุภ (ศพถูกฟันด้วยอาวุธ), โลหิตกอสุภ (ศพเลือดอาบ), ปุฬวกอสุภ (ศพหนอนไต่ตอม), อัฏฐิกอสุภ (ศพที่มีแต่ กระดูก)
  • 19. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อนุสติ ๑๐ - พุทธำนุสติ, ธัมมำนุสติ, สังฆำนุสติ, สีลำนุสติ, จำคำนุสติ, เทวตำนุสติ, อุปสมำนุสติ, มรณำนุสติ, กำยคตำสติ*, อำณำ ปำณสติ** *มีเฉพำะในพระพุทธศำสนำ **ผู้เจริญอำณำปำณสติจนได้ฌำน และใช้ฌำนนี้เป็นบำทในกำรเจริญวิปัสสนำต่อจน บรรลุอรหัตผล จะสำมำรถกำหนดรู้อำยุสังขำรได้ อัปปมัญญำ ๔ - เมตตำอัปปมัญญำ, กรุณำอัปปมัญญำ, มุทิตำอัปปมัญญำ, อุเบกขำอัปปมัญญำ
  • 20. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำหำเรปฏิกูลสัญญำ ๑ พิจำรณำควำมน่ำเกลียดของอำหำร จนเกิดปัญญำ หรือ ปริญญำ ๓ คือ ญำตปริญญำ (เห็นทุกข์ในกำร บริโภค), ตีรณปริญญำ (เห็นควำมเกิดดับของกำร บริโภค), ปหำนปริญญำ (เห็นควำมลำบำกที่เกิดจำกอำหำร) จตุธำตุววัตถำน ๑ กำหนดธำตุ ๔ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ ให้เห็นเป็นเพียงกองธำตุหนึ่งๆ ไม่มี สัตว์ตัวตน บุคคล เรำ เขำ
  • 21. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อรูปฌำน ๔ - อำกำสำนัญจำยตนะ (กำหนดอำกำศเป็นอำรมณ์) - วิญญำณัญจำรยตนะ (กำหนดวิญญำณเป็นอำรมณ์) - อำกิญจัญญำยตนะ ( กำหนดภำวะที่ไม่มีอะไรเป็นอำรมณ์) - เนวสัญญำนำสัญญำยตนะ (กำหนดภำวะที่มีสัญญำก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญำ ก็ไม่ใช่)
  • 22. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลแห่งสมถะภำวนำ จะทำสิ่งใด ต้องมีเป้ ำหมำย ต้องรู้ผลแห่งกำร กระทำ ผลที่สุดของสมถภำวนำคือ “ฌำน” แต่ อำรมณ์ สมถภำวนำไม่ได้ให้ผลเป็นฌำนหมดทั้ง ๔๐ อำรมณ์
  • 23. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำรมณ์ที่ให้ได้ฌำน เปรียบเหมือน “เรือที่จอดนิ่งอยู่ได้ในกระแสน้ำที่เชี่ยวกรำก ด้วยอำนำจถ่อไม้ ไผ่ที่ปักไว้” มี ๓๐ คือ • กสิณ ๑๐ • อสุภ ๑๐ • กำยคตำสติ • อำณำปำณสติ • อัปปมัญญำ ๔ • อรูปฌำน ๔
  • 24. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำรมณ์ที่ไม่ได้ให้ถึงฌำน เปรียบเหมือน “เรือที่ทอดสมออยู่กลำงน้ำลึก” มี ๑๐ คือ • อนุสติ ๘ ที่เหลือ • อำหำเรปฏิกูลสัญญำ • จตุธำตุววัตถำน อำรมณ์ทั้ง ๑๐ นี้ ให้เข้ำถึงเพียง อุปจำรภำวนำ ไม่ถึงอัปปนำภำวนำ (ฌำน)
  • 25. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำจำรย์เข้ำใจผิด ภิกษุผู้หนึ่ง ผู้มีพุทธิจริต ปัญญำมำก แต่ไม่มีอำจำรย์สอนกรรมฐำน บำเพ็ญแต่สมถภำวนำด้วยอำรมณ์พุทโธ โดยเข้ำใจว่ำคือวิปัสสนำ เมื่อมี ภิกษุฝ่ำยคำมวำสีมำซักถำมก็เกิดโทสะ กำรบำเพ็ญสมถภำวนำ ผู้บำเพ็ญสมถภำวนำ ย่อมปรำรถนำซึ่งฌำน หรือกำรเป็น ฌำนลำภี บุคคล แต่เมื่อบำเพ็ญสมถภำวนำไปเรื่อย ย่อมพบกับอุปสรรคของกำร ภำวนำ นั่นก็คือ “นิวรณ์”
  • 26. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” นิวรณ์ “ฌำนำทิก นิวำเรนฺตีติ นิวรณำนิ” “สภำพที่ห้ำมไว้ซึ่งคุณพิเศษ มีฌำนเป็น ต้น สภำพนั้นชื่อว่ำ นิวรณ์” โลกิยณำน เมื่อได้แล้ว นิวรณ์เกิดขึ้น ฌำนเสื่อม โลกุตรฌำน เมื่อได้แล้ว นิวรณ์เกิดขึ้น ฌำนไม่เสื่อม นิวรณ์ถือว่ำเป็นปฏิปักษ์กับสมำธิ
  • 27. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” นิวรณ์ ลักษณะ องค์ธรรม อุปมำ* กำมฉันทะ ควำมพอใจในกำมคุณ โลภเจตสิก เจ้ำหนี้ (ไม่เป็นอิสระ) พยำบำท ควำมไม่พอใจใน อำรมณ์ต่ำงๆ โทสเจตสิก โรคภัย (กระสับกระส่ำย) ถีนมิทธะ ควำมหดหู่ ท้อถอย ถีนมิทธเจตสิก คุก (ไม่เห็นสิ่งสวยงำม) อุทธัจจกุกกุจจะ ควำมฟุ้ งซ่ำนรำคำญใจ อุทธัจจกุกกุจจะเจตสิก ทำส (ถูกเจ้ำนำยใช้ให้ วิ่งวุ่น) วิจิกิจฉำ ควำมสงสัยในคุณของ พระรัตนตรัย วิจิกิจฉำเจตสิก ทำงกันดำร (เดินไป ด้วยควำมหวำดหวั่น) *ในคัมภีร์ สุมังคลำวิลำสินีอรรถกถำ
  • 28. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ปฐมฌำน สมถภำวนำ บำเพ็ญโดยกำรบริกรรมไปเรื่อย จนนิวรณ์สงบลง เข้ำอุปจำร ภำวนำ ถ้ำเป็น ติกขบุคคล (ผู้มีปัญญำกล้ำ) ก็สำมำรถบรรลุปฐมฌำนได้โดยง่ำย ถ้ำเป็น มันทบุคคล (ผู้มีปัญญำน้อย) ก็สำมำรถบรรลุปฐมฌำนได้ แต่ช้ำ Note: ระหว่ำงที่ได้ปฏิภำคนิมิตในอุปจำรภำวนำ ให้พึงระวังรักษำสมำธิ ให้ดี ดุจดังพระรำชินีระวังรักษำครรภ์ แห่งบุตรผู้จะเกิดมำเป็นใหญ่ ลักษณะของปฐมฌำน - มีวิตก วิจำร ปีติ และสุข จำกสมำธิ
  • 29. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ทุติยฌำน เมื่อบุคคลได้เข้ำถึงปฐมฌำนแล้ว ก็สำมำรถข่มกิเลสให้สงบลงได้ มีสมำธิ กล้ำ เป็นฌำนลำภีบุคคล (ผู้ได้ถึงฌำน) จะต้องบำเพ็ญปฐมฌำนชวนะให้ เกิดต่อเนื่อง ๑-๗ วัน เพื่อเป็นฐำนแก่กำรฝึกวสีภำวะ ๕ (ฌำนขั้นสูงต้องมี วสีภำวะ)
  • 30. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” วสีภำวะ ๑. อำวัชชนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถพิจารณาองค์ฌาน ๒. สมำปัชชนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถในการเข้าฌานเวลาใดก็ได้ ๓. อธิษฐำนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถกาหนดเวลาในการเข้าฌาน ๔. วุฏฐำนวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถในการกาหนดเวลาในการออกจาก ฌาน ๕. ปัจจเวกขณวสีภำวะ – ความเป็นผู้สามารถพิจารณาองค์ฌานแห่งชวนะ เมื่อออกจากฌานแล้ว
  • 31. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ทุติยฌำน (ต่อ) เมื่อบุคคลได้ฝึกวสีภำวะจนชำนำญ เข้ำปฐมฌำน ออกปฐมฌำน พิจำรณำว่ำปฐมฌำนนี้ใกล้นิวรณ์ยิ่งนัก ไม่ประณีต เสื่อมได้ง่ำย เมื่อพิจำรณำจนเกิดควำมเบื่อหน่ำย ก็บำเพ็ญภำวนำทั้ง ๓ ลำดับ บริกรรมภำวนำ เข้ำถึงอุปจำรภำวนำ และอัปปนำภำวนำ ทุติยฌำนจะ เกิดขึ้น ลักษณะของทุติยฌำน - ไม่มีวิตก วิจำร มีแต่ปีติ และสุข จำกสมำธิ
  • 32. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ตติยฌำน เมื่อบุคคลมีวสีภำวะ เข้ำทุติยฌำน ออกทุติยฌำน พิจำรณำว่ำทุติยฌำนนี้ ใกล้ปฐมฌำนยิ่งนัก ไม่ประณีต เสื่อมได้ง่ำย เมื่อพิจำรณำจนเกิดควำมเบื่อหน่ำย ก็บำเพ็ญภำวนำทั้ง ๓ ลำดับ บริกรรมภำวนำ เข้ำถึงอุปจำรภำวนำ และอัปปนำภำวนำ ตติยฌำนจะ เกิดขึ้น ลักษณะของทุติยฌำน – มีอุเบกขำ สติ สัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนำม กำย เพรำะปีตืสิ้นไป
  • 33. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” จตุตถฌำน เมื่อบุคคลมีวสีภำวะ เข้ำตติยฌำน ออกตติยฌำน พิจำรณำว่ำตติยฌำนนี้ ใกล้ทุติยฌำนยิ่งนัก ไม่ประณีต เสื่อมได้ง่ำย เมื่อพิจำรณำจนเกิดควำมเบื่อหน่ำย ก็บำเพ็ญภำวนำทั้ง ๓ ลำดับ บริกรรมภำวนำ เข้ำถึงอุปจำรภำวนำ และอัปปนำภำวนำ ไม่มีทุกข์ ไม่มี สุข ดับโทมนัส และ โสมนัส จตุตถฌำนจะเกิดขึ้น ลักษณะของจตุตถฌำน – มีอุเบกขำ อันเป็นเหตุให้เกิดสติบริสุทธ์อยู่
  • 34. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” รูปฌำนสูงสุด คือรูปฌำน ๔ หรือ รูปฌำน ๕ ?
  • 35. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฌำน ๒ นัย ๑. ปัญจกนัย – เกิดแก่บุคคลผู้มีปัญญำ น้อย ฌำนแรก (ปฐมฌำน) จึงมีวิตก อย่ำงเดียวเป็นองค์ฌำน ๒. จตุกนัย – เกิดแก่บุคคลผู้มีปัญญำ มำก ฌำนแรก (ปฐมฌำน) จึงมีวิตก และวิจำร เป็นองค์ฌำน
  • 36. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฌำน ปัญจกนัย (เกิดแก่มันทบุคคล) จตุกนัย (เกิดแก่ติกขบุคคล) ปฐมฌำน มี วิตก วิจำร ปีติ สุข เอกัคคตำ มี วิตก วิจำร ปีติ สุข เอกัคคตำ ทุติยฌำน มี วิจำร ปีติ สุข เอกัคคตำ มี ปีติ สุข เอกัคคตำ ตติยฌำน มี ปีติ สุข เอกัคคตำ มี สุข เอกัคคตำ จตุตถฌำน มี สุข เอกัคคตำ มี อุเบกขำเอกัคคตำ ปัญจมฌำน มี อุเบกขำเอกัคคตำ *อักษรสีแดง คือ องค์ธรรม ของแต่ละฌำน
  • 37. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฌำน - อภิญญำ ผลแห่งสมถภำวนำในเบื้องต้นคือ รูปฌำน บุคคลผู้ได้ รูปฌำนแล้ว เรียกว่ำ ฌำนลำภีบุคคล ฌำนลำภีบุคคลที่เคยได้อภิญญำมำก่อน หรือเคย บำเพ็ญกุศล และอธิษฐำนจิตให้ได้อภิญญำ ก็จะได้ อภิญญำในขั้นนี้ แต่หำกฌำนลำภีบุคคลผู้นั้นไม่เคยได้ อภิญญำ หรืออธิษฐำนมำก่อน ก็จะต้องบำเพ็ญสมถ ภำวนำต่อไปให้ได้เข้ำถึงอรูปฌำนก่อน
  • 38. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำกำสำนัญจำยตนฌำน เมื่อได้จตุตถฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ กำยนี้น่ำ รังเกียจ หรือ อภิญญำนี้เป็นสิ่งไม่ประณีต ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนำญ เมื่อออกจำกรูปฌำนก็ถือเอำอำกำศเป็น อำรมณ์ บริกรรม “อำกำโส อนนฺโต อำกำโส อนนฺโต ......” ไปเรื่อยๆ จน จิตสงบเข้ำสู่อำกำสำนัญจำยตนฌำน
  • 39. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” วิญญำณัญจำยตนฌำน เมื่อได้อำกำสำนัญจำยตนฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ อำกำสำนัญจำยตนฌำนเป็นสิ่งไม่ประณีต อยู่ใกล้ รูปฌำน เสื่อมได้ง่ำย ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนำญ เมื่อออกจำกอำกำสำนัญจำยตนฌำนก็ถือเอำ วิญญำณเป็นอำรมณ์ บริกรรม “วิญญำณ อนนฺต......” ไปเรื่อยๆ จนจิต สงบเข้ำสู่วิญญำณัญจำยตนฌำน
  • 40. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำกิญจัญญำยตนฌำน เมื่อได้วิญญำณัญจำยตนฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ วิญญำณัญจำยตนฌำนเป็นสิ่งไม่ประณีต อยู่ใกล้ อำกำสำนัญจำยตน ฌำนเสื่อมได้ง่ำย ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนวญ เมื่อออกจำกวิญญำณัญจำยตนฌำนก็บริกรรม “นตฺถิ กิญฺจิ นตฺถิ กิญฺจิ ......” ไปเรื่อยๆ ถือเอำภำวะที่ไม่มีอะไร เป็น อำรมณ์ จนจิตสงบเข้ำสู่อำกิญจัญญำยตนฌำน
  • 41. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” เนวสัญญำนำสัญญำยตนฌำน เมื่อได้อำกิญจัญญำยตนฌำนแล้ว ก็บำเพ็ญต่อเนื่องไป และพิจำรณำว่ำ อำกิญจัญญำยตนฌำนเป็นสิ่งไม่ประณีต อยู่ใกล้ วิญญำณัญจำยตนฌำน เสื่อมได้ง่ำย ปฏิบัติวสีภำวะจนชำนวญ เมื่อออกจำกอำกิญจัญญำยตนฌำนก็ บริกรรม “เอตํ สนฺติ เอตํ สนฺติ......” ไปเรื่อยๆ ถือเอำภำวะที่มี สัญญำก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญำก็ไม่ใช่ เป็นอำรมณ์ จนจิตสงบเข้ำสู่ เนวสัญญำนำสัญญำยตนฌำน
  • 42. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” องค์ฌำนของอรูปฌำน อรูปฌำนทั้ง ๔ มีองค์ฌำนคือ อุเบกขำ เอกัคคตำ เหมือนกันทุกฌำน แต่ อรูปฌำนระดับสูง จะมีคุณธรรม ควำม ละเอียดประณีตมำกกว่ำอรูปฌำนระดับ ต่ำลงมำ เปรียบดังปรำสำท ๔ ชั้น ที่มีกำร ประดับตกแต่งสวยงำมในทุกๆชั้น แต่ชั้น บนสุดย่อมตกแต่งได้อย่ำงสวยงำม และ ประณีตที่สุด
  • 43. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อภิญญำ “วิเสสโต ชำนำตีติ อภิญฺญำ” “ปัญญำใดย่อมสำมำรถรู้ในอำรมณ์ต่ำงๆ เป็นพิเศษฉะนั้น ปัญญำนั้นชื่อว่ำ อภิญญำ” ผลของฌำนสูงสุดในชำติปัจจุบันคือ อภิญญำลำภีบุคคล อภิญญำเกิดแก่ผู้ใด? เกิดแก่ฌำนลำภีบุคคล ผู้เจริญสมถภำวนำมำ โดยใช้กสิณเป็นอำรมณ์เท่ำนั้น (เพรำะเป็น สมำธิที่แก่กล้ำที่สุด)
  • 44. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อภิญญำมี ๒ ประเภท ๑. โลกียอภิญญำ ๒. โลกุตรอภิญญำ *ผู้ที่บำเพ็ญแต่สมถภำวนำล้วนๆ จะได้ เพียงแค่โลกียอภิญญำเท่ำนั้น โลกุตรอภิญญำจะเกิดได้ด้วยวิปัสนำ ภำวนำ
  • 45. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” โลกิยอภิญญำ ๕ ๑. อิทธีวิธอภิญญำ – อธิษฐานอิทธี (ดาดิน, แยกร่าง, เหาะ, หายตัว), วิฤพพนาอิทธี (เนรมิตสิ่ง ต่างๆได้) และ มโนมยิทธิ (อิทธิฤทธิ์ที่สาเร็จด้วยใจ) ๒. ทิพพโสตอภิญญำ – หูทิพย์เหมือนเทวดา พรหม ได้ยินทุกสิ่งที่ต้องการฟัง ถ้าต้องการรู้ ความหมายต้องอธิษฐานปรจิตตวิชานนอภิญญา ๓. ปรจิตตวิชำนนอภิญญำ – รู้ใจผู้อื่น แรกๆทาโดยดูสีโลหิตในหัวใจ เมื่อชานาญก็ไม่ต้องดูสีโลหิต สามารถดูใจได้เลย ๔. ปุพเพนิวำสำนุสติอภิญญำ – ระลึกชาติที่ตนเคยเกิดมาได้ วาสนาบารมีมาก ก็ย้อนระลึกได้ จานวนชาติมาก ๕. ทิพจักขุอภิญญำ – ตาทิพย์เหมือนเทวดา เห็นได้ทุกอย่างที่ต้องการเห็น จุตูปปาตอภิญญา (เห็น การตายและเกิดแห่งสัตว์ทั้งหลาย), ยถากัมมูปคอภิญญา (เห็นภาวะที่สัตว์ไปเกิดตามกรรมของ ตน) และ อาคตังสอภิญญา (เห็นเหตุการณ์ในภายภาคหน้า)
  • 46. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ข้อคิดเรื่องอภิญญำ • เมื่อเข้ำในถึงผลที่สุดของกำรบำเพ็ญสมถภำวนำที่จะได้ในชำตินี้ ซึ่งคือ อภิญญำ นี้แล้ว ก็จะเข้ำใจว่ำ เรื่องเล่ำต่ำงๆเกี่ยวกับปำฏิหำริย์เกิดขึ้นได้อย่ำงไร • ควรพึงระลึกไว้ว่ำ อภิญญำสำมำรถเสื่อมได้ หำกเป็นปุถุชนที่มีฤทธิ์ ก็ยังต้อง บำเพ็ญเพียรเพื่อรักษำไว้ ดังเช่นตัวอย่ำงเรื่อง ฤำษีผู้มีฤทธิ์ ในคัมภีร์เอกนิบำต อรรถกถำ
  • 47. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฤำษีผู้มีฤทธิ์ ครั้งหนึ่งเมื่อพระพุทธเจ้ำยังทรงบำเพ็ญบำรมีเป็นพระโพธิสัตว์อยู่นั้น ได้เคยเป็นฤำษีผู้สละ ทรัพย์มำกมำยออกบวชบำเพ็ญเพียรจะได้อิทธิฤทธิ์อภิญญำ วันหนึ่งพระรำชำมำพบ เกิดควำมเลื่อมใส เชิญเข้ำไปอยู่วัง ก็บำเพ็ญเพียรไปด้วยดี มำวันหนึ่งเมื่อเหำะอยู่บังเอิญได้ไปเห็นนำงมุทุลักขณำ (พระมเหสี) ผ้ำผ่อนหลุดลุ่ย ฌำนจึง เสื่อมตกจำกอำกำศ พระรำชำทรำบว่ำฤำษีหลงรักนำงมุทุลักขณำ ก็ยกนำงให้พระฤำษี นำงมุทุลักขณำบอกให้ฤำษีไปขอบ้ำนจำกพระรำชำ และย้ำยไปอยู่ด้วยกัน ฤำษีถูกนำงมุทุลักขณำใช้ให้ทำควำมสะอำดบ้ำน หำข้ำวหำน้ำ ทำกิจของฆำรวำสต่ำงๆวุ่นวำย จึงได้สติ และกลับไปบำเพ็ญเพียร จะได้ฌำนและอภิญญำคืนกลับมำ *จากคัมภีร์เอกนิบาตอรรถกถา
  • 48. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” มุ่งหน้ำสู่พรหมโลก ผลที่สุดของสมถภำวนำในชำตินี้คือ ฌำน ผลที่สุดของสมถภำวนำในชำติถัดไปคือ พรหม โลก *จะบังเกิดในพรหมโลกชั้นใด ขึ้นกับระดับของ ฌำนที่ได้บรรลุ
  • 49. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฌำน ระดับ ชั้นพรหมที่จุติ อำยุขัย ปฐมฌำน ปริตตะ พรหมปำริสัชชำภูมิ ๑ ใน ๓ มหำกัป มัชฌิมะ พรหมปุโรหิตำภูมิ ครึ่งมหำกัป ปณีตะ มหำพรหมำภูมิ ๑ มหำกัป ทุติยฌำน ปริตตะ ปริตตำภำภูมิ ๒ มหำกัป มัชฌิมะ อัปปมำณำภำภูมิ ๔ มหำกัป ปณีตะ อำภัสสรำภูมิ ๘ มหำกัป ตติยฌำน ปริตตะ ปริตตสุภำภูมิ ๑๖ มหำกัป มัชฌิมะ อัปปมำณสุภำภูมิ ๓๒ มหำกัป ปณีตะ สุภกิณหำภูมิ ๖๔ มหำกัป *จำกพระคัมภีร์ธัมมหทยวิภังค์
  • 50. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฌำน ระดับ ชั้นพรหมที่จุติ อำยุขัย จตุตถฌำน จตุตถฌำนอย่ำงเดียว ล้วนๆ เวหัปผลำภูมิ ๕๐๐ มหำกัป จตุตถฌำนที่มีควำม เบื่อหน่ำยจิต อสัญญสัตตำภูมิ (พรหมลูก ฟัก) ๕๐๐ มหำกัป จตุตถฌำนและเป็น พระอนำคำมี จะ บังเกิดเป็นพรหม ณ สุทธำวำสพรหมโลก อวิหำภูมิ ๑,๐๐๐ มหำกัป อตัปปำภูมิ ๒,๐๐๐ มหำกัป สุทัสสำภูมิ ๔,๐๐๐ มหำกัป สุทัสสีภูมิ ๘,๐๐๐ มหำกัป อกนิฏฐำภูมิ ๑๖,๐๐๐ มหำกัป *จำกพระคัมภีร์ธัมมหทยวิภังค์
  • 51. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ฌำน ระดับ ชั้นพรหมที่จุติ อำยุขัย อรูปฌำน (จะไป บังเกิด ณ อรูป พรหมโลก) อำกำสำนัญจำยตน ฌำน อำกำสำนัญจำยตนภูมิ ๒๐,๐๐๐ มหำกัป วิญญำณัญจำยตน ฌำน วิญญำณัญจำยตนภูมิ ๔๐,๐๐๐ มหำกัป อำกิญจัญญำยตน ฌำน อำกิญจัญญำยตนภูมิ ๖๐,๐๐๐ มหำกัป เนวสัญญำนำ สัญญำยตนฌำน เนวสัญญำนำสัญญำยตนภูมิ ๘๔,๐๐๐ มหำกัป *จำกพระคัมภีร์ธัมมหทยวิภังค์
  • 52. ๓.) ภำวนำภำคที่ ๑ สมถภำวนำ (ต่อ) เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สรุปสมถภำวนำ ๑.) สมถภำวนำเป็นกำรบำเพ็ญเพื่อให้กิเลสทั้งหลำยสงบระงับไป ๒.) กำรบำเพ็ญสมถภำวนำต้องใช้อำรมณ์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งในอำรมณ์ ๔๐ (กสิณ ๑๐, อสุภ ๑๐, อนุสติ ๑๐, อัปปมัญญำ ๔, อรูปฌำน ๔, อำหำเรปฏิกูลสัญญำ, ธำตุ ๔) ๓.) ผลในชำติปัจจุบันของสมถภำวนำคือ ฌำน แบ่งเป็นรูปฌำน และอรูปฌำน ผู้ ได้บรรลุอรูปฌำน สำมำรถอธิษฐำนให้สำเร็จได้ซึ่ง อภิญญำ ๔.) ผลในชำติหน้ำของสมถภำวนำคือ กำรไปอุบัติเกิดเป็นพระพรหม ณ พรหม โลกชั้นต่ำงๆ ตำมอำนำจแห่งฌำนที่ตนได้บรรลุ
  • 53. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” วิปัสสนำเป็นภำวนำกรรมประเภทสูงสุด วิเศษสุด ซึ่ง มีเฉพำะในพระพุทธศำสนำเท่ำนั้น แต่ก็ยังมีผู้เข้ำใจ ผิดเกี่ยวกับวิปัสสนำอยู่มำกมำย เพรำะเป็นเรื่อง ซับซ้อน ก่อนจะทำควำมเข้ำใจกับควำมหมำยของคำว่ำ “วิปัสสนำ” ควรทำควำมเข้ำใจกับคำว่ำ “วัฏสงสำร” และ “กิเลส ตัณหำ” เสียก่อน
  • 54. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” วัฏสงสำร วัฏสงสำร คือ กำรท่องเที่ยวเวียนเกิดเวียนตำยอยู่ในโลกอย่ำงไม่ มีที่สิ้นสุด วัฏสงสำรมี ๓ ประเภทใหญ่ๆ ๑. เหฏฐิมสงสำร – ภูมิเบื้องต่ำทั้ง ๔ คือ นรก เปรต อสุรกำย และ เดรัจฉำน ๒. มัชฌิมสงสำร – ภูมิชั้นกลำงทั้ง ๗ คือ มนุษย์ และเทวโลก ทั้ง ๖ ชั้น ๓. อุปริมสงสำร – ภูมิชั้นสูงทั้ง ๒๐ คือ พรหมโลกทั้ง ๒๐ ชั้น *ปุถุชนย่อมต้องเวียนว่ำยตำยเกิดวนอยู่ในภพภูมิเหล่ำนี้ไม่มีที่ สิ้นสุด ตรำบเท่ำที่มีกิเลส
  • 55. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ทัณฑสูตร (เปรียบเทียบกำรเวียนว่ำยในวัฏสงสำร) พระพุทธเจ้ำทรงตรัสสอนภิกษุทั้งหลำยว่ำ วัฏสงสำรเป็นสิ่งที่หำเบื้องต้น เบื้องปลำยไม่ได้ เมื่อเหล่ำสัตว์ยังมีอวิชชำ และกิเลสตัณหำอยู่ เปรียบเหมือนท่อนไม้ที่โยนขึ้นอำกำศ บำงครำวก็ตกลงทำงโคน บำงครำว ก็ตกลงทำงขวำง เหมือนสัตว์ทั้งหลำยที่ต้องท่องเที่ยวไป จำกโลกอื่นสู่ โลกนี้ จำกโลกนี้สู่โลกอื่น ไม่มีที่สิ้นสุด พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖, พระสุตตันตปิฎก, สังยุตตนิกาย, นิทานวรรค
  • 56. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ปฐวีสูตร (แสดงถึงควำมยำวนำนแห่งวัฏสงสำร) พระพุทธเจ้ำทรงเปรียบเทียบควำมยำวนำนแห่งวัฏสงสำร ว่ำบุรุษผู้หนึ่ง ปั้นดินเป็นก้อนเท่ำเม็ดกระเบำทีละก้อน และสมมติว่ำ “นี่คือบิดำของเรำ นี่คือบิดำของเรำ......” ไปเรื่อยๆ ยังไม่สิ้นสุด จนมหำปฐพีนี้สิ้นสุดไปก่อน คือควำมยำวนำนแห่งสังสำรวัฏ ที่สมควรแก่กำรเบื่อหน่ำย คลำยกำหนัด พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖, พระสุตตันตปิฎก, สังยุตตนิกาย, นิทานวรรค
  • 57. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ติงสมัตตำสูตร (แสดงถึงควำมยำวนำนแห่งวัฏสงสำร) พระพุทธเจ้ำทรงแสดงธรรมแก่หมู่ภิกษุผู้อยู่ป่ำเป็น วัตร เที่ยวบิณฑบำตเป็นวัตร แต่ยังไม่หมดสัญโญชน์ โดยเปรียบว่ำ โลหิตที่หลั่งไหลออกมำจำกผู้ที่ ท่องเที่ยวในสังสำรวัฏนี้ มีมำกกว่ำน้ำในมหำสมุทร ทั้ง ๔ เปรียบให้เห็นควำมยำวนำนของสังสำรวัฏนี้ ที่น่ำเบื่อ หน่ำย และคลำยกำหนัด เพื่อควำมหลุดพ้น พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖, พระสุตตันตปิฎก, สังยุตตนิกาย, นิทานวรรค (ฉบับมจร.เรียก ติงสมัตตสูตร)
  • 58. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” เหตุใดหนอ สัตว์ ทั้งหลำยจึงต้องวนเวียน ตำยเกิดอยู่ในสังสำรวัฏ อันน่ำเบื่อนี้? เพรำะกิเลสตัณหำนั่นเอง ผูกพันสัตว์ทั้งหลำยให้ติด ข้องอยู่ในวัฏสงสำรนี้
  • 59. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กิเลส “กิเลเสนฺติ อุปตำเปนฺตีติ กิเลสำ” “ธรรมชำติใด มีสภำพเศร้ำหมองเร่ำ ร้อน และยังสัมปยุตธรรมให้เศร้ำหมองเร่ำร้อน ธรรมชำตินั้นชื่อว่ำ กิเลส” กิเลสเกิดร่วมกับจิตหรือเจตสิกอื่นใด ก็ทำให้จิตและเจตสิกนั้นเร่ำร้อนไป ด้วย
  • 60. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กิเลส ๑๐ ประกำร ๑. ทิฐิกิเลส ๒. วิจิกิจฉำกิเลส ๓. โลภกิเลส ๔. โทสกิเลส ๕. โมหกิเลส ๖. มำนกิเลส ๗. ถีนกิเลส ๘. อุทธัจจกิเลส ๙. อหิริกกิเลส ๑๐. อโนตัปปกิเลส
  • 61. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กิเลส ๑๕๐๐ ตัณหำ ๑๐๘ กิเลส ๑๕๐๐ อำรมณ์ที่ให้กิเลสยึดมี ๓ คือ จิต ๑ เจตสิก ๑ รูป ๑ จิตทั้งหมดทุกดวงนับเป็น ๑ เพรำะมีธรรมชำติรู้อำรมณ์เหมือนกัน เจตสิกนับเป็น ๕๒ ดวง ตำมลักษณะที่แตกต่ำงกัน รูปที่เป็นอำรมณ์ของกิเลสมี ๒๒ รวมสภำพธรรมที่เป็นอำรมณ์กิเลสมี ๗๕ (๑+๔๒+๒๒) กิเลสหลักใหญ่ ๑๐ ประกำร ย่อมจับสภำพธรรมที่เป็นกิเลสนี้ รวมเป็น ๗๕๐ (๗๕ คูณ ๑๐) กิเลสที่จับอำรมณ์ภำยใน ๗๕๐ + กิเลสที่จับอำรมณ์ภำยนอก ๗๕๐ = ๑๕๐๐ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑, พระสุตตันตปิฎก,อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
  • 62. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กิเลส ๑๕๐๐ ตัณหำ ๑๐๘ (ต่อ) ตัณหำ ๑๐๘ • ตัณหำหลักมี ๓ คือ กำมตัณหำ ภวตัณหำ วิภวตัณหำ • ตัณหำทั้งหลำยต้องอำศัยทวำรทั้ง ๖ ในกำรปรำกฏ แต่ละทวำรมีทั้งที่เป็น ปัจจุบัน อดีต และอนำคตกำล จำแนกตำมอำรมณ์และกำล ตัณหำแต่ละ อย่ำงนับได้ ๑๘ (๖ คูณ ๓) • อำรมณ์ที่เป็นเหตุให้เกิดตัณหำมีทั้งอำรมณ์ภำยใน ๑ ภำยนอก ๑ ดังนั้น ตัณหำแต่ละอย่ำงจึงนับได้ ๓๖ (๑๘ คูณ ๒) • รวมเป็นตัณหำ ๑๐๘ (๓๖ คูณ ๓) พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑, พระสุตตันตปิฎก,อังคุตตร นิกาย จตุกกนิบาต
  • 63. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” กิเลส ๑๕๐๐ ตัณหำ ๑๐๘ (ต่อ) จำนวนของกิเลสตัณหำที่ว่ำมำก ยังไม่เท่ำควำมร้ำยกำจของมัน ที่มำกมำย กว่ำอย่ำงเทียบไม่ได้ • แม้ไฟนรกที่เป็นยอดแห่งควำมร้อน ยังไม่สำมำรถเผำกิเลสให้มอดไหม้ไป ได้ • แม้น้ำกรดที่เป็นยอดแห่งควำมเย็น ยังไม่สำมำรถกัดกิเลสให้สลำยไปได้ • แม้เทวดำผู้เสวยสุขอยู่บนเทวโลก ยังไม่สำมำรถใช้ควำมสุขนั้นลบล้ำงกิเลส ได้ • แม้พระพรหมผู้เสวยสุขสงบที่ประณีตที่สุด ยังไม่สำมำรถใช้ควำมสงบจำก ฌำนนั้น ประหำรหักกิเลสไปจำกใจได้ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑, พระสุตตันตปิฎก,อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
  • 64. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” หนทำงประหำรกิเลส หลักปฏิบัติทั่วไปของชำวพุทธโดยย่อ คือ ทำน ศีล ภำวนำ โดยทรำบกันดีแล้ว ว่ำ ทำน และ ศีล ให้ผลที่สุดในชำติหน้ำถึงแค่สวรรค์สมบัติเท่ำนั้น ภำวนำ นั้นนับเป็นหลักปฏิบัติขั้นสูง เฉพำะส่วนของ สมถภำวนำ ก็ให้ผลที่สุด ในชำตินี้คือ ฌำน และ อภิญญำ และผลที่สุดในชำติหน้ำคือไปบังเกิดเป็น พระพรหม ยังไม่สำมำรถประหัตประหำรกิเลสลงได้ ผู้ที่ต้องกำรประหำรกิเลสให้สิ้นซำก เพื่อออกจำกวัฏสงสำรนั้น ต้องศึกษำและ บำเพ็ญ “วิปัสสนำภำวนำ”
  • 65. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” วิปัสสนำ “ปญฺจกฺขนฺเธสุ วิวิเธน อนิจฺจำทิ อำกำเรน ปสูสตีติ วิปสฺสนำ” “ธรรมชำติใด ย่อมเห็นแจ้งในขันธ์ ๕ หรือ รูปนำม โดยประกำรต่ำงๆคือ โดยอำกำรที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ ธรรมชำตินั้น เรียกชื่อว่ำ วิปัสสนำ” “วิเสเสน ปสฺสตีติ วิปสฺสนำ” “ปัญญำที่สำมำรถรู้เห็นรูปนำม โดยอำกำรต่ำงๆ เป็นพิเศษ เรียกว่ำ วิปัสสนำ”* *จำกคัมภีร์ ปรมัตถทีปนีฎีกำ
  • 66. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อำรมณ์วิปัสสนำภำวนำ อำรมณ์หรือเครื่องมือในกำรบำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำมีเพียงอย่ำงเดียวคือ “ขันธ์ ๕” ซึ่งได้แก่ ๑. รูปขันธ์ ๒. เวทนำขันธ์ ๓. สัญญำขันธ์ ๔. สังขำรขันธ์ ๕. วิญญำณขันธ์ รูป นำม
  • 67. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” มุ่งหน้ำสู่โลกุตรภูมิ เมื่อบุคคลมีปัญญำเห็นภัยในวัฏสงสำร ก็จะมีควำม ประสงค์ที่จะประหำรกิเลสที่ติดแน่นอยู่ในจิตตน โดยเริ่ม ปฏิบัติวิปัสสนำภำวนำ ถือเอำขันธ์ ๕ (รูปนำม) เป็น อำรมณ์ จนอินทรีย์ทั้ง ๕* แก่กล้ำ และสมดุล สภำวะ แห่งวิปัสสนำญำณก็จักบังเกิดแก่บุคคลนั้น และนำพำ บุคคลนั้นบรรลุถึง โลกุตรภูมิ (ภูมิที่พ้นจำกโลก) *อินทรีย์ ๕ คือ สัทธนทรีย์, วิริยินทรีย์, สตินทรีย์, สมำธินทรีย์ และ ปัญญินทรีย์
  • 68. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” โลกุตรภูมิ ภูมิที่พ้นจำกโลก มี ๔ ลำดับดังนี้ ๑. โสตำปันนโลกุตรภูมิ ๒. สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ ๓. อนำคำมีโลกุตรภูมิ ๔. อรหัตโลกุตรภูมิ ผู้บรรลุโลกุตรภูมิแต่ละขั้น สำมำรถประหำรกิเลสตัณหำให้หมดไปได้เป็น ลำดับๆ จนหมดสิ้นไปในขั้นอรหัตโลกุตรภูมิ
  • 69. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” โสตำปันโลกุตรภูมิ เป็นพระอริยบุคคลขั้นแรกในพุทธศำสนำ เมื่อผู้เห็นภัยในวัฏสงสำรได้บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ โดยถือเอำขันธ์ ๕ (รูป นำม) เป็นอำรมณ์ไปอย่ำงต่อเนื่อง จนอินทรีย์ทั้ง ๕ แก่กล้ำและสมดุลกันดี “สภำวญำณ” ก็จะเกิดขึ้น
  • 70. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ ๑.) นำมรูปปริจเฉทญำณ – เกิดปัญญำ รู้แจ่มแจ้งว่ำอะไรเป็นรูป อะไรเป็น นำม รูปกับนำมเหมือนหรือต่ำงกันอย่ำงไร ๒.) ปัจจยปริคคหญำณ – เกิดปัญญำ รู้ในเหตุปัจจัยหรือเหตุผลแห่งรูปนำม ๓.) สัมมสนญำณ – เกิดปัญญำรู้รูปนำม โดยอำกำรที่ปรำกฏเป็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ)* *ญำณที่ไตรลักษณ์จะปรำกฏ จะเกิดทุกขเวทนำอย่ำงหนักแก่ผู้บำเพ็ญ ทำให้บำงท่ำนที่ไม่ เข้ำใจ อำจล้มเลิกกำรบำเพ็ญเพียรไป เนื่องจำกทุกขเวทนำอันรุนแรงนี้ **ปัญญำที่เกิดในญำณ หมำยควำมถึง ภำวนำมยปัญญำเท่ำนั้น
  • 71. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) ๔.) อุทยัพพยญำณ – เกิดปัญญำกำหนดรู้ควำมเกิดดับแห่งรูปนำม ในญำณนี้จะเกิดวิปัสสนูปกิเลส (ธรรมเครื่องเข้ำไปทำให้วิปัสสนำเศร้ำหมอง) มีอยู่ ๑๐ ประกำรคือ โอภำส (แสงสว่าง), ญำณ (ปัญญาจากวิปัสสนา), ปีติ, ปัสสัทธิ (ความสงบกายใจ), สุข, อธิโมกข์ (ศรัทธากล้า), ปัคคำหะ (ความเพียร), อุปัฏฐำนะ (สติอันว่องไว), อุเบกขำ และ นิกันติ (ความติดใจในคุณวิเศษทั้ง ๙ ประการนี้) *หำกติดอยู่ในวิปัสสนูปกิเลสนี้ ก็จะไม่สำมำรถบำเพ็ญวิปัสสนำต่อไปได้
  • 72. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) ๕.) ภังคญำณ – เกิดปัญญำกำหนดรู้ควำมแตกสลำยไปแห่งรูปนำม ในขั้นนี้อำจจะได้เห็น อุปฺปำทนิโรธ ซึ่งเป็นควำมดับที่ยังมีโอกำสเกิดขึ้นอีก ยังไม่ใช่เป็นควำมดับที่แน่แท้ จึงต้องมีสติ และบำเพ็ญเพียรต่อไป ๖.) ภยญำณ – เกิดปัญญำเห็นรูปนำมเป็นภัยที่น่ำกลัว ๗.) อำทีนวญำณ – เกิดปัญญำกำหนดเห็นโทษแห่งรูปนำม ๘.) นิพพิทำญำณ – เกิดปัญญำกำหนดรู้ควำมเบื่อหน่ำยในรูปนำม ๙.) มุญจิตุกัมยตำญำณ - ญำณปรำรถนำใคร่หลุดพ้นไปจำกรูปนำม
  • 73. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) ๑๐.) ปฏิสังขำญำณ – ญำณที่พิจำรณำรูปนำมโดยไตรลักษณ์อีกครั้งหนึ่ง (ครั้งแรกในญำณที่ ๓ คือ สัมมสนญำณ) ครั้งนี้พิจำรณำด้วยปัญญำกล้ำกว่ำ ครั้งแรก ต้องพิจำรณำเพรำะไตรลักษณ์เปรียบเหมือนประตูสู่นิพพำน ทุกขเวทนำในสัมมสนญำณ – มำกแห่ง แต่ไม่รุนแรงมำก ทุกขเวทนำในปฏิสังขำญำณ – น้อยแห่ง แต่รุนแรงมำก
  • 74. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) ๑๑.) สังขำรุเบกขำญำณ – ญำณที่วำงเฉยในรูปนำม เพรำะเห็นชัดแจ้งด้วย ปัญญำแล้ว ว่ำรูปนำมนี้ไม่มีอะไรที่จะยึดถือเอำเป็นที่พึ่งได้ ๑๒.) อนุโลมญำณ – เป็นญำณที่เห็นพ้องต้องกันกับวิปัสสนำญำณเบื้องต้น ทั้ง ๘ ตั้งแต่อุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณ ๑๓.) โคตรภูญำณ – ญำณที่เข้ำสู่ภูมิแห่งพระอริยะ ก้ำวล่วงจำกโคตรแห่ง ปุถุชน
  • 75. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) ๑๔.) มรรคญำณ - หลังจำกโคตรภูญำณแล้ว ก็จะถึง จุดมุ่งหมำยของกำรบำเพ็ญวิปัสสนำ นั่นก็คือ “มรรค ญำณ” ซึ่งเป็นญำณอันประเสริฐ แต่ก่อนจะศึกษำรำยละเอียดของ “มรรคญำณ” ควร ทำควำมเข้ำใจใน “วุฏฐำนคำมินีวิปัสสนำ” เสียก่อน
  • 76. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” วุฏฐำนคำมินีวิปัสสนำ คือ ตัววิปัสสนำที่จะเข้ำไปสู่มรรคญำณ บุคคลจะเข้ำถึงพระนิพพำนในทำงใด ขึ้นอยู่กับ บำรมีที่ได้สั่งสมมำ ลักษณะอินทรีย์ที่แก่กล้ำ ไตรลักษณ์ที่ชัดแจ้ง วิธีกำรเข้ำสู่มรรค ผู้ที่มีสัทธินทรีย์แก่กล้ำ เห็นอนิจจลักษณ์ชัดแจ้งที่สุด อนิมิตตวิโมกข์ (เข้ำสู่มรรคทำงอนิจ ลักษณ์) ผู้ที่มีสมำธินทรีย์แก่กล้ำ เห็นทุกขลักษณ์ชัดแจ้งที่สุด อัปปณิปิตวิโมกข์ (เข้ำสู่มรรคทำง ทุกขลักษณ์) ผู้ที่มีปัญญินทรีย์แก่กล้ำ เห็นอนัตตลักษณ์ชัดแจ้งที่สุด สุญญตวิโมกข์ (เข้ำสู่มรรคทำ งอนัตตลักษณ์) อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ
  • 77. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) ๑๕.) ผลญำณ – เมื่อมรรคญำณบังเกิดขึ้นแล้ว ผลญำณจะปรำกฏตำมติด ขึ้นมำทันที ไม่มีระหว่ำงกลำงคั่นเลย มรรคญำณปรำกฏขึ้นเพียงชั่วขณะจิต เดียวเท่ำนั้น ก็จะทำกำรประหำรกองกิเลสต่ำงๆตำมอำนำจของมรรคชั้นนั้นๆ ผลญำณในขั้นแรก ก็คือ โสตำปันนโลกุตรภูมิ นั่นเอง ๑๖.) ปัจจเวกขณญำณ – ภำวนำมยปัญญำที่กำหนดหรือพิจำรณำอีกทีหนึ่ง เมื่อมรรคญำณอุบัติ ทำกำรประหำรกิเลส ก็เข้ำสู่ผลญำณเสวยอำรมณ์ นิพพำน ๒ หรือ ๓ ขณะ หลังจำกนั้นจิตก็ลงภวังค์ และจึงเกิดปัจจเวกขณ ญำณ พิจำรณำอริยมรรค อริยผลที่ตนได้บรรลุไป สภำวะแห่งพระนิพพำ กอง กิเลสที่ประหำรไป กองกิเลสที่เหลืออยู่
  • 78. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สภำวญำณ (ต่อ) หลังจำกปัจจเวกขณญำณ บุคคลผู้บำเพ็ญเพียร ต่อไป จะตกลงมำยังญำณที่ ๔ คือ อุทยัพพยญำณ อีกครั้ง เพรำะได้บรรลุถึงญำณสูงสุดแล้ว เปรียบ เหมือนเดินมำสุดทำง ถ้ำจะเดินทำงต่อ ก็ต้องมำที่ จุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อที่จะเดินทำงสู่มรรคขั้นต่อไปคือ พระทุติยมรรค (สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ) นั่นเอง
  • 79. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลแห่งพระปฐมมรรค (โสตำปันนโลกุตรภูมิ) ๑.) ประหำรกิเลส ๒ ตัว คือ ทิฐิกิเลส (ควำมยึดมั่นว่ำรูปนำมเป็นของตน) และ วิจิกิจฉำกิเลส (ควำมสงสัยในพระรัตนตรัย) ๒.) ตัดวัฏสงสำร คือ ต้องเกิดอีกอย่ำงมำกไม่เกิน ๗ ชำติ (เอกพิชีโสดำบัน บำรมีกล้ำ เกิดอีก ๑ ชำติ, โกลังโกลโสดำบัน บำรมีปำนกลำง เกิดอีก ๒-๓ ชำติ และ สัตตักขัตตุปรมโสดำบัน บำรมีอ่อน เกิดอีก ๗ ชำติ) ๓.) ปิดประตูอบำย – จะไม่เกิดในอบำยภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกำย เดียรัจฉำน อีกต่อไป
  • 80. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ คือ ภูมิแห่งท่ำนที่จะมำเกิดอีกเพียงครั้งเดียว บุคคลผู้ผ่ำนโสดำปันโลกุตรภูมิ บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ ผ่ำนอุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณอีก ครั้ง สภำวะต่ำงๆจะชัดเจนกว่ำเดิม จำกนั้นเกิดอนุโลมญำณ ตำมด้วย โวทำ นะ (แทนโคตรภูญำณ) และพระทุตยมรรคก็จะบังเกิดขึ้น ผลแห่งพระทุติยมรรค (สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ) ๑.) กิเลสเบำบำงลงกว่ำพระโสดำบัน ๒.) สำมำรถเข้ำ สกิทำคำมีผลสมำบัติ เสวยอำรมณ์พระนิพพำนได้ตำมจิต ปรำรถนำ ๓.) เกิดอีกเพียงชำติเดียวเท่ำนั้น (ในมนุษยโลก หรือเทวโลก)
  • 81. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อนำคำมีโลกุตรภูมิ คือ ภูมิแห่งท่ำนที่จะไม่กลับมำเกิดอีก บุคคลผู้ผ่ำน สกิทำคำมีโลกุตรภูมิ บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ ผ่ำน อุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณอีกครั้ง สภำวะต่ำงๆจะชัดเจนกว่ำเดิม จำกนั้นเกิดอนุโลม ญำณ ตำมด้วย โวทำนะ และพระตติยมรรคก็จะ บังเกิดขึ้น
  • 82. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลแห่งพระตติยมรรค (อนำคำมีโลกุตรภูมิ) ๑.) ประหำรกิเลสได้อีก ๑ คือ โทสกิเลส (รวมประหำรแล้ว ๓ คือ ทิฐิกิเลส, วิจิกิจฉำ กิเลส และ โทสกิเลส) ๒.) สำมำรถเข้ำ อนำคำมีผลสมำบัติ เสวยอำรมณ์พระนิพพำนได้ตำมจิตปรำรถนำ ๓.) ไม่กลับมำเกิดในมนุษยโลก หรือเทวโลก (กำมภูมิ) อีก ไปอุบัติใน สุทธำวำสพรหมโลก เท่ำนั้น (แม้ว่ำจะ บำเพ็ญมำแต่วิปัสสนำ ไม่ได้บำเพ็ญสมถภำวนำ แต่ เมื่อใกล้จะจุติ จะเกิด มัคคสิทธิฌำน ขึ้น เป็นปัจจัยให้ ท่ำนไปอุบัติเกิด ณ พรหมโลกชั้นสุทธำวำส
  • 83. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลแห่งพระตติยมรรค (อนำคำมีโลกุตรภูมิ) (ต่อ) พระอนำคำมีจะไปจุติในพรหมโลกสุทธำวำสชั้นใด ขึ้นกับบำรมีอินทรีย์ที่บำเพ็ญมำ ๑.) พระอนำคำมีผู้มีสัทธินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ อวิหำสุทธำวำสพรหมโลก ๒.) พระอนำคำมีผู้มีวิริยินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ อตัปปำสุทธำวำสพรหมโลก ๓.) พระอนำคำมีผู้มีสตินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ สุทัสสีสุทธำวำสพรหมโลก ๔.) พระอนำคำมีผู้มีสมำธินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ สุทัสสีสุทธำวำสพรหมโลก ๕.) พระอนำคำมีผู้มีปัญญินทรีย์แก่กล้ำ จะไปจุติ ณ อกนิฏฐสุทธำวำสพรหมโลก
  • 84. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลแห่งพระตติยมรรค (อนำคำมีโลกุตรภูมิ) (ต่อ) เมื่อพระอนำคำมีไปจุติเป็นพระพรหม ณ สุทธำวำสพรหมชั้นต่ำงๆแล้ว ทุกท่ำนก็จะสำเร็จ เป็นพระอรหันต์และดับขันธ์เข้ำสู่พระนิพพำนตำมประเภทแห่งพระอนำคำมีทั้ง ๕ ๑.) อันตรำปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลภายในอายุครึ่งแรก ของสุทธาวาสพรหมโลกที่ท่านอยู่ ๒.) อุปหัจจปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลภายในอายุครึ่งหลัง ของสุทธาวาสพรหมโลกที่ท่านอยู่ ๓.) อสังขำรปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลในภูมินั้นโดย สะดวกสบาย ๔.) สังขำรปรินิพพำยี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วสาเร็จอรหัตผลในภูมินั้นโดยต้องใช้ ความพยายามอย่างแรงกล้า ๕.) อุทธังโสโตอกนิฏฐคำมี – พระอนาคามีผู้เป็นพระพรหมแล้วไปจุติในสุทธาวาสพรหมโลกชั้น สูงๆขึ้นไป แล้วจึงบรรลุอรหัตผล ณ สุทธาวาสพรหมโลกชั้นสูงสุด
  • 85. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” อรหัตโลกุตรภูมิ คือ ภูมิที่พ้นจำกโลก บุคคลผู้ผ่ำนอนำคำมีโลกุตรภูมิ บำเพ็ญวิปัสสนำภำวนำ ผ่ำนอุทยัพพยญำณ มำจนถึงสังขำรุเบกขำญำณอีกครั้ง สภำวะต่ำงๆจะ ชัดเจนกว่ำเดิม จำกนั้นเกิดอนุโลมญำณ ตำมด้วย โวทำนะ และพระจตุตถ มรรคก็จะบังเกิดขึ้น ประหัตประหำรกองกิเลสทั้งปวงให้สิ้นไปจำกขันธสันดำน
  • 86. ๔.) ภำวนำภำคที่ ๒ วิปัสสนำภำวนำ เนื้อหำสำระของหนังสือเรื่อง “ภำวนำทีปนี” ผลแห่งพระจตุตถมรรค (อรหัตโลกุตรภูมิ) ประหำรกิเลสที่เหลืออีก ๗ ประกำรคือ โลภกิเลส (กามราคะ, รูปราคะ, อรูปราคะ), มำนกิเลส (ความ ถือตัวว่าดี ว่าไม่ดี ว่าสูง ว่าต่า), อุทธัจจกิเลส (ความฟุ้ งซ่าน), ถีนกิเลส (ความง่วงเหงา หดหู่), อหิริกกิเลส (ความไม่ละอาย ต่ออกุศล), อโนตัปปกิเลส (ความไม่เกรงกลัวต่ออกุศล) และ โมหกิเลส (ความมืดมน มัวเมา) เมื่อหมดสิ้นซึ่งกิเลสทั้งปวง ก็ไม่มีเหตุปัจจัยให้มีกำรเกิดอีกต่อไป