SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 12
เรื่อง ผลต่าง
ผลต่างของเซต (Set Difference)
พิจารณาตัวอย่าง
กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
A = {1, 2, 3, 5, 9}
B = {2, 4, 5, 8}
เขียนแผนภาพแสดงสมาชิกของเซตAที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตBได้ดังส่วนที่แรเงา
ภาพประกอบที่ 1
เราเรียกเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B ว่าผลต่างของเซต A และ
เซต B
บทนิยาม ผลต่างของเซต A และเซต B คือ เซตของทุกสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็นสมาชิก
ของเซต B เขียนแทนผลต่างของเซต A และเซต B ด้วย A - B
สัญลักษณ์ผลต่างของเซต A และเซต B คือ
A - B = {x | x  A และ x  B}
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
A = {1, 2, 4, 6}
B = {3, 4, 5, 6, 7}
จงหา 1) A - B และ B - A
2) U - (AB)
A B
U
6 7
10
1 2
3 9 5
4
8
วิธีทา เขียนแผนภาพแสดงความเกี่ยวข้องของ A, B และ U ได้ดังนี้
1) A – B = {1, 2}
และ B - A = {3, 5, 7}
2) AB = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
ดังนั้น U - (AB) = {8, 9, 10}
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด U = R
A = {x | 0 < x 5}
B = {x | 4 < x  7}
จงหา 1) AB และ AB
2) A - B และ B – A
วิธีทา แยกส่วนเพื่อแสดงเซต A และเซต B เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณาว่าเซต A และเซต B
มีสมาชิกใดร่วมกัน ดังนี้
จะได้ว่า
1) AB = {x | 0 < x  7}
AB = {x | 4 < x  5}
2) A - B = {x | 0 < x  4}
B - A = {x | 5 < x  7}
A B
U
8 9
10
1 2
4
6
3
5
7
สมบัติของผลต่างของเซต
เมื่อกาหนด A และ B เป็นเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ์เดียวกัน
1. A - B ไม่จาเป็นต้องเท่ากับ B - A
2. ถ้า A  B แล้ว A - B = 
3. ถ้า A B =  แล้ว A - B = A และ B - A = B
4. ถ้า A - B =  แล้ว A/
 B
5. A -  = A
6.  - A = 
ใบกิจกรรมที่ 12
เรื่อง ผลต่าง
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
ข้อที่ เซต A เซต B
ผลต่างของเซต A และเซต B
(A – B)
1 {1, 2, 3, 4, 5} {2, 3, 5}
2 {2, 4, 6, 8, 10, 12} {6, 8, 10}
3 {5, 10, 15, 20, 25, 30} {10, 15, 20}
4 {a, b, c, d, e} {b, c, d}
5 {p, q, r, s, t} {p, q, r}
6 {x | x เป็นจานวนนับที่
น้อยกว่า 10}
{x | x เป็นจานวนคี่บวกที่
น้อยกว่า 7}
7 {x | x เป็นจานวนนับที่
น้อยกว่า 5}
{x | x เป็นจานวนนับ 3
จานวนแรก}
8 {x | x เป็นวันใน 1สัปดาห์} {x | x เป็นวันที่ขึ้นต้นด้วย “ส”}
9 {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่
น้อยกว่า 20}
{x | x เป็นจานวนคี่บวกที่
น้อยกว่า 20 และหารด้วย
3 ลงตัว}
10 {10, 11, 12, 13, 14, 15} {11, 13, 15}
เฉลยใบกิจกรรมที่ 12
เรื่อง ผลต่าง
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
ข้อที่ เซต A เซต B
ผลต่างของเซต A และเซต B
(A – B)
1 {1, 2, 3, 4, 5} {2, 3, 5} {1, 4}
2 {2, 4, 6, 8, 10, 12} {6, 8, 10} {2, 4, 12}
3 {5, 10, 15, 20, 25, 30} {10, 15, 20} {5, 25, 30}
4 {a, b, c, d, e} {b, c, d} {a, e}
5 {p, q, r, s, t} {p, q, r} {s, t}
6 {x | x เป็นจานวนนับที่
น้อยกว่า 10}
{x | x เป็นจานวนคี่บวกที่
น้อยกว่า 7}
{2, 4, 6, 7, 8, 9}
7 {x | x เป็นจานวนนับที่
น้อยกว่า 5}
{x | x เป็นจานวนนับ 3
จานวนแรก}
{4}
8 {x | x เป็นวันใน1 สัปดาห์} {x | x เป็นวันที่ขึ้นต้นด้วย “ส”} {จันทร์, อังคาร, พุธ,พฤหัสบดี,
ศุกร์, อาทิตย์}
9 {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่
น้อยกว่า 20}
{x | x เป็นจานวนคี่บวกที่
น้อยกว่า 20 และหารด้วย 3
ลงตัว}
{1, 5, 7, 11, 13, 17, 19}
10 {10, 11, 12, 13, 14, 15} {11, 13, 15} {10, 12, 14}
แบบทดสอบย่อยที่ 12
เรื่อง ผลต่าง
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน)
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
.................................................................................................................................................................
กาหนดให้ U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} A = {2, 3, 5, 6} B = {1, 2, 3, 8} และ C = {5, 7, 8}
ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 3
1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. B – A = {5, 6}
ข. A – B = {5, 6}
ค. A – C = {5}
ง. C – A = {5}
2. (A  B) – C ตรงกับข้อใด
ก. {2, 3}
ข. {5, 7, 8}
ค. { }
ง. {2, 3, 5, 7, 8}
3. A – (B – C) ตรงกับข้อใด
ก. {2, 3}
ข. {5, 6}
ค. {1, 2, 3}
ง. {2, 3, 5, 6}
4. กาหนดให้
B
A
จากแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. A – B = {10}
ข. B - A = {7, 8, 9}
ค. A - B = { }
ง. B - U = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
5. กาหนดให้
B U
A
C
จากแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. A – B = {2, 4, 5, 6}
ข. B - A = {3, 9, 10}
ค. A - C = { 2, 4, 5, 6, 8}
ง. C – (A – B) = {8, 7}
7
8
9
10
1 U
3
2 4
5
6
2 4
5 6 3
7
8
1
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 12
เรื่อง ผลต่าง
ข้อ 1 ข
ข้อ 2 ก
ข้อ 3 ข
ข้อ 4 ค
ข้อ 5 ค

More Related Content

What's hot

สมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดสมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดAon Narinchoti
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 

What's hot (20)

สมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดสมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัด
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 

Similar to ผลต่าง

การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากันAon Narinchoti
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซตAon Narinchoti
 
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตชื่อ ขวัญ
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2kroojaja
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตkroojaja
 

Similar to ผลต่าง (20)

การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
Set54 operation
Set54 operationSet54 operation
Set54 operation
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
Intersection
IntersectionIntersection
Intersection
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซต
 
แผนภาพ
แผนภาพแผนภาพ
แผนภาพ
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

ผลต่าง

  • 1. ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง ผลต่าง ผลต่างของเซต (Set Difference) พิจารณาตัวอย่าง กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 3, 5, 9} B = {2, 4, 5, 8} เขียนแผนภาพแสดงสมาชิกของเซตAที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตBได้ดังส่วนที่แรเงา ภาพประกอบที่ 1 เราเรียกเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B ว่าผลต่างของเซต A และ เซต B บทนิยาม ผลต่างของเซต A และเซต B คือ เซตของทุกสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็นสมาชิก ของเซต B เขียนแทนผลต่างของเซต A และเซต B ด้วย A - B สัญลักษณ์ผลต่างของเซต A และเซต B คือ A - B = {x | x  A และ x  B} ตัวอย่างที่ 1 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 4, 6} B = {3, 4, 5, 6, 7} จงหา 1) A - B และ B - A 2) U - (AB) A B U 6 7 10 1 2 3 9 5 4 8
  • 2. วิธีทา เขียนแผนภาพแสดงความเกี่ยวข้องของ A, B และ U ได้ดังนี้ 1) A – B = {1, 2} และ B - A = {3, 5, 7} 2) AB = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} ดังนั้น U - (AB) = {8, 9, 10} ตัวอย่างที่ 2 กาหนด U = R A = {x | 0 < x 5} B = {x | 4 < x  7} จงหา 1) AB และ AB 2) A - B และ B – A วิธีทา แยกส่วนเพื่อแสดงเซต A และเซต B เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณาว่าเซต A และเซต B มีสมาชิกใดร่วมกัน ดังนี้ จะได้ว่า 1) AB = {x | 0 < x  7} AB = {x | 4 < x  5} 2) A - B = {x | 0 < x  4} B - A = {x | 5 < x  7} A B U 8 9 10 1 2 4 6 3 5 7
  • 3. สมบัติของผลต่างของเซต เมื่อกาหนด A และ B เป็นเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ์เดียวกัน 1. A - B ไม่จาเป็นต้องเท่ากับ B - A 2. ถ้า A  B แล้ว A - B =  3. ถ้า A B =  แล้ว A - B = A และ B - A = B 4. ถ้า A - B =  แล้ว A/  B 5. A -  = A 6.  - A = 
  • 4. ใบกิจกรรมที่ 12 เรื่อง ผลต่าง คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ เซต A เซต B ผลต่างของเซต A และเซต B (A – B) 1 {1, 2, 3, 4, 5} {2, 3, 5} 2 {2, 4, 6, 8, 10, 12} {6, 8, 10} 3 {5, 10, 15, 20, 25, 30} {10, 15, 20} 4 {a, b, c, d, e} {b, c, d} 5 {p, q, r, s, t} {p, q, r} 6 {x | x เป็นจานวนนับที่ น้อยกว่า 10} {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่ น้อยกว่า 7} 7 {x | x เป็นจานวนนับที่ น้อยกว่า 5} {x | x เป็นจานวนนับ 3 จานวนแรก} 8 {x | x เป็นวันใน 1สัปดาห์} {x | x เป็นวันที่ขึ้นต้นด้วย “ส”} 9 {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่ น้อยกว่า 20} {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่ น้อยกว่า 20 และหารด้วย 3 ลงตัว} 10 {10, 11, 12, 13, 14, 15} {11, 13, 15}
  • 5. เฉลยใบกิจกรรมที่ 12 เรื่อง ผลต่าง คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ เซต A เซต B ผลต่างของเซต A และเซต B (A – B) 1 {1, 2, 3, 4, 5} {2, 3, 5} {1, 4} 2 {2, 4, 6, 8, 10, 12} {6, 8, 10} {2, 4, 12} 3 {5, 10, 15, 20, 25, 30} {10, 15, 20} {5, 25, 30} 4 {a, b, c, d, e} {b, c, d} {a, e} 5 {p, q, r, s, t} {p, q, r} {s, t} 6 {x | x เป็นจานวนนับที่ น้อยกว่า 10} {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่ น้อยกว่า 7} {2, 4, 6, 7, 8, 9} 7 {x | x เป็นจานวนนับที่ น้อยกว่า 5} {x | x เป็นจานวนนับ 3 จานวนแรก} {4} 8 {x | x เป็นวันใน1 สัปดาห์} {x | x เป็นวันที่ขึ้นต้นด้วย “ส”} {จันทร์, อังคาร, พุธ,พฤหัสบดี, ศุกร์, อาทิตย์} 9 {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่ น้อยกว่า 20} {x | x เป็นจานวนคี่บวกที่ น้อยกว่า 20 และหารด้วย 3 ลงตัว} {1, 5, 7, 11, 13, 17, 19} 10 {10, 11, 12, 13, 14, 15} {11, 13, 15} {10, 12, 14}
  • 6. แบบทดสอบย่อยที่ 12 เรื่อง ผลต่าง คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน กระดาษคาตอบ 3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที ................................................................................................................................................................. กาหนดให้ U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} A = {2, 3, 5, 6} B = {1, 2, 3, 8} และ C = {5, 7, 8} ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 3 1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. B – A = {5, 6} ข. A – B = {5, 6} ค. A – C = {5} ง. C – A = {5} 2. (A  B) – C ตรงกับข้อใด ก. {2, 3} ข. {5, 7, 8} ค. { } ง. {2, 3, 5, 7, 8} 3. A – (B – C) ตรงกับข้อใด ก. {2, 3} ข. {5, 6} ค. {1, 2, 3} ง. {2, 3, 5, 6}
  • 7. 4. กาหนดให้ B A จากแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. A – B = {10} ข. B - A = {7, 8, 9} ค. A - B = { } ง. B - U = {1, 2, 3, 4, 5, 6} 5. กาหนดให้ B U A C จากแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง ก. A – B = {2, 4, 5, 6} ข. B - A = {3, 9, 10} ค. A - C = { 2, 4, 5, 6, 8} ง. C – (A – B) = {8, 7} 7 8 9 10 1 U 3 2 4 5 6 2 4 5 6 3 7 8 1
  • 8. เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 12 เรื่อง ผลต่าง ข้อ 1 ข ข้อ 2 ก ข้อ 3 ข ข้อ 4 ค ข้อ 5 ค