SlideShare a Scribd company logo
1 of 98
Download to read offline
ศึกษาความเป็นมาและ
วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ขององค์กรพุทธฉือจี้
เพื่อนาเสนอ พระครูพิพิธสุตาทร,ดร.
ในรายวิชา ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖
และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
จัดทาโดย
นางสาววราลี ตั้งวินิต
นางสาวอัญชลี จตุรานน
วัตถุประสงค์
๑.) เพื่อศึกษาถึงบริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
๒.) เพื่อศึกษาถึงรูปแบบขององค์กรพุทธฉือจี้
๓.) เพื่อศึกษาการตีความหลักคาสอนขององค์กรพุทธฉือจี้
๔.) เพื่อศึกษาถึงวิธีการสอน และวิธีการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
๕.) เพื่อศึกษาถึงอิทธิพลขององค์กรพุทธฉือจี้ต่อสังคมไต้หวัน สังคมไทย
และสังคมโลก
๖.) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงการประยุกต์ใช้แนวทางขององค์กรพุทธฉือจี้
กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
โครงร่างเนื้อหา
๑.) บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
๒.) รูปแบบขององค์กรพุทธฉือจี้
๓.) การตีความหลักคาสอนขององค์กรพุทธฉือจี้
๔.) วิธีการสอน และวิธีการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
๕.) อิทธิพลขององค์กรพุทธฉือจี้ต่อสังคมไต้หวัน สังคมไทย และสังคม
โลก
๖.) วิเคราะห์ถึงการประยุกต์ใช้แนวทางขององค์กรพุทธฉือจี้กับการเผย
แผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
๗.) บรรณานุกรม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.) ทราบถึงบริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
๒.) ทราบถึงรูปแบบขององค์กรพุทธฉือจี้
๓.) ทราบการตีความหลักคาสอนขององค์กรพุทธฉือจี้
๔.) ทราบถึงวิธีการสอน และวิธีการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
๕.) ทราบถึงอิทธิพลขององค์กรพุทธฉือจี้ต่อสังคมไต้หวัน สังคมไทย
และสังคมโลก
๖.) ทราบถึงการประยุกต์ใช้แนวทางขององค์กรพุทธฉือจี้กับการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
แนวคิดในการศึกษา
๑. ควรวางใจเป็นกลาง ศึกษาอย่างไม่มีอคติ เพื่อจะได้เปิดใจกว้างในการ
รับข้อมูล และทาความเข้าใจอย่างไม่มีอคติ
๒. ควรทาความเข้าใจในเป้ าหมายของพุทธศาสนามหายาน เพื่อให้เข้าใจ
ถึงที่มาและเหตุผลของแต่ละคาสอน
๓. เมื่อศึกษาแล้วควรวิเคราะห์ประเด็นที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการ
เผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย เพื่อให้การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้
เกิดประโยชน์สูงสุด
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
• ชื่อเป็นทางการ สาธารณรัฐจีน (Republic of China - ROC)
• ประกอบด้วย หมู่เกาะน้อยใหญ่ ๗๘ เกาะ มีเกาะไต้หวันเป็นเกาะที่
ใหญ่ที่สุด
• ขนาดเล็กกว่าประเทศไทยประมาณ ๑๔ เท่า (๓๕,๙๘๐ ตาราง
กิโลเมตร)*
• มีประชากรหนาแน่นมากเป็นอันดับ ๒ ของโลก (๒๓ ล้านคน)**
• ถูกยึดครองโดยชาติมหาอานาจนักล่าอาณานิคมตะวันตกมาโดยตลอด
บริบททางด้านประวัติศาสตร์และการเมืองของไต้หวัน
*ศุภลักษณ์ สนธิชัย, ไตัหวัน : คู่มือนักเดินทางฉบับพกพา, หนังสือในเครือนิตยสารเที่ยวรอบโลก, ( กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์อทิตตา, ๒๕๔๖), หน้า ๑๓, ๒๗.
**กรมประชาสัมพันธ์สาธารณรัฐจีน, ไต้หวันในคมเลนส์ 2003 - 2004, (กรุงเทพมหานคร : บริษัทโรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1987) จากัด, 2003), หน้า ๘.
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ประวัติการถูกยึดครองโดยประเทศมหาอานาจของไต้หวัน
บริบททางด้านประวัติศาสตร์และการเมืองของไต้หวัน
ปี พ.ศ. ถูกยึดครองโดย ระยะเวลาที่ถูกยึดครอง
พ.ศ.๒๐๖๐ โปรตุเกส ๑๐๗
พ.ศ.๒๑๖๗ ฮอลันดา ๒
พ.ศ.๒๑๖๙ สเปน ๑๕
พ.ศ.๒๑๘๔ ฮอลันดา ๑๙
พ.ศ.๒๒๐๓ จีน ๒๓๕
พ.ศ. ๒๔๓๘ ญี่ปุ่น ๕๐
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
เมื่อแพ้สงครามโลกครั้งที่ ๒ ญี่ปุ่ นจึงต้อง
คืนไต้หวันให้จีน* ก่อนไปญี่ปุ่นได้วางรากฐานทาง
เศรษฐกิจให้ไต้หวันในหลายด้าน ไต้หวันจึงพัฒนา
ชาติได้อย่างรวดเร็ว
ชาวไต้ หวันเป็ นพลเมืองที่ เคารพ
กฎระเบียบ ทาให้เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ
อย่างไรก็ตามไต้หวันก็ยังคงมีปัญหา
การเมืองกับจีนแผ่นดินใหญ่มาโดยตลอด เพราะจีน
แผ่นดินใหญ่ไม่ยอมรับความเป็นเอกเทศของไต้หวัน
บริบททางด้านประวัติศาสตร์และการเมืองของไต้หวัน
*ศุภลักษณ์ สนธิชัย, ไตัหวัน : คู่มือนักเดินทางฉบับพกพา, หน้า ๑๗-๑๘. แผนที่ไต้หวันและความหนาแน่นของประชากร
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
ไต้หวันมีพื้นที่ที่เหมาะกับเกษตรกรรมเพียงหนึ่งในสามของ
ประเทศ* รัฐบาลจึงได้ออกนโยบายควบคุมการนาเข้าสินค้าส่งเสริมการ
ส่งออก
รัฐบาลเริ่มทุ่มทุนมหาศาลเพื่อพัฒนาประเทศให้ก้าวไปสู่การ
เป็ นประเทศอุตสาหกรรมภายใน ๑๐ ปี ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจของ
ไต้หวันเติบโตอย่างรวดเร็วจนได้รับการยกย่องในผลสาเร็จนี้ว่า เป็น ”
เศรษฐกิจมหัศจรรย์”
เศรษฐกิจที่เติบโตอย่างรวดเร็วเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ไต้หวัน
ได้พัฒนาสื่อสารมวลชนในด้านต่างๆขึ้นมาทัดเทียมนานาอารยประเทศ
ได้อย่างรวดเร็ว
บริบททางด้านเศรษฐกิจและสื่อสารมวลชนของไต้หวัน
*วิภา อุตมฉันท์-จารัส น้อยแสงศรี, ไต้หวัน : จากวันวานถึงวันนี้, หน้า ๘๕.
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
ไต้หวันใช้หลักปรัชญาของขงจื้อเป็นพื้นฐานของหลักการสังคม* ขงจื้อมีคาสอน
ว่า สังคมจะมีระเบียบเรียบร้อยหากทุกคนรู้จักหน้าที่ และปฏิบัติตามความสัมพันธ์ต่อกัน
๕ ประการ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างบิดากับบุตร พี่กับน้อง สามีกับภรรยา ผู้ปกครองกับผู้
ใต้ปกครอง และ มิตรกับมิตร
นอกจากนี้ชาวไต้หวันยังได้รับการปลูกฝังในเรื่องความกตัญญู ความขยัน และ
ความรักชาติ ไต้หวันให้ความสาคัญกับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและความเป็ นระเบียบ
เรียบร้อยของสังคมเป็นอย่างมาก
ชาวไต้หวัน ร้อยละ ๙๓ นับถือศาสนาพุทธ (นิกายมหายาน) ขงจื๊อและเต๋า ร้อย
ละ ๔.๕ นับถือคริสต์ และร้อยละ ๒.๕ นับถือศาสนาอื่นๆ** กฎหมายรัฐธรรมนูญไต้หวัน
ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาได้เต็มที่
บริบททางด้านสังคมและวัฒนธรรมของไต้หวัน
*กวงฮว๋าการพิมพ์, สาธารณรัฐจีนวันนี้, ( กรุงเทพมหานคร : Class Publishing House Co. Ltd, ๒๕๓๔ ), หน้า ๙๙-๑๐๘.
**ศุภลักษณ์ สนธิชัย, ไตัหวัน : คู่มือนักเดินทางฉบับพกพา, หนังสือในเครือนิตยสารเที่ยวรอบโลก ,( กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อทิตตา,๒๕๔๖).
หน้า ๑๓.
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
ชาวไต้หวันต้องต่อสู้ดิ้นรนกับภัยพิบัติจากธรรมชาติ
ทุกปี ไม่เคยเว้น สาเหตุเพราะไต้หวันเป็นเกาะขนาดเล็ก ต้อง
ประสบกับภัยมรสุม รวมถึงใต้เกาะยังมีการขยับตัวของแผ่น
เปลือกโลกตลอดเวลา*
ชาวไต้หวันจึงคุ้นเคยกับการเปลี่ยนแปลงของดินฟ้ า
อากาศ รวมถึงการเห็นความสูญเสียที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดฝัน
จากภัยพิบัติต่างๆ ชาวไต้หวันจึงมีภาษิตโบราณว่า “จงรู้จัก
ถนอมบุญ” (สีฝู)**
ภัยพิบัติต่างๆเป็นสาเหตุกระตุ้นให้ชาวไต้หวัน มีการ
พัฒนาศักยภาพอยู่ตลอดเวลา มีการรวมตัวกันเป็นองค์กรการ
กุศล เพื่อช่วยบรรเทาทุกข์ซึ่งกันและกัน โดยไม่รอความ
ช่วยเหลือจากภาครัฐ
บริบททางด้านภูมิประเทศและภูมิอากาศของไต้หวัน
*ศุภลักษณ์ สนธิชัย, ไตัหวัน : คู่มือนักเดินทางฉบับพกพา, หน้า ๒๗.
**เดิมแท้ ชาวหินฟ้ า, คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ของไต้หวัน,
(กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม, ๒๕๔๘), หน้า ๘๓.
แผนที่ไต้หวันและประเทศข้างเคียง
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
จุดเปลี่ยนของพุทธศาสนาในไต้หวันคือช่วงหลังสงครามโลก
ครั้งที่ ๒ มีคณะสงฆ์จีนที่ติดตามรัฐบาลก๊กมินตั๋งมาไต้หวัน ล้วนเป็นผู้
ทรงคุณธรรมและภูมิธรรม คณะสงฆ์ชุดนี้ได้จัดตั้งพุทธสมาคมแห่ง
ไต้หวัน (Buddhist Association of the Republic of China - BAROC)*
พระธรรมาจารย์อิ้นซุ่น ผู้รอบรู้แตกฉานในพระไตรปิฎกได้จัด
ให้มีการบวชเพื่อฟื้นฟูศาสนาและก่อตั้งวิทยาลัยสงฆ์หลายแห่ง**
ปั จจุบันพระพุทธศาสนามหายานในไต้ หวันกลับมา
เจริญรุ่งเรืองขึ้นอีกครั้ง โดยมีลักษณะเฉพาะคือ การสร้างสังคมที่มี
วัฒนธรรม ปลูกจิตสานึกอย่างเด่นชัด และกระตุ้นภาวะแห่งการตื่น –
รู้ตัว
บริบททางด้านศาสนาของไต้หวัน
*Charles B. Jones, Buddhism in Taiwan : A Historical Survey, p. 204.
**http://www.dmc.tv/pages//Taiwan_Buddhism.html , A History of
Buddhism in Taiwan , 17 April 2008.
พระธรรมาจารย์อิ้นซุ่น
บริบทความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
ไต้หวันให้สิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนาต่างๆ อย่างเสรี ทา
ให้ไต้หวันมีพัฒนาการขององค์กรทางศาสนามาโดยตลอด และชาว
ไต้หวันก็มีชีวิตผูกพันกับศาสนาและจิตวิญญาณอย่างเหนียวแน่น*
องค์กรพุทธในไต้หวันเป็ นพุทธศาสนาแนวมหายานที่เน้น
อุดมการณ์พรหมวิหาร ๔ แบบพระโพธิสัตว์ คือ มุ่งช่วยเหลือสรรพสัตว์
เป็นเป้ าหมายหลักของชีวิต มีองค์กรพุทธใหญ่ๆจานวนมาก เช่น องค์กร
พุทธฉือจี้ ฝอกวงซาน ฝอถอเจี้ยว อวี้จงซิน จงไถซาน หลิงจิวซาน
องค์กรพุทธฝูจื้อ เซียงกวงหนีซื่อ** และหนึ่งในองค์กรพุทธที่ยิ่งใหญ่
และทรงพลังที่สุดในเวลานี้ ก็คือ “องค์กรพุทธฉือจี้”
บริบททางด้านศาสนาของไต้หวัน
*เดิมแท้ ชาวหินฟ้ า, คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมฯ, หน้า ๔๗.
**มูลนิธิฉือจี้ไต้หวัน, ธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน นักประยุกต์พุทธศาสนาเข้ากับมนุษยโลก, หน้า ๑-๒.
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
• ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน (證嚴 – Zhengyan ) เกิดเมื่อวันที่ ๑๔
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ ที่ตาบลชิงสุ่ย เมืองไถจง
• เมื่ออายุได้ ๑๕ ปี แม่บุญธรรมของท่านป่วยด้วยโรคกระเพาะอาหาร
ท่านจึงได้ตั้งจิตขอให้มารดาหายป่วย โดยขอลดอายุของตนเองลง ๑๒ ปี
และจะกินมังสวิรัติตลอดชีวิต
• เมื่ออายุได้ ๒๐ ปี บิดาบุญธรรมป่วยและเสียชีวิต ท่านทุกข์ใจมากจึง
คิดอยากออกบวช*
• ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ท่านได้บวชกับท่านธรรมาจารย์อิ้นซุ่น ท่านไม่รับ
บิณฑบาต เพราะเห็นว่าทุกคนมีความทุกข์ยากลาบากมากพอแล้ว ท่าน
จึงทางานต่างๆเพื่อหาเลี้ยงตนเองและตั้งกฎไว้ว่า “วันใดไม่ทางาน วัน
นั้นจะไม่กิน“
ภูมิหลังผู้ก่อตั้งองค์กรพุทธฉือจี้
*มูลนิธิฉือจี้ไต้หวัน, ธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน นักประยุกต์พุทธศาสนาเข้ากับมนุษยโลก, หน้า ๑-๒.
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ท่านได้เดินทางไปเยี่ยมอุบาสกผู้หนึ่งที่
โรงพยาบาลเอกชนที่ฟงหลิน และได้พบกองเลือดกองใหญ่นองอยู่บน
พื้น เมื่อสอบถามจึงได้ความว่า เป็นกองเลือดของหญิงยากจนผู้หนึ่งซึ่ง
ต้องแท้งลูกเพราะญาติไม่มีเงิน ๘,๐๐๐ เหรียญ เพื่อจ่ายค่ามัดจาก่อนที่
แพทย์จะลงมือผ่าตัดช่วยชีวิต
เหตุการณ์ครั้งนั้นทาให้ท่านอาจารย์ตั้งปณิธานแน่วแน่ว่า
จะต้องทางานเพื่อหาทางช่วยเหลือผู้ยากไร้ที่ขาดที่พึ่งพิง
ภูมิหลังผู้ก่อตั้งองค์กรพุทธฉือจี้
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
หลังจากเหตุการณ์ที่โรงพยาบาลฟงหลิน ก็ได้
มีแม่ชีคาทอลิก ๓ ท่านมาเยี่ยมท่านธรรมาจารย์และได้
ท่านอยู่อย่างลาบาก จึงได้ชักชวนให้เปลี่ยนมาบวชเป็น
ชีคาทอลิก และให้ความเห็นว่าศาสนาพุทธไม่มีช่วย
แก้ปัญหาสังคมอย่างเป็นรูปธรรม
ท่านจึงได้เริ่มงานการกุศลการชวนสานุศิษย์
ที่เป็ นแม่บ้านธรรมดา ๓๐ คน ให้รู้จักออมเงินที่จะไป
จ่ายตลาดคนละ ๕๐ เซ็นต์ต่อวันลงในกระปุกไม้ไผ่ โดย
มีคาขวัญว่า “แม้เงิน ๕๐ เซนต์ ก็ช่วยเหลือผู้ยากไร้ได้“
ต่อมาก็มีผู้คนสมทบทุนมากขึ้นตามลาดับ จนถึงวันที่
๒๔ มีนาคม ๒๕๐๙ มูลนิธิฉือจี้ จึงได้ถือกาเนิดขึ้นที่
เมืองฮวาเหลียนนั่นเอง
จุดกาเนิดองค์กรพุทธฉือจี้
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนกับสานุศิษย์กลุ่มแรก
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน ได้ยึดคติธรรมที่ท่านปรมาจารย์อิ้นซุ่น
ถ่ายทอดให้ยึดถือปฏิบัติเพียง ๖ คา คือ “เว่ยฝอเจี้ยว – เว่ยจ้งเซิง” (為
佛教 - 為眾生) หมายถึง “เพื่อพุทธศาสน์ - เพื่อสรรรพสัตว์“ ซึ่งกลายเป็น
ปรัชญาหลักขององค์กรพุทธฉือจี้จนถึงปัจจุบันนี้
จุดกาเนิดองค์กรพุทธฉือจี้
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
มูลนิธิพุทธฉือจี้ มีชื่อเต็มว่า “มูลนิธิเมตตาสงเคราะห์
พุทธฉือจี้“ (The Buddhist Compassion Relief Tzu Chi
Foundation) ในภาษาจีนกลาง ตัวอักษร ฉือจี้ (慈濟) ”ฉือ”
หมายถึง เมตตา และ ”จี้” หมายถึงช่วยเหลือหรือบรรเทาทุกข์*
จุดกาเนิดองค์กรพุทธฉือจี้
ภาพสัญลักษณ์ องค์กรพุทธฉือจี้
แสดงความหมายของสัญลักษณ์องค์กรพุทธฉือจี้
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
องค์กรพุทธฉือจี้เป็ นองค์กรที่ยิ่งใหญ่และมี
อิทธิพลต่อโลกในปัจจุบันนี้ ฉือจี้มีการกาหนด
เป้ าหมายหลักขององค์กรไว้อย่างชัดเจนเป็น ๔
ปณิธาน คือ
๑.) การทากิจกรรมสังคมสงเคราะห์
๒.) การจัดบริการรักษาพยาบาล
๓.) การจัดการศึกษา
๔.) การส่งเสริมวัฒนธรรม
พัฒนาการขององค์กรพุทธฉือจี้
และด้วยวิสัยทัศน์อันกว้างไกล บวกกับความ
เมตตาอันยิ่งใหญ่ ท่านธรรมาจารย์ก็ได้ขยายงาน
ในปณิธานต่างๆออกเป็นภารกิจย่อยทั้ง ๘ ดังนี้
• ภารกิจงานการกุศล
• ภารกิจบรรเทาทุกข์สากล
• ภารกิจการรักษาพยาบาล
• ภารกิจบริจาคไขกระดูก
• ภารกิจงานการศึกษา
• ภารกิจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
• ภารกิจด้านมนุษยธรรม
• ภารกิจงานอาสาสมัครชุมชน
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
จากจุดเริ่มต้นเล็กๆ ที่เปี่ ยมไปด้วยศรัทธาใน ความจริง
(truth ) ความดี (goodness) และความงาม (beauty) และเงินออมวัน
ละเล็กละน้อยเพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ จนถึงขณะนี้ เป็นเวลากว่า ๕๐ ปี
• องค์กรพุทธฉือจี้มีสานักงานสาขาใน ๔๗ ประเทศทั่วโลก รวมทั้ง
ประเทศไทยด้วย
• มีสมาชิกทั่วโลกราว ๑๐ ล้านคน
• มีโรงพยาบาล ๖ แห่ง มีสถานศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึง
มหาวิทยาลัย
• มีสถานีวิทยุ และสถานีโทรทัศน์ขนาดใหญ่และสานักพิมพ์งานเขียน
ต่างๆของท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนและมูลนิธิพุทธฉือจี้*
พัฒนาการขององค์กรพุทธฉือจี้
*รองศาสตราจารย์ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๔๐.
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
พัฒนาการขององค์กรพุทธฉือจี้
มูลนิธิพุทธฉือจี้ในประเทศมาเลเซีย
มูลนิธิพุทธฉือจี้ในประเทศอินโดนีเซีย
มูลนิธิพุทธฉือจี้ในประเทศฟิลิปปินส์
ประวัติความเป็นมาขององค์กรพุทธฉือจี้
๑. การต่อต้านความเชื่อเดิมว่าผู้หญิงต้องแต่งงานและดูแลครอบครัว
เท่านั้น
๒. การพบความทุกข์และการค้นหาความหมายของชีวิต
๓. การได้พบเห็นการเสียชีวิตเพราะความยากไร้ และการจุดประกาย
ความคิดจากแม่ชีคาทอลิก
๔. การเผยแพร่ปรัชญาฉือจี้จากกลุ่มแม่บ้านสู่นักวิชาการ
๕. การเติบโตในโลกยุคไร้พรมแดน
๖. การแสดงจุดยืนที่ชัดเจน แต่อ่อนโยนแบบสตรี
ปัจจัยที่ทาให้องค์กรพุทธฉือจี้เกิดขึ้นและเติบโตอย่างรวดเร็ว
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้
มูลนิธิพุทธฉือจี้ดาเนินมีปณิธานหลักในการทางาน ๔ ด้าน ซึ่งต่อมา
ได้แตกออกเป็ นภารกิจ ๘ ด้าน เป็ นคาขวัญว่า “เดินเพียงก้าวเดียวเกิดเป็ น
รอยเท้าทั้งแปด” (四大志業 ,八大腳印, 稱之為 “一步八腳印” ) ซึ่ง
ภารกิจทั้ง ๘ มีดังนี้*
โครงสร้างภารกิจหลัก
๑. ภารกิจด้านการกุศล (charity) ได้แก่ การดูแลผู้ยากไร้ในระยะยาว ให้การช่วยเหลือฉุกเฉิน
และออกเยี่ยมเยียนผู้ยากไร้ถึงที่บ้าน
๒. ภารกิจด้านการรักษาพยาบาล (medical) มีโรงพยาบาลฉือจี้คลินิกเพื่อการรักษาฟรี
เครือข่ายงานด้านการแพทย์ และหน่วยแพทย์อาสา บริการผู้ยากไร้ในพื้นที่ห่างไกลความเจริญ
๓. ภารกิจด้านการศึกษา (education) มีมหาวิทยาลัยฉือจี้รวมถึงโรงเรียนทุกระดับชั้น ที่เน้น
การปลูกจิตสานึกแห่งความรักและความเคารพต่อสรรพชีวิต
*รองศาสตราจารย์ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๔๑.
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้
ภารกิจหลักทั้ง ๘ ด้าน
๔. ภารกิจด้านมนุษยธรรม (humanitarian) การผลิตสื่อต่างๆ เพื่อเผยแพร่ภารกิจและคาสอนของฉือมี
สถานีโทรทัศน์ต้าไอ้ (Da-Ai TV) ที่ผลิตรายการส่งเสริมคุณภาพชีวิตตลอด ๒๔ ชั่วโมง มีเว็บไซท์ รายการวิทยุ และสื่อ
สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
๕. ภารกิจด้านการบรรเทาทุกข์ระหว่างประเทศ (international relief) (ขยายมาจากภารกิจการกุศล) ให้ความ
ช่วยเหลือเร่งด่วนแก่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ช่วยทุกประเทศโดยไม่จากัดเชื้อชาติ ศาสนา ลัทธิการเมือง
๖. ภารกิจด้านการบริจาคไขกระดูก (bone marrow registry) (ขยายมาจากภารกิจการรักษาพยาบาล) เป็นศูนย์
ข้อมูลและการรับบริจาคไขกระดูก เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติของเม็ดเลือด มีขนาดใหญ่
ที่สุดในเอเชีย และใหญ่เป็นอันดับสามของโลกรองจากอเมริกาและยุโรป
๗. ภารกิจด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (environmental protection) (ขยายมาจากภารกิจด้านการศึกษา) เพื่อ
กระตุ้นจิตสานึกของผู้คนในสังคมทุนนิยม ให้ยืดอายุสิ่งของให้นานที่สุด หรือจนหมดอายุ และการเปลี่ยนขยะ (วัสดุรี
ไซเคิล) ให้เป็นทอง (ร่อนทองจากกองขยะ) และการเลือกใช้วัสดุผลิตภัณฑ์ ที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
๘. ภารกิจด้านอาสาสมัครชุมชน (community volunteers) (ขยายมาจากภารกิจด้านมนุษยธรรม) กระจาย
ศูนย์กลางการปฏิบัติภารกิจเป็นศูนย์ย่อยๆ ตามความพร้อมของชุมชน เพื่อให้สมาชิกฉือจี้ที่อยู่ในเขตของชุมชนนั้นดูแลผู้
ประสบทุกข์ในเขตของตน ทาให้มีความเข้าใจปัญหาและสถานการณ์ได้ดี
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
โครงสร้างภารกิจหลัก
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
องค์กรพุทธฉือจี้มีองค์ประกอบหลัก ๒ ส่วน คือ
๑. สมณารามจิ้งซือ หรืออารามสงบคิด (The Pure Abode of Still
Thoughts) เป็นสถานที่พานักของท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนและกลุ่มภิกษุณี
เป็นสานักงานที่คอยสนับสนุนการทางานภารกิจทั้ง ๘ ด้านของฉือจี้สมณา
รามจิ้งซือจะไม่เกี่ยวข้องกับเงินบริจาคของมูลนิธิพุทธฉือจี้เพราะท่านธรรมา
จารย์เจิ้งเหยียนต้องการให้เงินที่ได้จากการบริจาค ไปสู่การช่วยเหลือผู้ที่สมควร
ได้รับการช่วยเหลือทั้งหมด ไม่ใช่เพื่อตัวท่านเองและหมู่คณะ
๒. มูลนิธิพุทธฉือจี้ เป็นส่วนของฆราวาสดาเนินการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่
ประจาฝ่ายต่างๆ และอาสาสมัครจานวนมาก ดาเนินงานภารกิจ ๔ ด้านของ
มูลนิธิภายใต้การให้คาปรึกษาจากท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน โดยในส่วนของ
มูลนิธิพุทธฉือจี้จะประกอบด้วยคณะดาเนินงานในฝ่ายต่างๆ
ลักษณะโครงสร้างองค์กร
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ลักษณะโครงสร้างองค์กร
สมณรามจิ้งซือ
มูลนิธิพุทธฉือจี้ที่ไต้หวัน
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ) ลักษณะโครงสร้างองค์กร
กิจการด้านการ
กุศล
งานบรรเทาทุกข์
ระหว่างประเทศ
งานบรรเทาทุกข์
จีนแผ่นดินใหญ่
ธนาคารไขกระดูก
สาขาในประเทศ
ธนาคารไขกระดูก
สาขาต่างประเทศ
กิจการด้าน
การแพทย์
โรงพยาบาลฮัว
เหลียน
โรงพยาบาลกวน
ซาน
โรงพยาบาลอวี้ห
ลี่
โรงพยาบาลต้า
หลิน
โรงพยาบาลซิน
เตี้ยน
โรงพยาบาล
ถันจื่อไถจง
กิจการด้าน
การศึกษา
มหาวิทยาลัยพุทธฉือ
จี้
โรงเรียนมัธยมศึกษา
พุทธฉือจี้
โรงเรียนประถมศึกษา
พุทธฉือจี้
วิทยาลัยเทคโนโลยี
พุทธฉือจี้
โรงเรียนประถมศึกษา
พุทธฉือจี้เชียงใหม่
โรงเรียนมัธยมศึกษา
พุทธฉือจี้ไถหนาน
กิจการด้านการ
ส่งเสริมมนุษยธรรม
สถานีโทรทัศน์ต้า
อ้าย
วารสารรายเดือน
คลื่นชีวิต
วารสารรายเดือนฉือ
จี้
แผนกตีพิมพ์
ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกิจการ
หลักทั้ง ๔ ด้าน ก็
จะมีหน่วยงานย่อย
ลงไปอีก ดังนี้
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ซึ่งภารกิจหลักทั้ง ๔ ด้านนี้ จะ
ดาเนินงานโดยทีมงานของฉือจี้
ซึ่งมีทั้งเจ้าหน้าที่และทีม
อาสาสมัคร ดังนี้
ลักษณะโครงสร้าง
องค์กร
ภารกิจหลัก ๔ ด้าน ดาเนินงานโดย
ทีมอาสาสมัคร
(ไม่ได้รับเงินเดือน)
๑.) คณะกรรมการกิตติมศักดิ์
๒.) คณะกรรมการฉือจี้
๓.) คณะกรรมการศรัทธา เมตตา ซื่อสัตย์
๔.) สมาคมครู
๕.) คณะกรรมการอาสาสมัครพิทักษ์
สิ่งแวดล้อม
๖.) สมาคมนักศึกษา
๗.) ทีมงานภาษาต่างประเทศ
๘.) สมาคมพ่อแม่อุปถัมภ์
เจ้าหน้าที่
(ได้รับเงินเดือน)
๑.)แพทย์
๒.) พยาบาล
๓.) ครู
รูปแบบองค์กรพุทธ
ฉือจี้(ต่อ)
จากโครงสร้างหน่วยงานและทีม
ดาเนินงานทั้งหมดนี้ สามารถสรุป
เป็นแผนผังองค์กรได้ดังนี้
ลักษณะโครงสร้างองค์กร
รูปแบบองค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
องค์กรพุทธฉือจี้มีการดาเนินงานที่เป็นระบบเรียบร้อย มีการจัดโครงสร้างองค์กร
ในลักษณะ ”เครือข่าย” คือมีการแบ่งหน่วยงานกันอย่างชัดเจน แต่ละหน่วยงานมีหน้าที่
ความรับผิดชอบของตัวเอง แต่ในขณะเดียวกันก็ยังมีความสัมพันธ์กับหน่วยงานอื่นๆใน
ลักษณะแนวราบ ตามแนวคิดของท่านธรรมาจารย์ที่ต้องการให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน
ขจัดข้อจากัดในเรื่องความเหลื่อมล้าทางตาแหน่งและฐานะ
สรุปลักษณะโครงสร้างองค์กร
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้
มหายานมาจากรากศัพท์ มหา+ยาน แปลว่า พาหนะที่
กว้างขวางใหญ่โตซึ่งสามารถขนสัตว์โลกให้ข้ามวัฏฏสงสารได้มาก อุดม
คติของพุทธศาสนามหายาน สอนให้ทุกคนบาเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์
เพื่อที่จะได้ช่วยปลดเปลื้องทุกข์ของสัตว์โลกได้อย่างกว้างขวาง
สาระสาคัญของพุทธศาสนาฝ่ายมหายานก็คือ การตรัสรู้ หรือ
ภาวะแห่งการตื่นรู้ ซึ่งฝ่ายมหายานถือว่า ทุกชีวิตมีความพร้อมต่อการที่
จะตรัสรู้อยู่แล้ว เพียงแต่รอคอยเงื่อนไขหรือการชี้แนะที่ถูกต้อง
เท่านั้น*
หลักคาสอนตามแนวทางของพระพุทธศาสนามหายาน
*ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์, วิถีแห่งมหายาน , หน้า ๑๙.
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
พุทธศาสนามหายานจี้เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีความเป็นพุทธะ
อยู่ในจิต การให้ความรักและความช่วยเหลือแก่ผู้อื่น คือการบ่มเพาะ
ธรรมชาติแห่งพุทธะให้เติบโต และคนเหล่านั้นจะสามารถมอบความรัก
และความช่วยเหลือแก่คนอื่นๆ ต่อไปได้* ชาวฉือจี้เชื่อว่ามนุษย์มี
ศักยภาพไร้ขีดจากัด และมีศักยภาพที่จะหลุดพ้นได้เช่นเดียวกับพุทธ
องค์
แนวคิดเรื่องธรรมชาติแห่งพุทธะในมนุษย์
*สุมาลี มหณรงค์ชัย, พุทธศาสนามหายาน, หน้า ๒๒.
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
บารมี ๖
ทานปารมิตา การให้ทาน
ศีลบารมี การรักษาศีล
ขันติบารมี การอดทน
วิริยบารมี การมีความเพียร
ธยานบารมี การมีสมาธิ
ปัญญาบารมี การมีปัญญา
อุดมการณ์พระ
โพธิสัตว์
โพธิสัตวจรรยา ๓
มหาปรัชญา เป็นผู้มีปัญญาเห็นแจ้งในสัจ
ธรรม
มหากรุณา เป็นผู้มีจิตกรุณาต่อสัตว์ทั้งหลาย
อย่างปราศจากขอบเขต
มหาอุปาย เป็นผู้มีวิธีการชาญฉลาดในการ
แนะนาสั่งสอนผู้อื่นให้เข้าถึงสัจธรรม
มหาปณิธาน ๔
เราจะละกิเลสให้หมด
เราจะศึกษาสัจธรรมให้เจนจบ
เราจะช่วยโปรดสัตว์ทั้งหลายให้สิ้น
เราจะบรรลุพุทธภูมิอันประเสริฐสุด*
อัปปมัญญา ๔
ไมตรี มีใจประกอบด้วยเมตตาแผ่ไปในทิศต่างๆ
กรุณา มีใจประกอบด้วยกรุณาแผ่ไปในทิศต่างๆ
มุทิตา มีใจประกอบด้วยมุทิตาแผ่ไปในทิศต่างๆ
อุเปกฺษา มีใจประกอบด้วยอุเบกขาแผ่ไปในทิศต่างๆ*เสถียร โพธินันทะ, ชุมนุมพระสูตรมหายาน, หน้า ฑ - ฒ.
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
มูลนิธิพุทธฉือจี้เน้นหลัก
“อัปปมัญญา ๔” เป็นหัวใจ
หลักในการดาเนินงานทุกๆ
อย่าง และได้นาตัวอักษร ๔
ตัวนี้ 慈 悲 喜 捨 มา
รวมกันเป็นคติพจน์ประจา
ของฉือจี้และกลายเป็น
ประโยคที่อยู่คู่กับ
สัญลักษณ์ของมูลนิธิพุทธ
ฉือจี้ไปในทุกสถานที่
อุดมการณ์พระโพธิสัตว์
อักษรอัปปมัญญา ๔ ตัว ที่ชาวฉือจี้ยึดเป็นหัวใจหลัก
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน ได้ให้ปรัชญาหลักในการดารงชีวิตแก่ชาวฉือจี้ไว้ว่า
“ก้าวแรกบนวิถีพุทธ คือ การลดกิเลสของเราและยอมรับในสิ่งที่เรามี
ครั้นแล้วจิตใจของเราจะผ่อนคลายและเริ่มมีปัญญา
ธรรมนั้นแสนง่าย เพียงแต่ขจัดความโลภ โกรธ หลง
แล้วเธอจะค้นพบธรรมชาติที่แท้จริงของตัวเอง
ไม่มีความจาเป็นที่จะต้องเรียนมากมาย
ถ้าเพียงแต่เราสามารถนาคาพูดง่ายๆเพียงหนึ่งคาไปสู่การปฏิบัติจริง
เราก็จะสามารถปลุกธรรมชาติที่แท้จริงแห่งความดีในตัวเราให้ตื่น”
หลักปรัชญาของชาวฉือจี้
Dharma Master Chen Yen, Jing Si Aphorisms, (Taiwan : Tzu Chi Cultural Publishing
Co., 2004 ), p. 064, 072, 076.
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
แนวคิดของท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนมีลักษณะเด่นคือความเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน
และปฏิบัติได้จริง มีความแตกต่างจากองค์กรพระพุทธศาสนามหายานอื่นๆ ดังนี้
หลักปรัชญาของชาวฉือจี้
หัวข้อ องค์กรพุทธฉือจี้ องค์กรพุทธศาสนามหายานอื่นๆ
ลักษณะหลัก
คาสอน
คาสอนเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน คาสอนเน้นแนวอภิปรัชญา ต้องใช้การ
ตีความอย่างลึกซึ้ง
การนับถือ
พระโพธิสัตว์
นับถือความมีปัญญาของพระศากยมุนี
พระพุทธเจ้า
นับถือความเมตตาของพระโพธิสัตว์กวนอิม
นับถือการอุทิศตนของพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์
นับถือความเมตตาของพระโพธิสัตว์
กวนอิม
นับถือปัญญาของพระมหาสถาม
ปราปต์โพธิสัตว์
ท่าทีต่อหลัก
คาสอน
เน้ นการนาคาสอนไปปฏิบัติจริงในการ
ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
เน้นการขบคิดตีความหลักปรัชญา
ชั้นสูง
พิธีกรรม ไม่มีพิธีกรรมการสวดบูชาเทพเจ้า มีการสวดบูชาพระโพธิสัตว์
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ศีล
ชาวฉือจี้มีศีล ๒ ระดับ คือศีลสาหรับฆราวาส
และศีลสาหรับนักบวช ศีลสาหรับฆราวาสคือศีล
๕ เหมือนพุทธศาสนาเถรวาท และมีการเพิ่มศีล
อีก ๕ ข้อสาหรับอาสาสมัครฉือจี้ดังนี้
๑.) มีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณทุกระดับ
๒.) เคารพกฎจราจร
๓.) ไม่ลงทุนที่มีความเสี่ยงและเล่นการพนัน
๔.) ไม่สูบบุหรี่และเคี้ยวหมาก
๕.)ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง*
แนวทางการดาเนินชีวิตของชาวฉือจี้
สมาธิ คาสอนของฉือจี้ไม่
เน้นการนั่งหรือเดินเพื่อทา
สมาธิ แต่ใช้การมุ่งจิตกับ
ปั จจุ บันและการทางาน
ร่วมกับผู้อื่น ส่วนปัญญาจะ
เกิดจากประสบการณ์โดยนึก
ถึงธรรมชาติแห่งพุทธะของแต่
ละคนในการปฏิบัติกิจ
*เดิมแท้ ชาวหินฟ้ า, คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของไต้หวัน, กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริม
และพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม, ๒๕๔๘), หน้า ๑๐๔.
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
กรรม ฉือจี้ให้ความสาคัญต่อกรรม หรือ ผลแห่งการกระทา ซึ่ง
เป็นปรัชญาชีวิตที่สาคัญของพุทธศาสนา ฉือจี้สอนว่าเราสามารถ
ควบคุมกรรมและกาหนดโชคชะตาของตัวเองได้ ด้วยการหวน
จิตสานึกกลับสู่ธรรมชาติแห่งการรู้ดีรู้ชั่ว เมื่อปัญญาเกิดก็เกิดแสง
สว่างและความบริสุทธิ์เมื่อนั้น*
แนวทางการดาเนินชีวิตของชาวฉือจี้
แดนสุขาวดี พุทธศาสนามหายานนิกายสุขาวดีได้เปรียบแดน
สุขาวดีเป็นสวรรค์สาหรับผู้ที่เชื่อมั่นในพระพุทธเจ้าอมิตาภะ แต่ฉือ
จี้ได้ประยุกต์แนวคิดนี้สู่โลกแห่งความเป็นจริงว่าแดนสุขาวดี ก็คือ
สังคมในอุดมคติที่ทุกคนใฝ่ฝันถึง ภารกิจที่ชาวฉือจี้ปฏิบัติก็เพื่อ
สร้างสังคมอุดมคติให้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน *Dharma Master Cheng Yen, Still Thoughts, Wisdom
and Love, (Taiwan : Tzu Chi Cultural Publishing Co.,
2002), p. 108 .
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ชาวพุทธฉือจี้มีปณิธานที่จะดาเนินชีวิตบนวิถีแห่งพระโพธิสัตว์ โดย
พยายามเจริญเมตตาอย่างไม่มีประมาณ ดังวาทะธรรมของท่านธรร
มาจารย์เจิ้่งเหยียนว่า
“ให้พลังชีวิตนิรันดร์ดั่งฤดูใบไม้ผลิ
ชีวิตของคนเราจะต้องดารงไว้ซึ่งพลังแห่งชีวิตนิรันดร์ดั่งฤดูใบไม้ผลิ
ใช้สติปัญญาความสามารถให้เป็นประโยชน์อยู่เสมอ
จึงจะเป็นชีวิตที่เต็มเปี่ ยมด้วยคุณค่า”
เป้ าหมายชีวิตของชาวฉือจี้
*Dharma Master Cheng Yen, Still Thoughts volume two, p. 6.
การตีความคาสอน
ขององค์กรพุทธฉือจี้(ต่อ)
ชาวฉือจี้เรียนรู้ธรรมะจากการได้สัมผัสกับการ
เกิด แก่ เจ็บ และตาย ในโรงพยาบาล และการ
ปฏิบัติภารกิจบรรเทาทุกข์ ทาให้ได้เห็นความไม่
เที่ยงแท้ของชีวิต และเกิดปัญญารู้อย่างกระจ่าง
แจ้งว่าสิ่งใดควรทาและสิ่งใดไม่ควรทา และเกิด
การเรียนรู้ว่าต้องเร่งทาความดีพัฒนาจิตใจ
เพราะวินาทีข้างหน้าก็อาจไม่มีโอกาสทา
ลักษณะการเรียนรู้เช่นนี้เป็นลักษณะการเข้าถึง
พุทธะของมหายานนั่นเอง
เป้ าหมายชีวิตของชาวฉือจี้
*Dharma Master Cheng Yen, Still Thoughts, Wisdom and Love, (Taiwan : Tzu Chi Cultural Publishing
Co., 2002), p. 108 .
อาสาสมัครทางานในโรงพยาบาลพุทธฉือจี้
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
แนวคิดหลักในการทางาน
คือความเมตตา
ปรัชญาหลักที่มีอิทธิพลต่อการ
ทางานของอาสาสมัครของชาวฉือ
จี้มากที่สุดก็คือ อัปปมัญญา ๔
ชาวฉือจี้มีคาอธิษฐานว่า ขอให้
จิตมนุษย์มีความบริสุทธิ์ ขอให้
สังคมมีความสงบสุข และ ขอให้
โลกปลอดพ้นจากภัยพิบัติ
แนวคิดหลักในการทางาน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจทางานอาสาสมัคร
ขององค์กรพุทธฉือจี้
๑. การเป็นพุทธศาสนาแนว
มนุษยนิยม
๒. ความเชื่อในเรื่องชาติภพ และ
กฎแห่งกรรม
๓. ความเชื่อมั่นในความดีงาม
ของมนุษย์
๔. ความเป็นแบบอย่างที่ดีของ
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน
กระบวนการคัดเลือกและ
อบรมอาสาสมัครของ
องค์กรพุทธฉือจี้
อาสาสมัครเป็นทรัพยากรบุคคลที่
เป็นพลังขับเคลื่อนที่สาคัญในการ
ดาเนินภารกิจทั้งหมดของฉือจี้
ฉือจี้มีการคัดเลือกและการอบรม
อาสาสมัครอย่างเป็นระบบ
อาสาสมัครกลุ่มต่างๆมี
ความสัมพันธ์กันในแนวระนาบ
และเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
๑.) สมาชิกสนับสนุน บุคคลที่ได้บริจาคเงินแก่มูลนิธิพุทธฉือ
จี้ปัจจุบันมีสมาชิกสนับสนุนอยู่ ๑๐ ล้านคนทั่วโลก ซึ่งไม่เน้น
การบริจาคจานวนมาก แต่เน้นความสม่าเสมอ*
๒.) อาสาสมัครระดับต้น คือ ผู้ที่อาสาเข้าร่วมกิจกรรมของฉือ
จี้มี ๒ ระดับคือ ระดับฝึกงาน และระดับอบรมบ่มฝึก
๓.) อาสาสมัครระดับกรรมการ หลังจากผ่านขั้นตอน
อาสาสมัครระดับต้นและผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการ
สมาชิกรุ่นพี่ว่ามีความเหมาะสมก็จะได้สิทธิเข้าร่วมพิธี “โซ่ว
เจิ้ง” คือพิธีประชุมประกาศรับรองเป็นสมาชิกระดับกรรมการ
หรือสมาชิกถาวร มีชุดเครื่องแบบให้ใส่ ปัจจุบันฉือจี้มี
อาสาสมัครระดับกรรมการอยู่ประมาณ ๕ หมื่นคน**
อาสาสมัครระดับต่างๆ
*เดิมแท้ ชาวหินฟ้ า, คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมฯ, หน้า ๑๐๒.
**ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๑๐๗.
กลุ่มอาสาสมัครฉือจี้ผู้เป็นกาลังสาคัญในการ
ขับเคลื่อนองค์กร
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
อาสาสมัครระดับต่างๆ
ชุดเครื่องแบบอาสาสมัครระดับกรรมการในงานพิธี
ชุดเครื่องแบบอาสาสมัครระดับกรรมการในงานภาคสนาม
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
๔.) กรรมการกิตติมศักดิ์ คือผู้ที่สามารถบริจาคเงินจานวนตั้งแต่ ๑ ล้านเหรียญไต้หวันภายใน
ระยะเวลา ๑ ปี มีการประชุมกันทุก ๓ เดือน แต่จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับหน้าที่การบริหารจัดการของ
มูลนิธิฯ ปัจจุบันฉือจี้มีจานวนสมาชิกกิตติมศักดิ์มากกว่า ๕ หมื่นคน*
๕.) สมาชิกระดับนักบวช คือกลุ่มนักบวชภิกษุณีของฉือจี้ประมาณกว่า ๑๕๐ รูป ทั้งหมดพานัก
อยู่ที่สมณารามจิ้งซือ ที่ฮวาเหลียน เป็นนักบวชที่พึ่งตนเอง ด้วยการทางานฝีมือต่างๆ เนื่องจาก
ค่าใช้จ่ายภายในวัดและการกินอยู่ของบรรดานักบวช ไม่เกี่ยวข้องกับรายได้จากมูลนิธิฯ
อาสาสมัครระดับต่างๆ
*ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๑๐๘.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
จากข้อมูลเกี่ยวกับ
การจัดการระบบ
อาสาสมัครของ
มูลนิธิพุทธฉือจี้
สามารถสรุปเป็น
แผนภาพการ
บริหารงานและการ
จัดการระบบ
อาสาสมัครได้ดังนี้
อาสาสมัคร
ระดับต่างๆ
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
การฝึกอบรมอาสาสมัคร
ระดับต้น
• จัดการปฐมนิเทศเพื่อเตรียม
สภาวะความพร้อม ทั้งทางด้าน
จิตใจและความรู้
• ผู้เข้าร่วมเริ่มจากการเป็น
สมาชิก ได้รับวารสารฉือจี้ส่งถึง
บ้านทุกเดือน
• ต่อมาผู้เข้าร่วมจึงเลื่อนขั้นเป็น
อาสาสมัครชุมชน มีชุดเครื่องแบบ
และร่วมกิจกรรมกับฉือจี้บ่อยขึ้น
• อาสาสมัครระดับกรรมการ ๑
คน จะดูแลอาสาสมัครชุมชน
ประมาณ ๒๐-๔๐ คน
การฝึกอบรมอาสาสมัครระดับต่างๆ
งานปฐมนิเทศสมาชิกใหม่ของ
องค์กรพุทธฉือจี้
อาสาสมัครระดับกรรมการแจกชุด
เครื่องแบบให้แก่อาสาสมัครระดับต้น
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
การฝึกอบรมอาสาสมัครระดับ
ฝึกงาน
• ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดของท่านธรร
มาจาร์เจิ้งเหยียน หลักการและวิถีชีวิต
ของชาวฉือจี้
• ใน ๑ ปี จะจัดให้อาสาสมัครเข้าร่วม
อบรม ๘ ครั้งๆละ ๑ วันต่อเดือน เน้นการ
เรียนรู้ด้วยการลงปฏิบัติช่วยเหลืองานใน
ภารกิจต่างๆของมูลนิธิฯ
• อาสาสมัครหญิงฝึกออกบอกบุญรับ
บริจาคเงินให้มูลนิธิฯอย่างน้อย ๒๕ คน
ฝึกให้มีความอ่อนน้อมที่จะไปเยี่ยมเยียน
ผู้บริจาค
การฝึกอบรมอาสาสมัครระดับต่างๆ
การฝึกอบรมอาสาสมัคร
ระดับอบรม-บ่มฝึก
• ใช้เวลาในการฝึกอีกอย่าง
น้อย ๑ ปี
• มีการฝึกอบรมตามตาราง
รายปีมากขึ้น
• มีการประเมินทั้งจากตัวเอง
อาสาสมัครกรรมการพี่เลี้ยง
และกรรมการที่ให้ความรู้
การฝึกอบรมอาสาสมัคร
ระดับกรรมการ
• ต้องเข้าประชุมปฏิญาณตน
พร้อมที่จะเป็นอาสาสมัคร
ระดับกรรมการ
• มีการอบรมประจาปี ๑ ครั้ง
เป็นเวลา ๓ วัน โดยเป็นการ
ทบทวนหลักธรรมคาสอนของ
ท่านธรรมาจารย์ สิ่งที่ควรและ
ไม่ควรปฏิบัติของกรรมการและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
คาขวัญของภารกิจ 偒在他身 , 扶貧救困日月長痛在我心 , 濟世救人歲月深
บาดเจ็บที่กายเธอ , จักช่วยปลดทุกข์เข็ญตราบวันเดือนเคลื่อนคลา
เจ็บปวดที่ใจฉัน , จักช่วยเยียวยาบรรเทาตราบปีเดือนไม่สิ้นสุด
ภารกิจแรกของมูลนิธิพุทธฉือจี้เริ่มจากการออมวันละ ๕๐ เซนต์ ของกลุ่มแม่บ้าน ๓๐ คน เพื่อ
ช่วยเหลือผู้อื่น จนได้ขยายงานต่างๆออกไปมากมาย ปัจจุบันภารกิจด้านการกุศล แบ่งออกเป็น
๖ กลุ่มงานด้วยกัน คือ
๑.) การให้ความช่วยเหลือระยะยาวแก่ครอบครัวที่มีรายได้ต่า
๒.) การบริจาคข้าวสารแก่ครอบครัวที่ยากจน
๓.) การช่วยเหลือเรื่องยารักษาโรค
๔.) การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์
๕.) การให้ความช่วยเหลือฉุกเฉินยามเกิดภัยพิบัติ
๖.) การช่วยเหลือค่าใช้จ่ายงานศพแก่คนยากจนและเด็กกาพร้า*
กิจการสังคมสงเคราะห์ - ภารกิจด้านการกุศล
*ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๖๕.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
กิจการสังคมสงเคราะห์ - ภารกิจด้านการกุศล
ชาวฉือจี้แจกสิ่งของให้ผู้ประสบภัย
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
คาขวัญของภารกิจ 用 “大愛” 化解種族間的隔閡
ใช้ “ความรักอันยิ่งใหญ่” สลายช่องว่างระหว่างเผ่าพันธุ์
ภารกิจด้านการบรรเทาทุกข์สากลของฉือจี้เริ่มเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นความ
ช่วยเหลือเร่งด่วนแก่ผู้ประสบภัยพิบัติในทุกประเทศ โดยไม่จากัดว่าจะต้องมีสานักงานสาขาฉือจี้
อยู่ และไม่แบ่งแยกทั้งลัทธิศาสนา การเมืองและการปกครองตามหลักอัปปมัญญา ๔
การช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ระหว่างประเทศของฉือจี้ได้ก่อให้เกิดผลด ทั้งในด้าน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและระหว่างรัฐบาล กระทรวงต่างประเทศของไต้หวันได้มีหนังสือลง
วันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๑ ยกย่องการดาเนินกิจกรรมของฉือจี้ และเป็นผลให้รัฐสภาของ
สหรัฐอเมริกา ตัดสินใจสนับสนุนให้ไต้หวันเป็นสมาชิกขององค์การอนามัยโลก*
กิจการสังคมสงเคราะห์ - ภารกิจด้านการ
บรรเทาทุกข์ระหว่างประเทศ
*Douglas Shaw, Ten Thousand Lotus Blossoms of the Heart, p. 44.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
มูลนิธิพุทธฉือจี้ได้กาหนด
หลักการบรรเทาทุกข์
ระหว่างประเทศไว้ ๖
ประการ คือ
๑) เขาจะรู้สึกซาบซึ้งดั่ง
ได้พบมหาสมบัติ
๒) โดยตรง
๓) ตามลาดับ
ความสาคัญเร่งด่วน
๔) ด้วยความเคารพ
๕) อย่างประหยัด
๖) สานึกในบุญคุณ
กิจการสังคมสงเคราะห์ - ภารกิจด้าน
การบรรเทาทุกข์ระหว่างประเทศ
ชาวฉือจี้มอบเงินแก่สภากาชาด
อเมริกัน เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบ
อุทกภัยในบังคลาเทศ
ชาวฉือจี้ช่วยผู้ประสบภัยในเกาหลีเหนือ
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
คาขวัญของภารกิจ 除人間苦痛 , 膚心靈創傷 , 唤醒明天的希望
ขจัดทุกข์ให้สรรพชีวิต ช่วยคลายเศร้าในดวงจิต ปลุกชีวิตสู่ความหวังใหม่
ปีพ.ศ.๒๕๒๒ ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียน ได้ตั้งปณิธานอย่างแน่วแน่ที่จะสร้างโรงพยาบาลที่ฮวา
เหลียน หลังจากทางานอย่างหนักเป็นเวลา ๖ ปี โรงพยาบาลพุทธฉือจี้ที่ฮวาเหลียนจึงเสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่
๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๙ เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกในไต้หวันที่ ไม่เก็บเงินมัดจาค่ารักษาล่วงหน้าจากผู้ป่วย
ฉุกเฉิน และไม่คิดค่ารักษาหากผู้ป่วยไม่มีเงินจ่าย
ปัจจุบันฉือจี้มีโรงพยาบาลมาตรฐานสูง ๖ แห่งทั่วไต้หวัน โดยโรงพยาบาลของฉือจี้มีจุดเด่นคือถือ
หลักอัปปมัญญา ๔ เป็นแนวหลักในการทางานเช่นเดียวกับองค์กรอื่นๆ ของฉือจี้จึงมุ่งบริหารจัดการให้
โรงพยาบาลเป็นทั้งแหล่งรักษาคนรักษาใจ รักษาโรค ไปพร้อมๆกับเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของทุกฝ่ายไป
พร้อมกัน
กิจการด้านการแพทย์ - ภารกิจด้านการรักษาพยาบาล
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
กิจการด้านการแพทย์ - ภารกิจด้านการรักษาพยาบาล
โรงพยาบาลพุทธฉือจี้ที่
เมืองฮวาเหลียน
ภาพพุทธจริยาพระพุทธเจ้าที่ทรง
ดูแลภิกษุอาพาธ ตั้งอยู่ใน
โรงพยาบาลพุทธฉือจี้
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
สมาคมแพทย์อาสาฉือจี้นานาชาติ (Tzu Chi International Medical
Association - TIMA)
TIMA คือ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ของฉือจี้ที่เริ่มงานมาพร้อมกับอาสาสมัครบรรเทาทุกข์
ระหว่างประเทศ ต่อมาจึงได้ก่อตั้งเป็นสมาคมแพทย์อาสาระหว่างประเทศขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ มี
สานักงานใหญ่อยู่ที่ไต้หวันและ มีสาขาอยู่ทั่วโลก เป็นองค์กรการกุศลที่อาศัยการสนับสนุนจาก
สาธารณชน เป็นอิสระจากรูปแบบการช่วยเหลือใดๆของรัฐ ไม่เกี่ยวข้องทางการเมืองไม่ว่ารูปแบบ
ใดๆ ทิม่ามีสานักงานสาขาทั่วโลกรวม ๔๗ แห่ง ใน ๙ ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน, สิงคโปร์ , อินโดนีเซีย ,
มาเลเซีย , เวียดนาม , ฟิลิปปินส์ , สหรัฐอเมริกา , ปารากวัย และ บราซิล*
กิจการด้านการแพทย์ - ภารกิจด้านการรักษาพยาบาล
*Special Report, “Medicine with Humanity”, Tzu Chi Medical Journal, Vol. 4 May 2006 : 46.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
กิจการด้านการแพทย์ - ภารกิจด้านการรักษาพยาบาล
ทีมหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ TIMA
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
คาขวัญของภารกิจ 您的骨髓 , 是他生命的延續
ไขกระดูกของท่าน ช่วยต่อชีวิตของเขา
มูลนิธิพุทธฉือจี้ได้ก่อตั้งศูนย์ข้อมูลและศูนย์รับบริจาคไขกระดูก เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๖ ด้วย
การเชิญชวนผู้มีจิตศรัทธา และแสดงความจานงบริจาคไขกระดูก (Bone marrow
registry) เพื่อช่วย เหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติของเม็ดเลือดเช่นผู้ป่วยมะเร็ง
เม็ดเลือดขาว โรคโลหิตจางบางชนิด มะเร็งต่อมน้าเหลืองบางชนิด โรคไขกระดูกฝ่อ เป็นต้น*
ปัจจุบัน ธนาคารไขกระดูกของฉือจี้เป็นคลังเก็บรวบรวมข้อมูลไขกระดูกที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย และ
ใหญ่เป็นอันดับสามของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและยุโรป มีผู้ลงทะเบียนไว้แสดงความจานง
บริจาคไขกระดูกให้ฉือจี้มากเกือบสามแสนคน ได้มีการบริจาคไขกระดูกช่วยเหลือผู้ป่วยจริงๆ ทั้งใน
ไต้หวันและประเทศอื่นๆ ไปแล้วกว่า ๘๐๐ ราย ใน ๒๐ ประเทศ
กิจการด้านการแพทย์ - ภารกิจด้านการบริจาคไขกระดูก
*มูลนิธิฉือจี้ประเทศไทย, “โครงการช่วยชีวิต : การบริจาคไขกระดูก”, กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิฉือจี้ประเทศไทย, ๒๕๔๙.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
คาขวัญของการกิจ 道德是基礎 ’ 教育是磐石 為社會
祥和 ’ 從孩童做起
คุณธรรมคือพื้นฐาน, การศึกษาคือความแข็งแกร่ง เพื่อสังคมดีงาม,
ต้องปลูกฝังแต่เยาว์วัย
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนได้ก่อตั้งสถาบันแพทย์ศาสตร์ขึ้น
ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ ที่เมืองฮวาเหลียนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลน
บุคลากรทางการแพทย์ ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๔๒ กระทรวงศึกษาธิการของ
ไต้หวันได้ยกฐานะวิทยาลัยพยาบาลขึ้นเป็น วิทยาลัยเทคโนโลยีพุทธฉือจี้
(Tzu Chi Buddhist College of Technology) และในปีพ.ศ. ๒๕๔๓
ได้ยกฐานะสถาบันแพทย์ศาสตร์เป็น มหาวิทยาลัยพุทธฉือจี้(Tzu Chi
Buddhist University) ซึ่งปัจจุบันมี ๕ คณะ คือ แพทย์ศาสตร์
วิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ การศึกษาและสื่อสารมวลชน และ บริหาร
ศาสตร์*
กิจการด้านการศึกษา - ภารกิจด้านการศึกษา
* ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๗๑.
มหาวิทยาลัยพุทธฉือจี้
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๓ ฉือจี้ยังได้
เปิ ดโรงเรียนมัธยมศึกษา และ
โรงเรียนสาธิตประถมศึกษาขึ้น ซึ่ง
ทาให้ภารกิจด้านการศึกษาของมูลนิธิ
พุทธฉือจี้เป็นไปอย่างครบวงจร ซึ่ง
นอกจากจะเน้นถึงความเป็นเลิศทาง
วิชาการแล้ว ยังเน้นในเรื่องของการ
ปลูกจิตสานึกคุณธรรมเป็นสาคัญอีก
ด้วย
กิจการด้านการศึกษา - ภารกิจด้านการศึกษา
โรงเรียนยพุทธฉือจี้
เชียงใหม่
พิธีมอบประกาศนียบัตรนักเรียนโรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่
Click
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
ระบบการศึกษาครบวงจรของฉือจี้ยึดหลักสาคัญ ๓ ประการ คือ
๑.) การให้ความรู้แบบครบวงจร ตั้งแต่ศูนย์ดูแลเด็กเล็กไปจนถึงมหาวิทยาลัย เพื่อให้ผู้ที่สาเร็จ
การศึกษาออกมาเป็นผู้มีวิชาความรู้และเพียบพร้อมด้วยคุณธรรมจริยธรรม
๒.) สถานศึกษาที่เพียบพร้อมและทันสมัย ฉือจี้จัดสถานศึกษาสาหรับการเรียนทุกระดับให้ตั้งอยู่ใน
เนื้อที่เดียวกันบนพื้นที่กว่าหนึ่งร้อยไร่ ซึ่งอยู่ใกล้กับอ่าว Meilun Creek และเทือกเขา Central
Mountain Range ที่มีทิวทัศน์งดงามกว้างไกล ระบบการศึกษาของฉือจี้เปรียบเสมือนเป็น
ครอบครัวใหญ่ที่อบอุ่น
๓.) การพัฒนาจิตใจให้เป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ พัฒนาทั้งทางด้านวิชาการ และจิตวิญญาณ*
กิจการด้านการศึกษา - ภารกิจด้านการศึกษา
*รัศมี กฤษณมิษ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และคณะ, การศึกษาแนวทางการปลูกจิตสานึกคุณธรรมฯ, หน้า ๕๕.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
ภารกิจด้านการศึกษาของฉือจี้จะมีทีมอาสาสมัครด้านการศึกษาอยู่ ๓ กลุ่มคือ*
๑.) อาสาสมัครผู้ปกครอง ช่วยกันดูแลเด็กนักเรียนในโรงเรียนประถมและมัธยมของฉือจี้
โดยยึดหลักดูแลเด็กทุกคนดั่งลูกของตนเอง
๒.) อาสาสมัครพ่อแม่อุปถัมภ์ คือ อาสาสมัครระดับกรรมการฉือจี้ที่มาช่วยดูแลนักเรียน
ที่มาจากต่างเมือง
๓.) อาสาสมัครแม่ที่รักอันยิ่งใหญ่ (ต้าอ้าย มามา) เข้ามาช่วยดาเนินกิจกรรมในโรงเรียน
อื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงเรียนของมูลนิธิฉือจี้เพื่อสร้างสานึกในเรื่องคุณธรรมให้แก่เด็กนักเรียน
กิจการด้านการศึกษา - ภารกิจด้านการศึกษา
*ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๗๒.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
คาขวัญของภารกิจ 凈化心靈大地 ‘ 推動地球環保
ชาระจิตปฐพีอันยิ่งใหญ่ให้บริสุทธิ์ ร่วมรณรงค์ปกป้ องโลกใบนี้
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเหยียนกล่าวไว้ว่า “การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมก็คือการทาความสะอาด
โลกที่อยู่นอกกาย ในขณะเดียวกันก็เหมือนกับทาความสะอาดจิตใจด้วย” ฉือจี้มีศูนย์การเรียนรู้
โรงงานแยกขยะให้เยาวชนและประชาชนได้เข้ามาเรียนรู้ถึงเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา
ปัจจุบันมูลนิธิพุทธฉือจี้มีสถานีแยกขยะมากกว่า ๕,๐๐๐ แห่ง งานแยกขยะทาให้
มองเห็นการฝึกฝนตนเองจากการลงมือปฏิบัติจริงอย่างไม่ย่อท้อ โดยบรรดาอาสาสมัครฉือจี้จะมา
ขนย้ายขยะ เอาที่เป็นประโยชน์ไป Recycle ขายนาเงินมาเข้ามูลนิธิปีละเป็นร้อยล้านเหรียญ ได้ทั้ง
เงินได้ทั้งบุญและ ได้ฝึกฝนตนเองอย่างสม่าเสมอ
กิจการด้านการศึกษา - ภารกิจด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
*ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๑๖.
วิธีการสอนและการเผยแผ่ขององค์กรพุทธฉือจี้
งานอาสาสมัครทางานแยกขยะเช่นนี้ เกิด
ประโยชน์อย่างน้อย ๕ ประการ คือ*
๑.) ช่วยทางการบรรเทาปัญหาเก็บและจัดการขยะ
ไม่ทัน
๒.) ช่วยสร้างนิสัยการแยกขยะ และนาขยะบางส่วน
กลับมาใช้ใหม่
๓.) สร้างพฤติกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
๔.) ปลูกฝังค่านิยมไม่รังเกียจงานสกปรก
๕.) นาขยะ recycle ไปแปลงเป็นเงินกลับมาช่วย
สังคม
กิจการด้านการศึกษา - ภารกิจด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
*ศุภรัตน์ รัตนมุขย์, รองศาสตราจารย์, ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัครฯ, หน้า ๑๖.
ชาวฉือจี้ช่วยกันคัดแยกขยะ
ชาวฉือจี้เข้าไปรับขยะในชุมชน
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 

Similar to ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้

แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 

Similar to ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ (20)

Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 

More from Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 

More from Anchalee BuddhaBucha (15)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้