SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 10
เรื่อง อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน (Intersection)
พิจารณาความเกี่ยวข้องของเซต A, B และ U
กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
A = {1, 3, 5, 7}
B = {5, 6, 7, 8, 9}
เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต A, B และ U ได้ดังนี้
U
ภาพประกอบที่ 1
จากแผนภาพส่วนที่แรเงาแสดงอินเตอร์เซกชันเซต A และเซต B
บทนิยาม อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A
และของเซต B เรียกว่าอินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B
สัญลักษณ์อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ A  B = {x | x  A และ x  B}
ในที่นี้ใช้คาว่า “และ” ในความหมายทางคณิตศาสตร์ หมายถึง x เป็นสมาชิกของเซต A และ
เซต B
จากภาพประกอบ 1
A = {1, 3, 5, 7}
B = {5, 6, 7, 8, 9}
ดังนั้น A  B = {5, 7}
A B
2
4
10
1
3
6
5 8
7 9
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด U = {1, 2, 3, ..., 20}
A = {x | x หารด้วย 3 ลงตัว}
B = {x | x หารด้วย 2 ลงตัว}
จงหา A  B
วิธีทา A = {x | x หารด้วย 3 ลงตัว}
= {3, 6, 9, 12, 15, 18}
B = {x | x หารด้วย 2 ลงตัว}
= {2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20}
เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์แสดงความเกี่ยวข้องของ A, B และ U ได้ดังนี้
U
ดังนั้น A  B = {6, 12, 18}
ในทานองเดียวกัน การใช้แผนภาพแสดงเกี่ยวกับผลของการอินเตอร์เซกชันเราสามารถกระทาได้ดังนี้
A  B คือส่วนที่แรเงาในแผนภาพ
เซต A และเซต B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน
เซต A และเซต B มีสมาชิกร่วมกันบางตัว
3
9
15
6 2 4
12 10
14
A B
1 5
7 8
11 13
17 19
A B U
A B
U
A = B ก็ต่อเมื่อ A  B = A และ A  B = B
B  A ก็ต่อเมื่อ A  B = B
สมบัติที่สาคัญบางประการเกี่ยวกับอินเตอร์เซกชัน
1. A  A = A
2. A   = 
3. A  U = A
4. A  B = B  A
5. A  (B  C) = (A  B)  C
6. A  B ก็ต่อเมื่อ A  B = A
7. (A  B)  A และ (A  B)  B
A
B U
A
B
U
B
ใบกิจกรรมที่ 10
เรื่อง อินเตอร์เซกชัน
คาชี้แจง กาหนดให้ U ={1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
A = {xI+
| 5  x 10}
B = {xI+
| 2  x  6}
C = {xI+
| 3  x  7}
จงหาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) A  B = ................................................................
2) B  A = ................................................................
3) A  C = ................................................................
4) C  A = ................................................................
5) A  B  C = ................................................................
6) (A  B)  C = ................................................................
7) (A  B)  C = ................................................................
8) (A  B)  (A  C) = ................................................................
9) (A  B)  (A  C) = ................................................................
เฉลยใบกิจกรรมที่ 10
เรื่อง อินเตอร์เซกชัน
คาชี้แจง กาหนดให้ U เป็นเซตของจานวนเต็มบวก
A = {xI+
| 5  x 10}
B = {xI+
| 2  x  6}
C = {xI+
| 3  x  7}
เขียนเซต A , B และ C ในรูปแจกแจงสมาชิกได้ดังนี้
A = {5, 6, 7, 8, 9}
B = {3, 4, 5, 6}
C = {4, 5, 6, 7}
จงหาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) A  B = {5, 6}
2) B  A = {5, 6}
3) A  C = {5, 6, 7}
4) C  A = {5, 6, 7}
5) A  B  C = {5, 6}
6) (A  B)  C = {4, 5, 6, 7}
7) (A  B)  C = {4, 5, 6, 7}
8) (A  B)  (A  C) = {4, 5, 6, 7, 8, 9}
9) (A  B)  (A  C) = {5, 6, 7}
แบบทดสอบย่อยที่ 10
เรื่อง อินเตอร์เซกชัน
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน)
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
.................................................................................................................................................................
กาหนดให้ U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}
A = {2, 3, 5, 6}
B = {1, 2, 3, 8}
C = {5, 7, 8}
ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 2
1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. A  B = {3}
ข. A  C = { }
ค. B  C = { 8 }
ง. A  B  C = {2, 5}
2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. A  B = B  A
ข. A  C = C  A
ค. (A  B)  C = (A  B)  C
ง. ข้อ ก และข้อ ข
3. กาหนดแผนภาพดังนี้
B
A
3 5
7
1
6
U
C
8 9
1) A  B = A
2) A  B  C = {7}
3) A  C = { }
จากแผนภาพข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1) ข้อ 2)
ข. ข้อ 1) ข้อ 3)
ค. ข้อ 2) ข้อ 3)
ง. ถูกทุกข้อ
4. กาหนดให้ U = {x | x เป็นจานวนคู่บวกที่น้อยกว่า 20}
A = {x | x เป็นจานวนคู่บวกที่อยู่ระหว่าง 4 และ 16}
B = {x | x2
= 16}
แล้ว 1) A  B = {4}
2) (B  A)  B = {4}
3) (B  A)  B = {4}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1) ข้อ 2)
ข. ข้อ 1) ข้อ 3)
ค. ข้อ 2) ข้อ 3)
ง. ถูกทุกข้อ
5. กาหนดให้ A  B = {3, 4, 5} ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเซต A และเซต B
ก. A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = { }
ข. A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {3, 4, 5}
ค. A = {2, 3, 4, 5}, B = {3, 4, 5}
ง. A = {1, 2, 4, 5}, B = {3, 4}
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 10
เรื่อง อินเตอร์เซกชัน
ข้อ 1 ค
ข้อ 2 ง
ข้อ 3 ก
ข้อ 4 ค
ข้อ 5 ข

More Related Content

What's hot

คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์kroojaja
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนามkroojaja
 

What's hot (20)

คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 

Similar to อินเตอร์เซกชัน

1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซตAon Narinchoti
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2kroojaja
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4พัน พัน
 
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...Akimoto Akira
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Focusjung Suchat
 

Similar to อินเตอร์เซกชัน (20)

1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
13ผลต่าง
13ผลต่าง13ผลต่าง
13ผลต่าง
 
Set54 operation
Set54 operationSet54 operation
Set54 operation
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
Union
UnionUnion
Union
 
5เซตที่เท่ากัน
5เซตที่เท่ากัน5เซตที่เท่ากัน
5เซตที่เท่ากัน
 
13คอมพลีเมนต์
13คอมพลีเมนต์13คอมพลีเมนต์
13คอมพลีเมนต์
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
อันดับ
อันดับอันดับ
อันดับ
 
อันดับ
อันดับอันดับ
อันดับ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
 
10ยูเนียน
10ยูเนียน10ยูเนียน
10ยูเนียน
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

อินเตอร์เซกชัน

  • 1. ใบความรู้ที่ 10 เรื่อง อินเตอร์เซกชัน อินเตอร์เซกชัน (Intersection) พิจารณาความเกี่ยวข้องของเซต A, B และ U กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 3, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8, 9} เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต A, B และ U ได้ดังนี้ U ภาพประกอบที่ 1 จากแผนภาพส่วนที่แรเงาแสดงอินเตอร์เซกชันเซต A และเซต B บทนิยาม อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A และของเซต B เรียกว่าอินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B สัญลักษณ์อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ A  B = {x | x  A และ x  B} ในที่นี้ใช้คาว่า “และ” ในความหมายทางคณิตศาสตร์ หมายถึง x เป็นสมาชิกของเซต A และ เซต B จากภาพประกอบ 1 A = {1, 3, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8, 9} ดังนั้น A  B = {5, 7} A B 2 4 10 1 3 6 5 8 7 9
  • 2. ตัวอย่างที่ 3 กาหนด U = {1, 2, 3, ..., 20} A = {x | x หารด้วย 3 ลงตัว} B = {x | x หารด้วย 2 ลงตัว} จงหา A  B วิธีทา A = {x | x หารด้วย 3 ลงตัว} = {3, 6, 9, 12, 15, 18} B = {x | x หารด้วย 2 ลงตัว} = {2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20} เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์แสดงความเกี่ยวข้องของ A, B และ U ได้ดังนี้ U ดังนั้น A  B = {6, 12, 18} ในทานองเดียวกัน การใช้แผนภาพแสดงเกี่ยวกับผลของการอินเตอร์เซกชันเราสามารถกระทาได้ดังนี้ A  B คือส่วนที่แรเงาในแผนภาพ เซต A และเซต B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน เซต A และเซต B มีสมาชิกร่วมกันบางตัว 3 9 15 6 2 4 12 10 14 A B 1 5 7 8 11 13 17 19 A B U A B U
  • 3. A = B ก็ต่อเมื่อ A  B = A และ A  B = B B  A ก็ต่อเมื่อ A  B = B สมบัติที่สาคัญบางประการเกี่ยวกับอินเตอร์เซกชัน 1. A  A = A 2. A   =  3. A  U = A 4. A  B = B  A 5. A  (B  C) = (A  B)  C 6. A  B ก็ต่อเมื่อ A  B = A 7. (A  B)  A และ (A  B)  B A B U A B U B
  • 4. ใบกิจกรรมที่ 10 เรื่อง อินเตอร์เซกชัน คาชี้แจง กาหนดให้ U ={1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {xI+ | 5  x 10} B = {xI+ | 2  x  6} C = {xI+ | 3  x  7} จงหาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) A  B = ................................................................ 2) B  A = ................................................................ 3) A  C = ................................................................ 4) C  A = ................................................................ 5) A  B  C = ................................................................ 6) (A  B)  C = ................................................................ 7) (A  B)  C = ................................................................ 8) (A  B)  (A  C) = ................................................................ 9) (A  B)  (A  C) = ................................................................
  • 5. เฉลยใบกิจกรรมที่ 10 เรื่อง อินเตอร์เซกชัน คาชี้แจง กาหนดให้ U เป็นเซตของจานวนเต็มบวก A = {xI+ | 5  x 10} B = {xI+ | 2  x  6} C = {xI+ | 3  x  7} เขียนเซต A , B และ C ในรูปแจกแจงสมาชิกได้ดังนี้ A = {5, 6, 7, 8, 9} B = {3, 4, 5, 6} C = {4, 5, 6, 7} จงหาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) A  B = {5, 6} 2) B  A = {5, 6} 3) A  C = {5, 6, 7} 4) C  A = {5, 6, 7} 5) A  B  C = {5, 6} 6) (A  B)  C = {4, 5, 6, 7} 7) (A  B)  C = {4, 5, 6, 7} 8) (A  B)  (A  C) = {4, 5, 6, 7, 8, 9} 9) (A  B)  (A  C) = {5, 6, 7}
  • 6. แบบทดสอบย่อยที่ 10 เรื่อง อินเตอร์เซกชัน คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน กระดาษคาตอบ 3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที ................................................................................................................................................................. กาหนดให้ U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} A = {2, 3, 5, 6} B = {1, 2, 3, 8} C = {5, 7, 8} ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 2 1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. A  B = {3} ข. A  C = { } ค. B  C = { 8 } ง. A  B  C = {2, 5} 2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. A  B = B  A ข. A  C = C  A ค. (A  B)  C = (A  B)  C ง. ข้อ ก และข้อ ข 3. กาหนดแผนภาพดังนี้ B A 3 5 7 1 6 U C 8 9
  • 7. 1) A  B = A 2) A  B  C = {7} 3) A  C = { } จากแผนภาพข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1) ข้อ 2) ข. ข้อ 1) ข้อ 3) ค. ข้อ 2) ข้อ 3) ง. ถูกทุกข้อ 4. กาหนดให้ U = {x | x เป็นจานวนคู่บวกที่น้อยกว่า 20} A = {x | x เป็นจานวนคู่บวกที่อยู่ระหว่าง 4 และ 16} B = {x | x2 = 16} แล้ว 1) A  B = {4} 2) (B  A)  B = {4} 3) (B  A)  B = {4} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1) ข้อ 2) ข. ข้อ 1) ข้อ 3) ค. ข้อ 2) ข้อ 3) ง. ถูกทุกข้อ 5. กาหนดให้ A  B = {3, 4, 5} ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเซต A และเซต B ก. A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = { } ข. A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {3, 4, 5} ค. A = {2, 3, 4, 5}, B = {3, 4, 5} ง. A = {1, 2, 4, 5}, B = {3, 4}