SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
เซต
เซต เปนคําที่ไมมีนิยาม โดยปกติเราใชเซตแทนสิ่งที่เรากําลังสนใจอยูเพื่อบงบอกกลุมของสมาชิกตาง ๆ เชน
เรากําลังสนใจกลุมของนักเรียนกลุมหนึ่ง นี่ก็คือ เซต ๆ หนึ่ง แตถาเราตองการบงชี้ใหละเอียดลงไปอีก วาเปนนักเรียนกลุมหนึ่งในชั้น
ม.501 ก็จะถือเปนอีกเซตหนึ่ง แลวถาตองการบงละเอียดไปอีกวา เปนนักเรียนหอง 501 ที่ชอบเรียนวิชาฟสิกส ซึ่งปรากฏวาเปน นาย
ก และ นางสาว ข เทานั้น ที่ชอบเรียนวิชาฟสิกส ก็จะทําใหเซตที่เราตองการพิจารณา มีสมาชิก (element) เพียง 2 ตัว คือ นาย ก และ
นางสาว ข เป็นตน
สัญลักษณตาง ๆ ที่ใชในเซต
A, B, C, …. แทน เซต A, B, C, ….
{ } หรือ ∅ (Phi) แทน เซตวาง
| เปนเครื่องหมาย แทน “โดยที่”
∈ เปนสัญลักษณ แทน “เปนสมาชิกของ”
∉ เปนสัญลักษณ แทน “ไมเปนสมาชิกของ”
⊂ เปนสัญลักษณ แทน “เปนสับเซตของ”
⊄ เปนสัญลักษณ แทน “ไมเปนสับเซตของ”
P(A) เปนสัญลักษณ แทน “เปนเพาเวอรเซตของ A”
U เปนสัญลักษณ แทน “เอกภพสัมพัทธ”
∪ เปนสัญลักษณ แทน “ยูเนียน”
∩ เปนสัญลักษณ แทน “อินเตอรเซกชัน”
A′ เปนสัญลักษณ แทน “คอมพลีเมนตของเซต A”
A - B เปนสัญลักษณ แทน “ผลตางระหวางเซต A และเซต B”
R เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนจริง
+
R เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนจริงบวก
−
R เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนจริงลบ
I เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเต็ม
+
I เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเต็มบวก
−
I เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเต็มลบ
N เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนนับ
Q เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนตรรกยะ
+
Q เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนตรรกยะบวก
−
Q เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนตรรกยะลบ
Q′ เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนอตรรกยะ
P เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเฉพาะ
www.tutorferry.com/
1
สมาชิก (element)
สัญลักษณแทน การเปนสมาชิกของ คือ ∈ และ ∉ แทนไมเปนสมาชิก
เชน x ∈ A อานวา “x เปนสมาชิกของ A” และ x ∉ B อานวา “x ไมเปนสมาชิกของ B”
การดูวา ? เปนสมาชิกของ A บางใหตัดปกกานอกทิ้ง
ตัวอยางที่ จงบอกสมาชิกของเซตที่กําหนดให
(1) A = { 1, { 1 }, 2, 3, 4 }
(2) B = { { 2 }, 3, 4 }
∴ จะไดวา A มีสมาชิก 5 ตัว คือ 1, { 1 }, 2, 3 และ 4
และ B มีสมาชิก 3 ตัว คือ { 2 }, 3 และ 4
เอกภพสัมพัทธ (Relative Universe)
เอกภพสัมพัทธ คือ เซตที่ใหญที่สุดที่เรากําลังพิจารณาอยู เราเขียนเอกภพสัมพัทธ โดยใชสัญลักษณ “U” แทน
เชน
ให U เปนเซตของจํานวนเต็มบวก
A = { 1, 2, 3, 4, 5, …. }
B = { 2, 4, 6, 8, …. }
C = { 1, 3, 5, 7, 9, …. }
แสดงวาทั้งเซต A, B และ C ตางอยูในเอกภพสัมพัทธ
วิธีการเขียนเซตเขียนได 2 แบบ คือ
(1) การเขียนแบบแจกแจงสมาชิก
เปนวิธีการเขียนเซต โดยจะเขียนสมาชิกทั้งหมดลงในเครื่องหมายปกกา โดยจะใชเครื่องหมายจุลภาค
“,” คั่นระหวางสมาชิกแตละตัว และใชสัญลักษณ “…” ในการบอกวายังมีสมาชิกตอไปอีก โดยจะตองรูวาสมาชิก
ตัวถัดไปเปนอะไรอยางชัดเจน เชน {1, 2, 3, …}
ขอตกลง
- การเขียนเซตในแบบแจกแจงสมาชิก จะเขียนสมาชิกแตละตัวเพียงครั้งเดียวเทานั้น นั่นคือ
สมาชิกแตละตัวที่เขียนแบบแจกแจงสมาชิกจะตองไมซ้ํากัน ตัวอยางเขน {3, 5, 3, 5} จะหมายถึง
เซตที่มีสมาชิกเพียง 2 ตัว คือ {3, 5}
- การเขียนเซตในแบบแจกแจงสมาชิกนั้น สามารถสลับที่สมาชิกแตละตัวได เชน {a, b} = {b, a}
www.tutorferry.com/
2
(2) การเขียนแบบบอกเงื่อนไข
วิธีการนี้ เปนวิธีการเขียนเซต โดยจะเขียนตัวแปรแทนสมาชิก และกําหนดเงื่อนไขในรูปของตัวแปรนั้น
เพื่อบอกวา สิ่งใดเปนสมาชิกของเซต แลวใชวงเล็บปกกาครอม
ขอตกลง
เมื่อเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง อาจตกลงไมเขียนเอกภพสัมพัทธ เชน { x | 2
x = 1 } จะหมายถึง
{ x ∈ R | 2
x = 1 }นั่นเอง
ตัวอยางที่ จงเขียนเซตเหลานี้ทั้งแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไข
(1) เซตของจํานวนนับที่นอยกวา 6
(2) เซตของจํานวนเต็มคี่บวก
(3) เซตของจํานวนเต็มลบที่นอยกวา –5 แตมากกวา –30
(4) เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต 0 ถึง 1
(5) เซตของจํานวนเต็มที่อยูระหวาง 2 กับ 3
(6) เซตของพยัญชนะในคําวา “วิชิต”
(7) เซตของสระในภาษาอังกฤษ
วิธีทํา
∈
∈ และ
∈
∈ -
∈ และ
แบบแจกแจงสมาชิก แบบบอกเงื่อนไข
1. 6 { 1, 2, 3, 4, 5 } { x | x N x < 6 }เซตของจํานวนนับที่นอยกวา และ หรือ
{ x N x < 6 }
2. { 1, 3, 5, 7, … } { x | x = 2n – 1, n N }เซตของจํานวนเต็มคี่บวก
3. –5 –30 { -6, -7, -8, …, -29 } { x | x I | -30 < x < -5 }เซตของจํานวนเต็มลบที่นอยกวา แตมากกวา
4. 0 1 -เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต ถึง { x | x R 0 x 1 }∈ ≤ ≤และ หรือ
{ x R 0 x 1 }∈ ≤ ≤และ หรือ
{ x | 0 x 1 }และ หรือ≤ ≤
5. 2 3 { }, { x | x I 2 < x < 3 }เซตของจํานวนเต็มที่อยูระหวาง กับ และ หรือ∅ ∈
{ x I 2 < x < 3 }
6. ” ” { , , } { x | x “ ” }เซตของพยัญชนะในคําวา วิชิต ว ช ต เปนพยัญชนะในคําวา วิชิต
7. { a, e, i, o, u } { x | x }เซตของสระในภาษาอังกฤษ เปนสระในภาษาอังกฤษ
www.tutorferry.com/
เซตวาง (Empty Set) เซตจํากัด (Finite Set) และ เซตอนันต (Infinite Set)
(1) เซตวาง (Empty Set)
เขียนแทนดวยสัญลักษณ {} หรือ ∅ เปนตัวอักษรกรีก อานวา “phi (ไฟ)”
คือ เซตที่ไมมีสมาชิกเลย ตัวอยางเชน
A = { x | x เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยกวา 0 }
B = { x | x เปนจํานวนจริงซึ่ง x - x = 1 }
C = { x ∈ R | 2
x < 0}
D = { x ∈ R | x + 5 = x – 3 }
E = { x ∈ I | 2x – 5 = 0 }
(2) เซตจํากัด (Finite Set)
คือ เซตที่สามารถบอกจํานวนสมาชิกที่แตกตางกันในเซตนั้น วามีจํานวนเทาใด ที่มากกวาหรือเทากับ 0 ตัว
หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ เปนเซตที่มีสมาชิกจํานวนแนนอน รวมทั้งเซตวางที่ไมมีสมาชิกเลยดวย เชน
A = { x | x เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยกวา 20 }
B = { x | x เปนจํานวนจริงซึ่ง x - 1 = 1 }
C = { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “บานรักเรียน” }
D = { x ∈ I | 2
x = 10 }
(3) เซตอนันต (Infinite Set)
คือ เซตที่ไมใชเซตจํากัด หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกมากมายจนนับไมถวน หรือ
ไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกที่แตกตางในเซตนั้นวามีจํานวนเทาใดได เชน
A = {x | x เปนเซตของจํานวนจริง}
B = เซตของจํานวนเต็มบวก
C = {x | x ∈ I | x ≥ 7}
www.tutorferry.com/
การเทากันของเซต (Equality of Sets)
เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว กลาวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต
และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A ซึ่งสามารถเขียนแทนดวย
และถา A และ B เปนเซตที่ไมเทากัน เราจะเขียนวา A ≠ B
หรือ กลาวอีกนัยหนึ่ง ไดวา A จะไมเทากับ B ก็ตอเมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวของเซต A ที่ไมใชสมาชิกของเซต B หรือ
มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวของเซต B ที่ไมใชสมาชิกของเซต A
ตัวอยางที่ 1.3 จงบอกวาเซตที่กําหนดใหตอไปนี้เทากันหรือไม
(1) A = { 2, 4, 6, 8, 10 } และ B = { 4, 2, 10, 8, 6 }
(2) C = { x | x เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา –4 } และ D = { -1, -2, -3 }
(3) E = { ∅, 1, {2} } และ F = { ∅, {1}, {2} }
วิธีทํา
(1) A และ B มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว แสดงวา A = B
(2) C และ D ก็มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัวแสดงวา C = D ดวย
(3) E และ F มีสมาชิกไมเหมือนกันทุกตัว โดย 1 ∈ E แต 1 ∉ F
∴ E ≠ F
A = B
www.tutorferry.com/
4
สับเซต
เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B ซึ่งสามารถเขียนแทนไดดวย
ขอตกลง
(1) เซตทุกเซตจะเปนสับเซตของตัวเอง หาก A เปนเซตใด ๆ แลว A ⊂ A
(2) เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต หาก A เปนเซตใด ๆ แลว ∅ ⊂ A
(3) สับเซตแท ถา A เปนสับเซตแทของ B ก็ตอเมื่อ A ⊂ B และ A ≠ B
(4) ถา A ⊂ B และ B ⊂ C แลว A ⊂ C เมื่อ A, B และ C เปนเซตใด ๆ
(5) A ⊂ B และ B ⊂ A ก็ตอเมื่อ A = B
(6) ถา A มีสมาชิก n(A) แลว จํานวนสับเซตของ A จะมี )(2 An ตัว
∴ จํานวนสับเซตแทของเซต A เทากับ 12 )(
−An
เซต
(7) ถา BA⊂ แต BA ≠ จะไดวา A เล็กกวา B
เรียกวา A เปนสับเซตแทของ B
ถา BA⊂ และ BA = เรียกวา A เปนสับเซตไมแทของ B
ในหนังสือบางเลม จะใชสัญลักษณ “⊆ ” แทนสับเซต และใชสัญลักษณ “⊂ ” แทนสับเซตแท (Proper Subset)
แตในหนังสือเลมนี้ จะใชสัญลักษณ “⊂ ” แทนสับเซต ในกรณีที่เปนสับเซตแท ก็จะเขียนวา “สับเซตแท”
(8) ถา A ⊂ B แลว B’ ⊂ A’
(9) วิธีการดูวาเซต A เปนสับเซตของเซต B หรือไม
ดูจากการตัดปกกานอกสุดทิ้ง แลวดูวาหนาตาสมาชิกของเซตที่นอยกวา
เหมือนกับอีกเซตที่มากกวาหรือไม ถาจํานวนสมาชิกนอยกวา และแตละตัวหนาตาเหมือนกัน
ก็แสดงวาเปนสับเซต
ตัวอยางที่ ถา A = { 1, 2 } และ B = { 1, 2, 3, 4 } จะไดวา
A มีจํานวนสมาชิกนอยกวา B เมื่อตัดปกกานอกสุดทิ้งแลว จะไดวา A มี 1 และ 2 เปนสมาชิก ซึ่ง B เมื่อตัดปกกานอกสุดทิ้ง
จะมี 1 2 3 และ 4 เปนสมาชิก ซึ่งหนาตา 1 และ 2 ของเซต A เหมือนกับ 1 2 ในเซต B แตมีจํานวนสมาชิกนอยกวา จะไดวา A ⊂ B
ตัวอยางที่ 1.5 กําหนดให A = { 1, 2, 3, 4, 5 }, B = { 0, 1, 2 }, C = { 3, 4, 5 } และ D = { 1, 5 }
แสดงวา C ⊂ A, D ⊂ A และ B ⊄ A
A ⊂ B
www.tutorferry.com/
7
6ตัวอยางที่ ให A = { 1, { 1 }, 2, 3, 4 } จงพิจารณาวา { 1 }, { { 1 } }, { { 1 }, 2 } เปนสับเซตของ A หรือไม
วิธีทํา การดูวา ? เปนสับเซตของ A บาง ใหตัดปกกาทิ้ง แลวดูวา เปนสมาชิกของ A หรือไม ถาเปน
ก็เปนสับเซตของ A จะได {1} ⊂ A, { { 1 } } ⊂ A, { { 1 }, 2 } ⊂ A
เพาเวอรเซตของเซต A หรือ P(A)
เพาเวอรเซตของเซต A คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกที่เปนเซตซึ่งเปนสับเซตของ A
โดย P(A) = {x | x ⊂ A}
ขอตกลง (1) ∅ ∈ P(A) และ ∅ ⊂ ทุกเซต
(2) เมื่อ A เปนเซตจํากัด หากเซต A มีสมาชิก n ตัว เพาเวอรเซตของ A จะมีสมาชิก = 2n
ตัว
คุณสมบัติเกี่ยวกับเพาเวอรเซต
กําหนด A, B เปนเซตใด ๆ
(1) P(A) ≠ ∅
(2) P(∅) = { ∅ }
(3) ∅ ∈ P(A)
(4) A ∈ P(A)
(5) { A } ⊂ P(A)
(6) x ∈ P(A) ก็ตอเมื่อ x ⊂ P(A)
(7) ∅ ⊂ P(A)
(8) {∅} ⊂ P(A)
(9) ถา A มีสมาชิก n ตัว สมาชิกของ P(A) มี 2n
เซต
(10) ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B) และถา P(A) ⊂ P(B) แลว A ⊂ B เชนกัน
(11) P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B)
ตัวอยางที่ กําหนดให A = { 1, 2, 3 }, B = { 1, 5 } จงแสดงใหเห็นจริงวา P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B)
วิธีทํา A ∩ B = { 1 }
∴ P(A ∩ B) = {∅, {1}}
P(A) = { ∅, { 1 }, { 2 }, { 3 }, { 1, 2 }, { 1, 3 }, { 2, 3 }, { 1, 2, 3 } }
P(B) = { ∅, { 1 }, { 5 }, { 1, 5 } }
∴ P(A) ∩ P(B) = { ∅, { 1 } }
ดังนั้นจะเห็นวา P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B) จริง
(12) P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) แลวถา A ⊂ B แลว P(A) ∪ P(B) = P(A ∪ B)
www.tutorferry.com/
11
10
9
8ตัวอยางที่ กําหนดให A = { a, b } และ B = { b, c } จงแสดงใหเห็นจริงวา P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B)
วิธีทํา P(A) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } }
P(B) = { ∅, { b }, { c }, { b, c } }
∴ P(A) ∪ P(B) = { ∅, { a }, { b }, { c }, { a, b }, { b, c } }
A ∪ B = { a, b, c }
∴ P(A ∪ B) = { ∅, { a }, { b }, { c }, { a, b }, { b, c }, { a, c }, { a, b, c } }
ดังนั้น จะเห็นไดวา P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) จริง
ตัวอยางที่ กําหนดให A = { a } และ B = { a, b } จงแสดงใหเห็นจริงวา P(A) ∪ P(B) = P(A ∪ B)
วิธีทํา P(A) = { ∅, { a } }
P(B) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } }
∴ P(A) ∪ P(B) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } }
A ∪ B = {a, b}
∴ P(A ∪ B) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } }
ดังนั้น จะเห็นไดวา P(A) ∪ P(B) = P(A ∪ B) จริง ในกรณีที่ A ⊂ B
(13) P(A – B) = P(A ∩ B’)
= P(A) ∩ P(B’)
≠ P(A) ∩ [P(B)]’
≠ P(A) - P(B)
(14) n[P(A) – P(B)] = n[P(A)] – n[P(A) ∩ P(B)]
ตัวอยางที่ กําหนดให A = {1, 2, 3}
P(A) = {{1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}, ∅}
จะเห็นไดวา เซต A มีสมาชิก 3 ตัว เพาเวอรเซตของเซต A จะมีสมาชิก = 23
= 8 ตัว
ตัวอยางที่ กําหนดให A = { 1, 2, 3, 4 } แลวจงหา P(A)
P(A) = {∅, {1}, {2}, {3}, {4}, {1, 2}, {1, 3}, {1, 4}, {2, 3}, {2, 4}, {3, 4}, {1, 2, 3}, {1, 2, 4}, {2, 3, 4}, {1, 3, 4}, {1, 2, 3, 4}}
จะเห็นไดวา เซต A มีสมาชิก 4 ตัว เพาเวอรเซตของเซต A จะมีจํานวนสมาชิก = 24
= 16 ตัว
www.tutorferry.com/
12ตัวอยางที่ กําหนดให A = { 1, 2, 3, 4 } และ B = { 1, { 1, 2 }, { 2, 4 } } จงหาจํานวนสมาชิกของ P(A) – B วามีจํานวนเทาใด
วิธีทํา การที่จะทําโจทยลักษณะนี้ มี 2 วิธี คือ
(1) วิธีธรรมดา
P(A) มีสมาชิกที่เปนสับเซตของเซต A ทั้งหมด )(
2 An
= 4
2 = 16 ตัว
ซึ่งก็คือ ∅, { 1 }, { 2 }, { 3 }, { 4 }, { 1, 2 }, { 1, 3 }, { 1, 4 }, { 2, 3 }, { 2, 4 }, { 3, 4 }, { 1, 2, 3 },
{ 1, 2, 4 }, { 2, 3, 4 }, { 1, 3, 4 }, { 1, 2, 3, 4 }
จากนั้น ตองมาตัดตัวซ้ํากับ B จํานวน 2 ตัว ซึ่งก็คือ { 1, 2 }, { 2, 4 }
∴ จํานวนสมาชิกของ P(A) – B = 16 – 2 = 14 ตัว
(2) วิธีลัด
โจทยประเภทนี้เคยออกขอสอบเอ็นทรานสแลว ซึ่งหากใชวิธีทางตรง
จะตองเสียเวลาในการเขียนสมาชิกทั้งหมดของ P(A) กอน แลวจึงมาตัดสมาชิกที่ซ้ํากับสมาชิกในเซต B ทิ้งไป
ซึ่งทําใหเสียเวลาในการทําขอสอบอยางมาก (อาจทําใหทําขอสอบไมทันได) ดังนั้น จึงมีวิธีลัด
ทําใหเราประหยัดเวลาในการทําได แตกอนอื่นตองเขาใจ หลักที่วา
(1) เพาเวอรเซตจะมีสมาชิกเปนเซตกอน
(2) เซตลบกัน คือ การนําสมาชิกตัวตั้งมาทั้งหมดและตัดตัวซ้ํากับตัวลบทิ้งไป
P(A) มีจํานวนสมาชิกทั้งหมด )(
2 An
= 4
2 = 16 ตัว
ซึ่งใน 16 ตัวนี้ลวนแตเปนเซตซึ่งเปนสับเซตของเซต A
จากโจทย ใหเราหา P(A) – B จะไดวา นําสมาชิกของ P(A) เปนตัวตั้ง ตัดตัวซ้ํากับ สมาชิกของเซต B ทิ้งไป ดังนั้น
ใน 16 ตัวนี้ จะมีตัวซ้ํากับ B กี่ตัว ก็ใหตัดทิ้งไป
วิธีการดูอยางเร็ววา P(A) ไปซ้ํากับ B กี่ตัวอะไรบาง โดยดูที่ B = { 1, { 1, 2 }, { 2, 4 } }
โดยดูจากการตัดปกกานอกทิ้งไป จะไดสมาชิกของ B มี 3 ตัว 1, { 1, 2 } และ { 2, 4 }
- 1 ไมเปนเซต
แสดงวา ไมมีทางไปซ้ํากับ สมาชิกใน P(A) ได เนื่องจากสมาชิกใน P(A) ตองเปนเซต เทานั้น
- { 1, 2 } ใหดูโดยตัดปกกานอกทิ้ง จะได 1 กับ 2 ซึ่งเปนสมาชิกของเซต A
แสดงวา { 1, 2 } ซ้ํากับสมาชิกของ P(A)
- { 2, 4 } ใหดูโดยตัดปกกานอกทิ้ง จะได 2 กับ 4 ซึ่งเปนสมาชิกของเซต A
แสดงวา { 2, 4 } ซ้ํากับสมาชิกของ P(A)
จะไดวา จํานวนสมาชิกของ P(A) ซ้ํากับ สมาชิกของ B จํานวน 2 ตัว ซึ่งก็คือ { 1, 2 }, { 2, 4 }
∴ จํานวนสมาชิกของ P(A) – B = 16 – 2 = 14 ตัว
www.tutorferry.com/
แผนภาพของเวนน-ออยเลอร (Venn-Euler Diagram)
เปนแผนภาพที่ใชเขียนแทนเซต เพื่อใหมีความเขาใจเกี่ยวกับเซตไดงายขึ้น โดยนักคณิตศาสตร 2 ทาน คือ จอหน เวนน
(John Venn) ค.ค.1834-1883 และ เลียวนารด ออยเลอร (Leonnard Euler) ค.ศ.1707-1873 จึงเรียกแผนภาพดังกลาวเพื่อเปนเกียรติ วา
“แผนภาพของเวนน-ออยเลอร”
แผนภาพเวนน-ออยเลอร นิยมแทนเอกภพสัมพัทธ (U) ดวย สี่เหลี่ยมมุมฉาก และแทนเซตตาง ๆ ซึ่งเปนสับเซตของ U
ดวยวงกลม หรือ รูปเหลี่ยมที่มีพื้นที่จํากัด
รูปแบบความสัมพันธระหวางเซตเมื่อเขียนลงบนแผนภาพเวนน-ออยเลอร
เซตที่ไมมีสมาชิกรวมกันเลย (disjoint sets)
เซตที่มีสมาชิกรวมกัน ( intersecting sets)
ความสัมพันธที่ A ทั้งหมดเปนสมาชิกใน B และ B ทั้งหมดเปนสมาชิกใน A
เมื่อกําหนดเอกภพสัมพัทธ
เอกภพสัมพัทธ
A B
A B
สมาชิกใน A
ที่ไมมีใน B
สมาชิกใน B
ที่ไมมีใน A
สมาชิกรวมกัน 2 เซต
B
A
A
B
A B
U
www.tutorferry.com/
14
13ตัวอยางที่ กําหนดให U แทน เซตของจํานวนจริง
A = {1, 3, 5, 7, …}
B = {2, 4, 6, 8, …}
C = {-1, -2, -3, -4, …}
จะเขียนแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้
ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง
A = {1, 2, 3, 4, 5}
B = {2, 4, 6, 8, 10}
จะเขียนแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้
U
0
A
B
C
U
1
3 5
2 6
4 8
10
www.tutorferry.com/
15
การกระทําทางเซต (Operation on Set)
การกระทําทางเซต
คือ การนําเซต 2 เซตมากระทํากัน เพื่อใหเปนเซตใหม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 4 แบบ คือ
(1) คอมพลีเมนต (2) ยูเนียน
(3) อินเตอรเซกชั่น (4) ผลตาง
ก. คอมพลีเมนต (Complement)
คอมพลีเมนตของเซต A ซึ่งเปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของ U
แตไมเปนสมาชิกของ A ซึ่งสามารถเขียนแทนดวย A′ และเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ A′ = {x | x ∈ U และ x ∉A}
ตัวอยางที่ กําหนดให U = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
A = {1, 3, 5}
B = {4, 6}
ดังนั้น A′ = {2, 4, 6}และ B′ = {1, 2, 3, 5}
ข. ยูเนียน (Union)
ยูเนียนของเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกที่เปนสมาชิกของเซต A หรือของเซต B หรือของทั้ง 2
เซต ซึ่งสามารถเขียนแทนดวย
เขียน A ∪ B แบบบอกเงื่อนไขไดคือ A ∪ B = {x ∈ U | x ∈ A ∨ x ∈ B}
คุณสมบัติเกี่ยวกับยูเนียน
กําหนด A, B และ C เปนเซตใด ๆ
(1) A ∪ B = B ∪ A คุณสมบัติการสลับที่
(2) (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C) คุณสมบัติการจัดหมู
(3) ถา A ∪ B = A ∪ C แลว ไมจริงที่วา B = C เชน A = U ไมมีคุณสมบัติการตัดออก
(4) A ∪ A = A
(5) A ∪ ∅ = A = ∅ ∪ A
(6) A ∪ U = U = U ∪ A
(7) ถา A ⊂ B แลว A ∪ B = B
A ∪ B
www.tutorferry.com/
16
(8) ถา A ∪ B = B แลว A ⊂ B
(9) A ⊂ A ∪ B และ B ⊂ A ∪ B
แปลวา การที่ A ยูเนียนกับ B แลว จะไดเซตที่ใหญกวา หรือเทากับ แตละเซตเดิม นั่นเอง
(10) ถา A ∪ B = ∅ แลว A = ∅ และ B = ∅
ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {1, 3, 5, 7, 9}
ดังนั้น A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 7, 9}
ซึ่งสามารถเขียนดวยแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้
ค. อินเตอรเซกชัน (Intersection)
อินเตอรเซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B
ซึ่งสามารถเขียนแทนไดดวย
เขียนแทน A ∩ B แบบบอกเงื่อนไขไดคือ A ∩ B = {x ∈ U | x ∈ A ∧ x ∈ B}
คุณสมบัติเกี่ยวกับการอินเตอรเซกชัน
กําหนด A, B และ C เปนเซตใด ๆ
(1) A ∩ B = B ∩ A คุณสมบัติการสลับที่
(2) (A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C) คุณสมบัติการจัดหมู
(3) A ∩ A = A
(4) A ∩ ∅ = ∅ = ∅ ∩ A
(5) A ∩ U = A = U ∩ A
ดังนั้น U จึงเป็นเอกลักษณทาง อินเตอรเซกชั่น นั่นเอง
(6) ถา A ⊂ B แลว A ∩ B = A
U
A B
2
4
1 7
3 5 9
A ∩ B
www.tutorferry.com/
17
(7) ถา A ∩ B = A แลว A ⊂ B
(8) ถา A ∩ B = ∅ แลว ไมจําเปนที่ A = ∅ หรือ B = ∅
แปลวา A กับ B อาจจะไมมีสมาชิกรวมกันเลยก็ได
(9) A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C)
(10) A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)
(11) ถา A ∩ B = A ∪ B แลว A = B
(12) A ∩ B ⊂ A และ A ∩ B ⊂ B
แปลวา A ∩ B ไมมีทางไดเซตที่ใหญกวา A หรือ B เต็มที่ก็ไดเทากับเซตใดเซตหนึ่งเทานั้น
(13) ถา A ⊂ C แลว A ∪ B ⊂ C ∪ B
ถา A ⊂ C แลว A ∩ B ⊂ C ∩ B
แตบทกลับไมเปนความจริง
(14) ถา A ∩ B เปนเซตอนันต แลว A และ B จะเปนเซตอนันตดวย
ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {2, 4, 6, 8, 10}, B = {1, 2, 4, 5, 7}
ดังนั้น A ∩ B = {2, 4}
ซึ่งสามารถเขียนดวยแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้
ง. ผลตาง
ผลตางระหวางเซต A และเซต B หรือ คอมพลีเมนตของเซต B เมื่อเทียบกับเซต A
คือเซตที่ประกอบดวยสมาชิกของเซต A ซึ่งไมเปนสมาชิกของเซต B เขียนแทนดวย A – B
แปลวา เอา A เปนตัวตั้ง แลวตัดตัวซ้ํากับ B ทิ้งไป นั่นเอง แสดงวา A – B ตองเหลือสมาชิกนอยกวาหรือเทากับ A เดิม
ดังนั้น จะไดวา A – B ⊂ A
U
A B
2
4
www.tutorferry.com/
18ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {4, 5, 6, 7, 8]
ดังนั้น A – B = {1, 2, 3}
B – A = {6, 7, 8}
หมายเหตุ ถา B – A = ∅ แลว จะไดวา B ⊂ A
คุณสมบัติของเซตเกี่ยวกับคอมพลีเมนตและผลตาง
กําหนด A, B และ C เปนเซตใด ๆ
(1) A – B = A ∩ B′
(2) (A′)′ = A
(3) ∅′ = U
(4) U ′ = ∅
(5) (เซตจํากัด)’ = เซตอนันต และ (เซตอนันต)’ = เซตจํากัด
เชน กําหนดให A = {x ∈ I | -8 < x < -1}
จะไดวา A = {-2, -3, -4, -5, -6, -7} ซึ่งเปนเซตจํากัด แลว
A’ = {x ∈ I | x ≤ -8 หรือ x ≥ -1} ซึ่งเปนเซตอนันต นั่นเอง
(6) A ∪ A′ = U = A′ ∪ A
(7) A ∩ A′ = ∅ = A′ ∩ A
(8) (A ∪ B)′ = A′ ∩ B′
(9) (A ∩ B)′ = A′ ∪ B′ “DE MORGAN’S LAW”
(10) A – (B ∪ C) = (A – B) ∩ (A – C)
(11) A– ( B ∩ C ) = (A – B) ∪ (A – C)
U
A B
1
2 3
www.tutorferry.com/
จำนวนสมาชิกของเซตจํากัด
ถา A เปนเซตจํากัด เขียนแทนสมาชิกของเซต A ดวย n(A)
เชน A = {a, b, c} และ B = {5, 6, 7, 8, 9} จะไดวา n(A) = 3 และ n(B) = 5
(1) จํานวนสมาชิกของเซตลบกัน
จาก 'BABA ∩=−
จะไดวา CBACBA −∩=∩∩ )('
)()'('' CBACBACBA ∪−=∪∩=∩∩
ACBACBCBA −∩=∩∩=∩∩ )(')('
หมายเหตุ n(A ∩ B’) = n(A – B)
= n(A) – n(A ∩ B)
(2) จํานวนสมาชิกโดยการใชสูตรและแผนภาพเวนนออยเลอร
n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
n(A ∪ B ∪ C)
= n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩ B) – n(A ∩ C) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
สูตรนี้มักจะใชตอนที่โจทยใหหาคาของจํานวนสมาชิกของเซตทียูเนียนหรืออินเตอรเซกกันและสูตรนี้จะชวยในการใสตัว
เลขตาง ๆ ในแผนภาพเวนนออยเลอรใหสมบูรณ เพื่อความสะดวกในการหาจํานวนสมาชิกตางๆ ที่โจทยกําหนดให
(3) จํานวนสมาชิกของเพาเวอรเซต
จํานวนสมาชิกของเพาเวอรเซตของเซต A คือ สองยกกําลังจํานวนสมาชิกของเซต A
)(
2))(( An
APn =
www.tutorferry.com/
สับเซตและเพาเวอรเซต
สับเซต (Subset)
นิยาม เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B
A เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊂ B
A ไมเปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊄ B
ตัวอยาง 1
ถา A = { 1 } , B = { 0 , 1 , 2 } , C = { 3 , 4 , 5 , 6 } และ D = {0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }
จะได A ⊂ B , B ⊂ D และ A ⊂ D
แต A ⊄ C , B ⊄ C และ C ⊄ D
ตัวอยาง 2 กําหนดให A = { 1 , 2 , 3 } จงหาสับเซตทั้งหมด
จะไดสับเซตทั้งหมดของ A คือ { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ
ถา A ⊂ B และ A ≠ B เชน A = { 1 } , B = { 1 , 2 } จะเรียก A วาเปนสับเซตแทของ เซต B
ถา A ⊂ B และ A = B เชน A = { a , b } , B = { a , b } จะเรียก A วาเปนสับเซตไมแทของ เซต B
ตัวอยาง 3 กําหนดให A = {1, 2} B = {2, 3} C = {1, 2, 3} D = {1, 2, 3, 4}
สรุปไดวา A ⊄ B, A ⊂ C, A ⊂ D
B ⊄ A, B ⊂ C, B ⊂ D
C ⊄ A, C ⊄ B, C ⊂ D
D ⊄ A, D ⊄ B, D ⊄ C
จากตัวอยาง 2 พบวามี n(A) = 3, จากการสังเกตพบวา มีจํานวนสับเซต 8 เซต ดังนั้นอาจสรุปไดดังตาราง
เซต จํานวนสมาชิก จํานวนสับเซต
{} 0 1 = ( 0
2 )
{1} 1 2 = ( 1
2 )
{1, 2} 2 4 = ( 2
2 )
{1, 2, 3} 3 8 = (23
)
{1, 2, 3, 4} 4 16 = ( 4
2 )
{1, 2, 3, 4, 5} 5 32 = ( 5
2 )
{1, 2, 3, …, n} n 2n
www.tutorferry.com/
ขอตกลงเกี่ยวกับสับเซต
• เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว A ⊂ A
• เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว φ ⊂ A
เราทราบจํานวนสับเซตทั้งหมด วา เซตใดๆ มีจํานวนสับเซตเปน 2n
จากความรูเรื่องสับเซตแท เรา
พบวา เซตตัวมันเอง จะไมเปนสับเซตแท ดังนั้น เราสามารถหาจํานวนสับเซตแทไดโดยอาศัยสูตร 2n
- 1
เรื่องการหาจํานวนสมาชิกของซับเซต จะไดเรียนอีกครั้งหนึ่งในเรื่องคอมบินาทอริกในระดับสูงตอไป
สรุปสมบัติของสับเซต เมื่อให A, B และ C เปนเซตใดๆ ที
่
ไมใชเซตวาง จะไดวา
1. เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง เชน .,, CCBBAA ⊂⊂⊂
2. เซตวางเปนสับเซตของทุก ๆ เซต เชน ., BA ⊂⊂ φφ
3. ถา φ⊂A แลว φ=A
4. ถา BA ⊂ และ CB ⊂ แลว CA ⊂ .
5. ถา BA = แลว BA ⊂ และ AB ⊂ .
6. ถา BA ⊂ และ AB ⊂ แลว BA = .
7. ถา A มีจํานวนสมาชิกเทากับ n แลว จะมีสับเซตจํานวน n
2
เพาเวอรเซต ( power set )
คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อ A เปนเซตจํากัด
เพาเวอรเซตของเซต A เขียนแทนดวย P(A)
ถา A = { a , b , c } เซตของสับเซตทั้งหมดของ A หรือ
เพาเวอรเซตของ A คือ P(A) = { { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ }
ตัวอยาง ถา A = { 6 , 9 , {1} , {{2}} } จงหา P(A)
P(A) = { {6} , {9} , {{1}} , {{{2}}} , {6,9} , {6,{1}} , {6,{{2}}} , {9,{1}} , {9,{{2}}} , {{1},{{2}}} , {6,9,{1}}
, {6,9,{{2}}} , {6,{1},{{2}}} , {9,{1},{{2}}} , {6,9,{1},{{2}}} , φ }
ถา A เปนเซตจํากัดที่มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n
ตัว
หนังสือบางเลมใช 2A
แทน P(A)
ตัวอยาง
www.tutorferry.com/
สมบัติของเพาเวอรเซตที่ควรทราบ
กําหนดให A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
1. φ ∈ P(A)
2. A ∈ P(A)
3. ถา A เปนเซตจํากัด และมีสมาชิก n ตัว แลว P(A) จะเปน เซตจํากัดที่มีสมาชิก 2n ตัว
4. ถา A เปนเซตอนันต แลว P(A) จะเปนเซตอนันต
5. ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B)
6. ถา P(A) ⊂ P(B) แลว A ⊂ B
7. P(A ∩ B) = P(A) ∩ P(B)
8. P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B)
www.tutorferry.com/
แนะนําหลักการคิดเล็กๆ นอยๆ
ขอสอบสมัยใหมชอบหาขอสอบมาใหนองๆ งงเลนๆ เชนการหาจํานวนสมาชิกของ P(A) – A หรือ A – P(A)
หรือ ( P(A) – A) ∪ (A – P(A)) จึงไดสรุปแนวคิดการหาคาดังกลาวใหดังนี้
การหาจํานวนสมาชิกของ P(A) – A
ขั้นที่ 1 หาจํานวนสมาชิกของ P(A) ซึ่งก็เทากับ n(A)2
ขั้นที่ 2 หาสมาชิกที่ซ้ํากันของ A และ P (A) นั่นคือหา n (P (A) ∩ A)
ขั้นที่ 3 เอาคาที่ไดจากขอ 1 ลบดวยคาที่ไดจากขอ 2
เพียงแคนี้ก็เสร็จแวว!!!!!
การหาจํานวนสมาชิกของ A – P (A)
ขั้นที่ 1 หาจํานวนสมาชิกของ A
ขั้นที่ 2 หาสมาชิกที่ซ้ํากันของ A และ P (A) นั่นคือหา n (P (A) ∩ A)
ขั้นที่ 3 เอาคาที่ไดจากขอ 1 ลบดวยคาที่ไดจากขอ 2
เพียงแคนี้ก็เสร็จแวว!!!!!
การหาจํานวนสมาชิกของ ( P(A) – A) ∪ (A – P(A))
ถาเราสมมติให B = P (A) นั่นก็คือเราหาจํานวนสมาชิกของ (A – B) ∪ (B – A)
นั่นคือเราก็หาจํานวนสมาชิกของ P (A) – A และ หาจํานวนสมาชิกของ A – P (A)
แลวนําคาที่ไดทั้ง 2 คานี้มาบวกกันไดเลย
www.tutorferry.com/
จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( ABA ∪∩
วิธีทํา: )'( ABA ∪∩ = '' ABA ∩∩
= ')'( BAA ∩∩
= 'B∩φ
= φ
ดังนั้น, )'( ABA ∪∩ = φ
จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩
วิธีทํา: )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = '')()( EBDCBA ∩∩∩∩∩
= '' EBDCBA ∩∩∩∩∩
= ')'( EADCBB ∩∩∩∩∩
= 'EADC ∩∩∩∩φ
= φ
ดังนั้น, )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = φ
จงทําใหเปนผลสําเร็จ ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩
วิธีทํา: ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = ))((' DCBBAA −∪∩∩∩
= ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩
= ))(( DCBB −∪∩∩φ
= φ
ดังนั้น, ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = φ
จงทําใหเปนผลสําเร็จ
)'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩
วิธีทํา: )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩
= )]'()''[()]'()''[( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩
= )]'('[)]'''([ CBCBACBCBA ∩∩∩∪∪∩∩∩∪
= )'()( φφ ∪∪∪ AA
= 'AA∪
= U
ดังนั้น, )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = U
ตัวอยาง
ตัวอยาง
ตัวอยาง
ตัวอยาง
www.tutorferry.com/
จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( BBA ∪−
วิธีทํา: )'( BBA ∪− = UA −
= 'UA ∩
= φ∩A
= φ
ดังนั้น, )'( BBA ∪− = φ
จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( DBCA ∪−∩
วิธีทํา: )()( DBCA ∪−∩ = )'()( DBCA ∪∩∩
= )''()( DBCA ∩∩∩
= '' DBCA ∩∩∩
= )'()'( DCBA ∩∩∩
= )()( DCBA −∩−
ดังนั้น, )()( DBCA ∪−∩ = )()( DCBA −∩−
ตัวอยาง
ตัวอยาง
จงทําใหเปนผลสําเร็จ ])[( ABCA ∪∩∩
วิธีทํา: ])[( ABCA ∪∩∩ = )]([ BCAA ∩∪∩
= A
ดังนั้น, ])[( ABCA ∪∩∩ = A
จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( CADBBA ∪∪∪∩∪
วิธีทํา: )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = )()( CDBABA ∪∪∪∩∪
= BA ∪
ดังนั้น, )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = BA ∪
จงทําใหเปนผลสําเร็จ CCBA ∪∩∪ ])[(
วิธีทํา: CCBA ∪∩∪ ])[( = )]([ BACC ∪∩∪
= C
ดังนั้น, CCBA ∪∩∪ ])[( = C
ตัวอยาง
ตัวอยาง
ตัวอยาง
www.tutorferry.com/
แบบฝกหัดเรื่อง เซต
1. ถา A ={∅ ,0,1,{0},{0,1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A แลวเซต P(A) –A มีสมาชิกกี่ตัว
1. 28 2. 29
3. 30 4. 31
2. กําหนดให A = {a,{a},{b},{b,c}} ขอใดตอไปนี้ถูก
1. (A-{b,c}) ∪ {b} = {a,b ,{a},{b},{b,c}} 2. (A-{b,c}) ∪ {b} = {a,{a},{b}}
3. (A-{a,{b}}) -{a} = {{b,c}} 4. (A-{a,{b}}) -{a} = {b,c}
3. ให { }7,6,5,4,3,2,1=S
P(S) = เพาเวอรเซตของ S
ถา X= {A∈P(S) ⎢1∈A และ 7∉A}
และ Y= {A∈X ⎢ผลบวกของสมาชิกใน Aไมเกิน 6}
แลวจํานวนสมาชิกของ และ (ตามลําดับ) เทากับขอใดตอไปนี้
1. 16 , 5 2. 16 , 6
3. 32 , 5 4. 32 , 6
4. ถา A ={0,1} และ B = {0,{1},{0,1}} แลวขอใดตอไปนี้เปนจริง
1. A ∈P(B) 2. {1}∈ P(A) ∩P(B)
3. จํานวนสมาชิกของ P(A∩B) = 2 4. จํานวนสมาชิกของ P(A∪B) = 8
5. ให A, B, C, D เปนเซตใดๆ (A∩C) - (B∪D) เทากับเซตในขอใดตอไปนี้
1. (A-B) ∩ (D-C) 2. (A-B) ∩ (C-D)
3. (A-B) ∪ (D-C) 4. (A-B) ∪ (C-D)
6. กําหนดให A,B,C เปนเซต
( ) ( ) ( ) ( ) ( )( ) 18,32,75,79,92 =−∩=∩∩=∪=∪=∪ CBAnCBAnCBnCAnBAn
( )( ) ( )( ) 2,6 =−∩=−∩ ACBnBCAn ดังนั้น ( )CBAn ∪∪ เทากับขอใดตอไปนี้
1. 93 2. 94
3. 95 4. 96
7. ถาเซต A มีสมาชิก 10 ตัวแลว จํานวนทั้งหมดของความสัมพันธจาก A×A ไป A เทากับขอใดตอไปนี้
1. 100
2 2. 1000
2
3. 2
100 4. 2
1000
www.tutorferry.com/
8. ให A ={0,1,2,3}และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A ถา r เปนความสัมพันธจาก Aไปยัง P(A) กําหนดโดย
r ={(a,B)⏐a≥ 2, a∉B และ a+1 ∉B}แลว r มีจํานวนสมาชิกกี่จํานวน
1. 12 2. 14
3. 16 4. 18
9. ขอใดตอไปนี้ไมใช สวนที่แรเงาในแผนภาพ
1. BA ′∪ 2. AB −
3. BA ∩′ 4. ( ) ABA −∪
10. ในการสํารวจความนิยมของคนจํานวน 100 คน ที่มีตอนายแดง นายดํา และนายเขียว โดยทุกคนตองแสดงความนิยมคน
ใดคนหนึ่งอยางนอยหนึ่งคน ปรากฏวานายแดง ไดรับคะแนนความนิยมมากกวา นายดําอยู 6 คะแนน และเขียน
แผนภาพไดดังรูป
แดง ดํา
20
23
เขียว
ตอไปนี้ขอใดผิด
1. นายดํา ไดคะแนนนิยมนอยที่สุด
2. ผลรวมของคะแนนนิยมของนายแดง นายดํา และนายเขียว คือ 199
3. ผูที่ลงคะแนนนิยมใหเฉพาะนายแดง เทานั้น มีจํานวน 10 คน
4. ผูที่ลงคะแนนนิยมใหนายดํา มีจํานวน 64 คน
22 11
9
www.tutorferry.com/
11. จากการสํารวจผูฟงเพลงจํานวน 180 คน พบวา มีผูชอบฟงเพลงไทยสากล 95 คน เพลงไทยเดิม 92 คน เพลงลูกทุง 125
คน เพลงไทยสากลและเพลงไทยเดิม 52 คน เพลงไทยสากลและเพลงลูกทุง 43 คน เพลงไทยเดิมและเพลงลูกทุง 57 คน
และทั้ง 180 คนจะชอบฟงเพลงอยางนอยหนึ่งประเภทในสามประเภทดังกลาวขางตน จํานวนคนที่ชอบฟงเพลงไทย
สากลเพียงอยางเดียวเทากับขอใดตอไปนี้
1. 20 2. 25
3. 30 4. 35
12. ถา A เปนเซตอนันต B เปนเซตอนันตและ C เปนเซตจํากัดแลว เซตในขอใดเปนเซตอนันต
1. ( ) ( )CBCA ∩∪∩ 2. ( )CBA ∩∪
3. ( ) ( )ACDC −∪− 4. ( ) CBA ∩∪
13. จงพิจารณาวาขอใดถูก
1. ถาจํานวนสมาชิกของเซตใดเซตหนึ่งเทากับ n แลว จํานวนสับเซตแทของเซตนั้นเทากับ n
2
2. ถา A และ B เปนเซตใดๆ และ =∩ BA ∅ แลว ( )=∩ BAP ∅
3. จํานวนสมาชิกของเพาเวอรเซตเปนจํานวนคูเสมอ
4. ไมถูกตองทั้ง 1 , 2 และ 3
14. กําหนดให B={∅, 0 , 1} และ P(B) แทนเพาเวอรเซตของเซต B ขอใดตอไปนี้ผิด
1. ∅ ∈ P(B) แต 0∉P(B) 2. ∅ ⊂ P(B) แต 1 ⊄ P(B)
3. {∅} ∈P(B) และ {1} ∈ P(B) 4. {∅} ⊂ P(B) และ {0} ⊂ P(B)
15. ให I คือเซตของจํานวนเต็ม ถา A = {x∈I⏐x=2k , k∈I} และ B = {x∈I⏐ 0472 2
≤−− xx } แลวจํานวนสมาชิก
ของเพาเวอรเซตของ BA ∩ เทากับขอใดตอไปนี้
1. 4 2. 8
3. 16 4. 32
16. นักเรียนหองหนึ่งมี 48 คน ทําการสอบวิชาคณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ปรากฏผลดังนี้
มีนักเรียนสอบไดวิชาคณิตศาสตร 20 คน
สอบไดวิชาภาษาอังกฤษ 15 คน
สอบไดวิชาภาษาไทย 25 คน
สอบไดวิชาคณิตศาสตรอยางเดียว 10 คน
สอบตกทั้ง 3 วิชา 3 คน
นักเรียนที่สอบไดทั้งวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีกี่คน
1. 4 2. 5
3. 16 4. 25
www.tutorferry.com/
17. กําหนดให { } { }2,1,5,4,3,2,1 == BA และ { }4,3,2=C แลว ( )( )CBAP ∩− มีจํานวนสมาชิกเทากับ
จํานวนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้
1. {x∈Ι⎪ 2
x < 17} 2. {x∈Ι⎪-2<x≤ 2}
3. {x∈Ι⎪ 2
x = 4} 4. P ({1,2,3}∩ {1})
18. ถา A = {a, b, c, d, e, f} และ B = {a, b} แลวจํานวนเซต X ซึ่ง B⊂ X ⊂ A เทากับขอใดตอไปนี้
1. 4 2. 15
3. 16 4. 32
19. กําหนดใหจํานวนสมาชิกของ ( )BAP ∩ เทากับ 4 จํานวนสมาชิกของ ( )BAP ∪ เทากับ 64 ถาจํานวนสมาชิกของ
( )AP เทากับจํานวนสมาชิกของ ( )BP แลว จํานวนสมาชิกของ BA − คือขอใด
1. 2 2. 8
3. 16 4. 24
20. ในหมูบานแหงหนึ่งมี 504 ครอบครัว โดยที่แตละครอบครัวประกอบอาชีพตอไปนี้อยางนอย 1 อาชีพ คือทํานา ทําไร
เลี้ยงสัตว ถา 239 ครอบครัวไมทํานา 238 ครอบครัวไมทําไร 214 ครอบครัวไมเลี้ยงสัตว 122 ครอบครัวทํานาและทําไร
115 ครอบครัวทํานาและเลี้ยงสัตว ขอใดตอไปนี้ผิด
1. มีครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอย 2 อาชีพ จํานวน 267 ครอบครัว
2. มีครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางเดียว จํานวน 217 ครอบครัว
3. มีครอบครัวที่ทํานาเพียงอยางเดียว จําวน 78 ครอบครัว
4. ประกอบอาชีพทั้ง 3 อยาง จํานวน 50 ครอบครัว
www.tutorferry.com/

More Related Content

What's hot

แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจชัชชญา ช่างเจริญ
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 

What's hot (20)

16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 

Viewers also liked

ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตNuchita Kromkhan
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 

Viewers also liked (6)

ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 

Similar to คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)Tum Anucha
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4jirat thipprasert
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนFern Monwalee
 

Similar to คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
Set
SetSet
Set
 
Set
SetSet
Set
 
Math kit ebook
Math kit ebookMath kit ebook
Math kit ebook
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
Set54 operation
Set54 operationSet54 operation
Set54 operation
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต

  • 1. เซต เซต เปนคําที่ไมมีนิยาม โดยปกติเราใชเซตแทนสิ่งที่เรากําลังสนใจอยูเพื่อบงบอกกลุมของสมาชิกตาง ๆ เชน เรากําลังสนใจกลุมของนักเรียนกลุมหนึ่ง นี่ก็คือ เซต ๆ หนึ่ง แตถาเราตองการบงชี้ใหละเอียดลงไปอีก วาเปนนักเรียนกลุมหนึ่งในชั้น ม.501 ก็จะถือเปนอีกเซตหนึ่ง แลวถาตองการบงละเอียดไปอีกวา เปนนักเรียนหอง 501 ที่ชอบเรียนวิชาฟสิกส ซึ่งปรากฏวาเปน นาย ก และ นางสาว ข เทานั้น ที่ชอบเรียนวิชาฟสิกส ก็จะทําใหเซตที่เราตองการพิจารณา มีสมาชิก (element) เพียง 2 ตัว คือ นาย ก และ นางสาว ข เป็นตน สัญลักษณตาง ๆ ที่ใชในเซต A, B, C, …. แทน เซต A, B, C, …. { } หรือ ∅ (Phi) แทน เซตวาง | เปนเครื่องหมาย แทน “โดยที่” ∈ เปนสัญลักษณ แทน “เปนสมาชิกของ” ∉ เปนสัญลักษณ แทน “ไมเปนสมาชิกของ” ⊂ เปนสัญลักษณ แทน “เปนสับเซตของ” ⊄ เปนสัญลักษณ แทน “ไมเปนสับเซตของ” P(A) เปนสัญลักษณ แทน “เปนเพาเวอรเซตของ A” U เปนสัญลักษณ แทน “เอกภพสัมพัทธ” ∪ เปนสัญลักษณ แทน “ยูเนียน” ∩ เปนสัญลักษณ แทน “อินเตอรเซกชัน” A′ เปนสัญลักษณ แทน “คอมพลีเมนตของเซต A” A - B เปนสัญลักษณ แทน “ผลตางระหวางเซต A และเซต B” R เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนจริง + R เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนจริงบวก − R เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนจริงลบ I เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเต็ม + I เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเต็มบวก − I เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเต็มลบ N เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนนับ Q เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนตรรกยะ + Q เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนตรรกยะบวก − Q เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนตรรกยะลบ Q′ เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนอตรรกยะ P เปนสัญลักษณ แทน เซตของจํานวนเฉพาะ www.tutorferry.com/
  • 2. 1 สมาชิก (element) สัญลักษณแทน การเปนสมาชิกของ คือ ∈ และ ∉ แทนไมเปนสมาชิก เชน x ∈ A อานวา “x เปนสมาชิกของ A” และ x ∉ B อานวา “x ไมเปนสมาชิกของ B” การดูวา ? เปนสมาชิกของ A บางใหตัดปกกานอกทิ้ง ตัวอยางที่ จงบอกสมาชิกของเซตที่กําหนดให (1) A = { 1, { 1 }, 2, 3, 4 } (2) B = { { 2 }, 3, 4 } ∴ จะไดวา A มีสมาชิก 5 ตัว คือ 1, { 1 }, 2, 3 และ 4 และ B มีสมาชิก 3 ตัว คือ { 2 }, 3 และ 4 เอกภพสัมพัทธ (Relative Universe) เอกภพสัมพัทธ คือ เซตที่ใหญที่สุดที่เรากําลังพิจารณาอยู เราเขียนเอกภพสัมพัทธ โดยใชสัญลักษณ “U” แทน เชน ให U เปนเซตของจํานวนเต็มบวก A = { 1, 2, 3, 4, 5, …. } B = { 2, 4, 6, 8, …. } C = { 1, 3, 5, 7, 9, …. } แสดงวาทั้งเซต A, B และ C ตางอยูในเอกภพสัมพัทธ วิธีการเขียนเซตเขียนได 2 แบบ คือ (1) การเขียนแบบแจกแจงสมาชิก เปนวิธีการเขียนเซต โดยจะเขียนสมาชิกทั้งหมดลงในเครื่องหมายปกกา โดยจะใชเครื่องหมายจุลภาค “,” คั่นระหวางสมาชิกแตละตัว และใชสัญลักษณ “…” ในการบอกวายังมีสมาชิกตอไปอีก โดยจะตองรูวาสมาชิก ตัวถัดไปเปนอะไรอยางชัดเจน เชน {1, 2, 3, …} ขอตกลง - การเขียนเซตในแบบแจกแจงสมาชิก จะเขียนสมาชิกแตละตัวเพียงครั้งเดียวเทานั้น นั่นคือ สมาชิกแตละตัวที่เขียนแบบแจกแจงสมาชิกจะตองไมซ้ํากัน ตัวอยางเขน {3, 5, 3, 5} จะหมายถึง เซตที่มีสมาชิกเพียง 2 ตัว คือ {3, 5} - การเขียนเซตในแบบแจกแจงสมาชิกนั้น สามารถสลับที่สมาชิกแตละตัวได เชน {a, b} = {b, a} www.tutorferry.com/
  • 3. 2 (2) การเขียนแบบบอกเงื่อนไข วิธีการนี้ เปนวิธีการเขียนเซต โดยจะเขียนตัวแปรแทนสมาชิก และกําหนดเงื่อนไขในรูปของตัวแปรนั้น เพื่อบอกวา สิ่งใดเปนสมาชิกของเซต แลวใชวงเล็บปกกาครอม ขอตกลง เมื่อเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง อาจตกลงไมเขียนเอกภพสัมพัทธ เชน { x | 2 x = 1 } จะหมายถึง { x ∈ R | 2 x = 1 }นั่นเอง ตัวอยางที่ จงเขียนเซตเหลานี้ทั้งแบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไข (1) เซตของจํานวนนับที่นอยกวา 6 (2) เซตของจํานวนเต็มคี่บวก (3) เซตของจํานวนเต็มลบที่นอยกวา –5 แตมากกวา –30 (4) เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต 0 ถึง 1 (5) เซตของจํานวนเต็มที่อยูระหวาง 2 กับ 3 (6) เซตของพยัญชนะในคําวา “วิชิต” (7) เซตของสระในภาษาอังกฤษ วิธีทํา ∈ ∈ และ ∈ ∈ - ∈ และ แบบแจกแจงสมาชิก แบบบอกเงื่อนไข 1. 6 { 1, 2, 3, 4, 5 } { x | x N x < 6 }เซตของจํานวนนับที่นอยกวา และ หรือ { x N x < 6 } 2. { 1, 3, 5, 7, … } { x | x = 2n – 1, n N }เซตของจํานวนเต็มคี่บวก 3. –5 –30 { -6, -7, -8, …, -29 } { x | x I | -30 < x < -5 }เซตของจํานวนเต็มลบที่นอยกวา แตมากกวา 4. 0 1 -เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต ถึง { x | x R 0 x 1 }∈ ≤ ≤และ หรือ { x R 0 x 1 }∈ ≤ ≤และ หรือ { x | 0 x 1 }และ หรือ≤ ≤ 5. 2 3 { }, { x | x I 2 < x < 3 }เซตของจํานวนเต็มที่อยูระหวาง กับ และ หรือ∅ ∈ { x I 2 < x < 3 } 6. ” ” { , , } { x | x “ ” }เซตของพยัญชนะในคําวา วิชิต ว ช ต เปนพยัญชนะในคําวา วิชิต 7. { a, e, i, o, u } { x | x }เซตของสระในภาษาอังกฤษ เปนสระในภาษาอังกฤษ www.tutorferry.com/
  • 4. เซตวาง (Empty Set) เซตจํากัด (Finite Set) และ เซตอนันต (Infinite Set) (1) เซตวาง (Empty Set) เขียนแทนดวยสัญลักษณ {} หรือ ∅ เปนตัวอักษรกรีก อานวา “phi (ไฟ)” คือ เซตที่ไมมีสมาชิกเลย ตัวอยางเชน A = { x | x เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยกวา 0 } B = { x | x เปนจํานวนจริงซึ่ง x - x = 1 } C = { x ∈ R | 2 x < 0} D = { x ∈ R | x + 5 = x – 3 } E = { x ∈ I | 2x – 5 = 0 } (2) เซตจํากัด (Finite Set) คือ เซตที่สามารถบอกจํานวนสมาชิกที่แตกตางกันในเซตนั้น วามีจํานวนเทาใด ที่มากกวาหรือเทากับ 0 ตัว หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ เปนเซตที่มีสมาชิกจํานวนแนนอน รวมทั้งเซตวางที่ไมมีสมาชิกเลยดวย เชน A = { x | x เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยกวา 20 } B = { x | x เปนจํานวนจริงซึ่ง x - 1 = 1 } C = { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “บานรักเรียน” } D = { x ∈ I | 2 x = 10 } (3) เซตอนันต (Infinite Set) คือ เซตที่ไมใชเซตจํากัด หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกมากมายจนนับไมถวน หรือ ไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกที่แตกตางในเซตนั้นวามีจํานวนเทาใดได เชน A = {x | x เปนเซตของจํานวนจริง} B = เซตของจํานวนเต็มบวก C = {x | x ∈ I | x ≥ 7} www.tutorferry.com/
  • 5. การเทากันของเซต (Equality of Sets) เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว กลาวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A ซึ่งสามารถเขียนแทนดวย และถา A และ B เปนเซตที่ไมเทากัน เราจะเขียนวา A ≠ B หรือ กลาวอีกนัยหนึ่ง ไดวา A จะไมเทากับ B ก็ตอเมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวของเซต A ที่ไมใชสมาชิกของเซต B หรือ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวของเซต B ที่ไมใชสมาชิกของเซต A ตัวอยางที่ 1.3 จงบอกวาเซตที่กําหนดใหตอไปนี้เทากันหรือไม (1) A = { 2, 4, 6, 8, 10 } และ B = { 4, 2, 10, 8, 6 } (2) C = { x | x เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา –4 } และ D = { -1, -2, -3 } (3) E = { ∅, 1, {2} } และ F = { ∅, {1}, {2} } วิธีทํา (1) A และ B มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว แสดงวา A = B (2) C และ D ก็มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัวแสดงวา C = D ดวย (3) E และ F มีสมาชิกไมเหมือนกันทุกตัว โดย 1 ∈ E แต 1 ∉ F ∴ E ≠ F A = B www.tutorferry.com/
  • 6. 4 สับเซต เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B ซึ่งสามารถเขียนแทนไดดวย ขอตกลง (1) เซตทุกเซตจะเปนสับเซตของตัวเอง หาก A เปนเซตใด ๆ แลว A ⊂ A (2) เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต หาก A เปนเซตใด ๆ แลว ∅ ⊂ A (3) สับเซตแท ถา A เปนสับเซตแทของ B ก็ตอเมื่อ A ⊂ B และ A ≠ B (4) ถา A ⊂ B และ B ⊂ C แลว A ⊂ C เมื่อ A, B และ C เปนเซตใด ๆ (5) A ⊂ B และ B ⊂ A ก็ตอเมื่อ A = B (6) ถา A มีสมาชิก n(A) แลว จํานวนสับเซตของ A จะมี )(2 An ตัว ∴ จํานวนสับเซตแทของเซต A เทากับ 12 )( −An เซต (7) ถา BA⊂ แต BA ≠ จะไดวา A เล็กกวา B เรียกวา A เปนสับเซตแทของ B ถา BA⊂ และ BA = เรียกวา A เปนสับเซตไมแทของ B ในหนังสือบางเลม จะใชสัญลักษณ “⊆ ” แทนสับเซต และใชสัญลักษณ “⊂ ” แทนสับเซตแท (Proper Subset) แตในหนังสือเลมนี้ จะใชสัญลักษณ “⊂ ” แทนสับเซต ในกรณีที่เปนสับเซตแท ก็จะเขียนวา “สับเซตแท” (8) ถา A ⊂ B แลว B’ ⊂ A’ (9) วิธีการดูวาเซต A เปนสับเซตของเซต B หรือไม ดูจากการตัดปกกานอกสุดทิ้ง แลวดูวาหนาตาสมาชิกของเซตที่นอยกวา เหมือนกับอีกเซตที่มากกวาหรือไม ถาจํานวนสมาชิกนอยกวา และแตละตัวหนาตาเหมือนกัน ก็แสดงวาเปนสับเซต ตัวอยางที่ ถา A = { 1, 2 } และ B = { 1, 2, 3, 4 } จะไดวา A มีจํานวนสมาชิกนอยกวา B เมื่อตัดปกกานอกสุดทิ้งแลว จะไดวา A มี 1 และ 2 เปนสมาชิก ซึ่ง B เมื่อตัดปกกานอกสุดทิ้ง จะมี 1 2 3 และ 4 เปนสมาชิก ซึ่งหนาตา 1 และ 2 ของเซต A เหมือนกับ 1 2 ในเซต B แตมีจํานวนสมาชิกนอยกวา จะไดวา A ⊂ B ตัวอยางที่ 1.5 กําหนดให A = { 1, 2, 3, 4, 5 }, B = { 0, 1, 2 }, C = { 3, 4, 5 } และ D = { 1, 5 } แสดงวา C ⊂ A, D ⊂ A และ B ⊄ A A ⊂ B www.tutorferry.com/
  • 7. 7 6ตัวอยางที่ ให A = { 1, { 1 }, 2, 3, 4 } จงพิจารณาวา { 1 }, { { 1 } }, { { 1 }, 2 } เปนสับเซตของ A หรือไม วิธีทํา การดูวา ? เปนสับเซตของ A บาง ใหตัดปกกาทิ้ง แลวดูวา เปนสมาชิกของ A หรือไม ถาเปน ก็เปนสับเซตของ A จะได {1} ⊂ A, { { 1 } } ⊂ A, { { 1 }, 2 } ⊂ A เพาเวอรเซตของเซต A หรือ P(A) เพาเวอรเซตของเซต A คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกที่เปนเซตซึ่งเปนสับเซตของ A โดย P(A) = {x | x ⊂ A} ขอตกลง (1) ∅ ∈ P(A) และ ∅ ⊂ ทุกเซต (2) เมื่อ A เปนเซตจํากัด หากเซต A มีสมาชิก n ตัว เพาเวอรเซตของ A จะมีสมาชิก = 2n ตัว คุณสมบัติเกี่ยวกับเพาเวอรเซต กําหนด A, B เปนเซตใด ๆ (1) P(A) ≠ ∅ (2) P(∅) = { ∅ } (3) ∅ ∈ P(A) (4) A ∈ P(A) (5) { A } ⊂ P(A) (6) x ∈ P(A) ก็ตอเมื่อ x ⊂ P(A) (7) ∅ ⊂ P(A) (8) {∅} ⊂ P(A) (9) ถา A มีสมาชิก n ตัว สมาชิกของ P(A) มี 2n เซต (10) ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B) และถา P(A) ⊂ P(B) แลว A ⊂ B เชนกัน (11) P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B) ตัวอยางที่ กําหนดให A = { 1, 2, 3 }, B = { 1, 5 } จงแสดงใหเห็นจริงวา P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B) วิธีทํา A ∩ B = { 1 } ∴ P(A ∩ B) = {∅, {1}} P(A) = { ∅, { 1 }, { 2 }, { 3 }, { 1, 2 }, { 1, 3 }, { 2, 3 }, { 1, 2, 3 } } P(B) = { ∅, { 1 }, { 5 }, { 1, 5 } } ∴ P(A) ∩ P(B) = { ∅, { 1 } } ดังนั้นจะเห็นวา P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B) จริง (12) P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) แลวถา A ⊂ B แลว P(A) ∪ P(B) = P(A ∪ B) www.tutorferry.com/
  • 8. 11 10 9 8ตัวอยางที่ กําหนดให A = { a, b } และ B = { b, c } จงแสดงใหเห็นจริงวา P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) วิธีทํา P(A) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } } P(B) = { ∅, { b }, { c }, { b, c } } ∴ P(A) ∪ P(B) = { ∅, { a }, { b }, { c }, { a, b }, { b, c } } A ∪ B = { a, b, c } ∴ P(A ∪ B) = { ∅, { a }, { b }, { c }, { a, b }, { b, c }, { a, c }, { a, b, c } } ดังนั้น จะเห็นไดวา P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) จริง ตัวอยางที่ กําหนดให A = { a } และ B = { a, b } จงแสดงใหเห็นจริงวา P(A) ∪ P(B) = P(A ∪ B) วิธีทํา P(A) = { ∅, { a } } P(B) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } } ∴ P(A) ∪ P(B) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } } A ∪ B = {a, b} ∴ P(A ∪ B) = { ∅, { a }, { b }, { a, b } } ดังนั้น จะเห็นไดวา P(A) ∪ P(B) = P(A ∪ B) จริง ในกรณีที่ A ⊂ B (13) P(A – B) = P(A ∩ B’) = P(A) ∩ P(B’) ≠ P(A) ∩ [P(B)]’ ≠ P(A) - P(B) (14) n[P(A) – P(B)] = n[P(A)] – n[P(A) ∩ P(B)] ตัวอยางที่ กําหนดให A = {1, 2, 3} P(A) = {{1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}, ∅} จะเห็นไดวา เซต A มีสมาชิก 3 ตัว เพาเวอรเซตของเซต A จะมีสมาชิก = 23 = 8 ตัว ตัวอยางที่ กําหนดให A = { 1, 2, 3, 4 } แลวจงหา P(A) P(A) = {∅, {1}, {2}, {3}, {4}, {1, 2}, {1, 3}, {1, 4}, {2, 3}, {2, 4}, {3, 4}, {1, 2, 3}, {1, 2, 4}, {2, 3, 4}, {1, 3, 4}, {1, 2, 3, 4}} จะเห็นไดวา เซต A มีสมาชิก 4 ตัว เพาเวอรเซตของเซต A จะมีจํานวนสมาชิก = 24 = 16 ตัว www.tutorferry.com/
  • 9. 12ตัวอยางที่ กําหนดให A = { 1, 2, 3, 4 } และ B = { 1, { 1, 2 }, { 2, 4 } } จงหาจํานวนสมาชิกของ P(A) – B วามีจํานวนเทาใด วิธีทํา การที่จะทําโจทยลักษณะนี้ มี 2 วิธี คือ (1) วิธีธรรมดา P(A) มีสมาชิกที่เปนสับเซตของเซต A ทั้งหมด )( 2 An = 4 2 = 16 ตัว ซึ่งก็คือ ∅, { 1 }, { 2 }, { 3 }, { 4 }, { 1, 2 }, { 1, 3 }, { 1, 4 }, { 2, 3 }, { 2, 4 }, { 3, 4 }, { 1, 2, 3 }, { 1, 2, 4 }, { 2, 3, 4 }, { 1, 3, 4 }, { 1, 2, 3, 4 } จากนั้น ตองมาตัดตัวซ้ํากับ B จํานวน 2 ตัว ซึ่งก็คือ { 1, 2 }, { 2, 4 } ∴ จํานวนสมาชิกของ P(A) – B = 16 – 2 = 14 ตัว (2) วิธีลัด โจทยประเภทนี้เคยออกขอสอบเอ็นทรานสแลว ซึ่งหากใชวิธีทางตรง จะตองเสียเวลาในการเขียนสมาชิกทั้งหมดของ P(A) กอน แลวจึงมาตัดสมาชิกที่ซ้ํากับสมาชิกในเซต B ทิ้งไป ซึ่งทําใหเสียเวลาในการทําขอสอบอยางมาก (อาจทําใหทําขอสอบไมทันได) ดังนั้น จึงมีวิธีลัด ทําใหเราประหยัดเวลาในการทําได แตกอนอื่นตองเขาใจ หลักที่วา (1) เพาเวอรเซตจะมีสมาชิกเปนเซตกอน (2) เซตลบกัน คือ การนําสมาชิกตัวตั้งมาทั้งหมดและตัดตัวซ้ํากับตัวลบทิ้งไป P(A) มีจํานวนสมาชิกทั้งหมด )( 2 An = 4 2 = 16 ตัว ซึ่งใน 16 ตัวนี้ลวนแตเปนเซตซึ่งเปนสับเซตของเซต A จากโจทย ใหเราหา P(A) – B จะไดวา นําสมาชิกของ P(A) เปนตัวตั้ง ตัดตัวซ้ํากับ สมาชิกของเซต B ทิ้งไป ดังนั้น ใน 16 ตัวนี้ จะมีตัวซ้ํากับ B กี่ตัว ก็ใหตัดทิ้งไป วิธีการดูอยางเร็ววา P(A) ไปซ้ํากับ B กี่ตัวอะไรบาง โดยดูที่ B = { 1, { 1, 2 }, { 2, 4 } } โดยดูจากการตัดปกกานอกทิ้งไป จะไดสมาชิกของ B มี 3 ตัว 1, { 1, 2 } และ { 2, 4 } - 1 ไมเปนเซต แสดงวา ไมมีทางไปซ้ํากับ สมาชิกใน P(A) ได เนื่องจากสมาชิกใน P(A) ตองเปนเซต เทานั้น - { 1, 2 } ใหดูโดยตัดปกกานอกทิ้ง จะได 1 กับ 2 ซึ่งเปนสมาชิกของเซต A แสดงวา { 1, 2 } ซ้ํากับสมาชิกของ P(A) - { 2, 4 } ใหดูโดยตัดปกกานอกทิ้ง จะได 2 กับ 4 ซึ่งเปนสมาชิกของเซต A แสดงวา { 2, 4 } ซ้ํากับสมาชิกของ P(A) จะไดวา จํานวนสมาชิกของ P(A) ซ้ํากับ สมาชิกของ B จํานวน 2 ตัว ซึ่งก็คือ { 1, 2 }, { 2, 4 } ∴ จํานวนสมาชิกของ P(A) – B = 16 – 2 = 14 ตัว www.tutorferry.com/
  • 10. แผนภาพของเวนน-ออยเลอร (Venn-Euler Diagram) เปนแผนภาพที่ใชเขียนแทนเซต เพื่อใหมีความเขาใจเกี่ยวกับเซตไดงายขึ้น โดยนักคณิตศาสตร 2 ทาน คือ จอหน เวนน (John Venn) ค.ค.1834-1883 และ เลียวนารด ออยเลอร (Leonnard Euler) ค.ศ.1707-1873 จึงเรียกแผนภาพดังกลาวเพื่อเปนเกียรติ วา “แผนภาพของเวนน-ออยเลอร” แผนภาพเวนน-ออยเลอร นิยมแทนเอกภพสัมพัทธ (U) ดวย สี่เหลี่ยมมุมฉาก และแทนเซตตาง ๆ ซึ่งเปนสับเซตของ U ดวยวงกลม หรือ รูปเหลี่ยมที่มีพื้นที่จํากัด รูปแบบความสัมพันธระหวางเซตเมื่อเขียนลงบนแผนภาพเวนน-ออยเลอร เซตที่ไมมีสมาชิกรวมกันเลย (disjoint sets) เซตที่มีสมาชิกรวมกัน ( intersecting sets) ความสัมพันธที่ A ทั้งหมดเปนสมาชิกใน B และ B ทั้งหมดเปนสมาชิกใน A เมื่อกําหนดเอกภพสัมพัทธ เอกภพสัมพัทธ A B A B สมาชิกใน A ที่ไมมีใน B สมาชิกใน B ที่ไมมีใน A สมาชิกรวมกัน 2 เซต B A A B A B U www.tutorferry.com/
  • 11. 14 13ตัวอยางที่ กําหนดให U แทน เซตของจํานวนจริง A = {1, 3, 5, 7, …} B = {2, 4, 6, 8, …} C = {-1, -2, -3, -4, …} จะเขียนแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้ ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {2, 4, 6, 8, 10} จะเขียนแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้ U 0 A B C U 1 3 5 2 6 4 8 10 www.tutorferry.com/
  • 12. 15 การกระทําทางเซต (Operation on Set) การกระทําทางเซต คือ การนําเซต 2 เซตมากระทํากัน เพื่อใหเปนเซตใหม ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 4 แบบ คือ (1) คอมพลีเมนต (2) ยูเนียน (3) อินเตอรเซกชั่น (4) ผลตาง ก. คอมพลีเมนต (Complement) คอมพลีเมนตของเซต A ซึ่งเปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของ A ซึ่งสามารถเขียนแทนดวย A′ และเขียนแบบบอกเงื่อนไขได คือ A′ = {x | x ∈ U และ x ∉A} ตัวอยางที่ กําหนดให U = {1, 2, 3, 4, 5, 6} A = {1, 3, 5} B = {4, 6} ดังนั้น A′ = {2, 4, 6}และ B′ = {1, 2, 3, 5} ข. ยูเนียน (Union) ยูเนียนของเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกที่เปนสมาชิกของเซต A หรือของเซต B หรือของทั้ง 2 เซต ซึ่งสามารถเขียนแทนดวย เขียน A ∪ B แบบบอกเงื่อนไขไดคือ A ∪ B = {x ∈ U | x ∈ A ∨ x ∈ B} คุณสมบัติเกี่ยวกับยูเนียน กําหนด A, B และ C เปนเซตใด ๆ (1) A ∪ B = B ∪ A คุณสมบัติการสลับที่ (2) (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C) คุณสมบัติการจัดหมู (3) ถา A ∪ B = A ∪ C แลว ไมจริงที่วา B = C เชน A = U ไมมีคุณสมบัติการตัดออก (4) A ∪ A = A (5) A ∪ ∅ = A = ∅ ∪ A (6) A ∪ U = U = U ∪ A (7) ถา A ⊂ B แลว A ∪ B = B A ∪ B www.tutorferry.com/
  • 13. 16 (8) ถา A ∪ B = B แลว A ⊂ B (9) A ⊂ A ∪ B และ B ⊂ A ∪ B แปลวา การที่ A ยูเนียนกับ B แลว จะไดเซตที่ใหญกวา หรือเทากับ แตละเซตเดิม นั่นเอง (10) ถา A ∪ B = ∅ แลว A = ∅ และ B = ∅ ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {1, 3, 5, 7, 9} ดังนั้น A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 7, 9} ซึ่งสามารถเขียนดวยแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้ ค. อินเตอรเซกชัน (Intersection) อินเตอรเซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B ซึ่งสามารถเขียนแทนไดดวย เขียนแทน A ∩ B แบบบอกเงื่อนไขไดคือ A ∩ B = {x ∈ U | x ∈ A ∧ x ∈ B} คุณสมบัติเกี่ยวกับการอินเตอรเซกชัน กําหนด A, B และ C เปนเซตใด ๆ (1) A ∩ B = B ∩ A คุณสมบัติการสลับที่ (2) (A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C) คุณสมบัติการจัดหมู (3) A ∩ A = A (4) A ∩ ∅ = ∅ = ∅ ∩ A (5) A ∩ U = A = U ∩ A ดังนั้น U จึงเป็นเอกลักษณทาง อินเตอรเซกชั่น นั่นเอง (6) ถา A ⊂ B แลว A ∩ B = A U A B 2 4 1 7 3 5 9 A ∩ B www.tutorferry.com/
  • 14. 17 (7) ถา A ∩ B = A แลว A ⊂ B (8) ถา A ∩ B = ∅ แลว ไมจําเปนที่ A = ∅ หรือ B = ∅ แปลวา A กับ B อาจจะไมมีสมาชิกรวมกันเลยก็ได (9) A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C) (10) A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C) (11) ถา A ∩ B = A ∪ B แลว A = B (12) A ∩ B ⊂ A และ A ∩ B ⊂ B แปลวา A ∩ B ไมมีทางไดเซตที่ใหญกวา A หรือ B เต็มที่ก็ไดเทากับเซตใดเซตหนึ่งเทานั้น (13) ถา A ⊂ C แลว A ∪ B ⊂ C ∪ B ถา A ⊂ C แลว A ∩ B ⊂ C ∩ B แตบทกลับไมเปนความจริง (14) ถา A ∩ B เปนเซตอนันต แลว A และ B จะเปนเซตอนันตดวย ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {2, 4, 6, 8, 10}, B = {1, 2, 4, 5, 7} ดังนั้น A ∩ B = {2, 4} ซึ่งสามารถเขียนดวยแผนภาพของเวนน-ออยเลอรได ดังนี้ ง. ผลตาง ผลตางระหวางเซต A และเซต B หรือ คอมพลีเมนตของเซต B เมื่อเทียบกับเซต A คือเซตที่ประกอบดวยสมาชิกของเซต A ซึ่งไมเปนสมาชิกของเซต B เขียนแทนดวย A – B แปลวา เอา A เปนตัวตั้ง แลวตัดตัวซ้ํากับ B ทิ้งไป นั่นเอง แสดงวา A – B ตองเหลือสมาชิกนอยกวาหรือเทากับ A เดิม ดังนั้น จะไดวา A – B ⊂ A U A B 2 4 www.tutorferry.com/
  • 15. 18ตัวอยางที่ กําหนดให U แทนเซตของจํานวนจริง A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {4, 5, 6, 7, 8] ดังนั้น A – B = {1, 2, 3} B – A = {6, 7, 8} หมายเหตุ ถา B – A = ∅ แลว จะไดวา B ⊂ A คุณสมบัติของเซตเกี่ยวกับคอมพลีเมนตและผลตาง กําหนด A, B และ C เปนเซตใด ๆ (1) A – B = A ∩ B′ (2) (A′)′ = A (3) ∅′ = U (4) U ′ = ∅ (5) (เซตจํากัด)’ = เซตอนันต และ (เซตอนันต)’ = เซตจํากัด เชน กําหนดให A = {x ∈ I | -8 < x < -1} จะไดวา A = {-2, -3, -4, -5, -6, -7} ซึ่งเปนเซตจํากัด แลว A’ = {x ∈ I | x ≤ -8 หรือ x ≥ -1} ซึ่งเปนเซตอนันต นั่นเอง (6) A ∪ A′ = U = A′ ∪ A (7) A ∩ A′ = ∅ = A′ ∩ A (8) (A ∪ B)′ = A′ ∩ B′ (9) (A ∩ B)′ = A′ ∪ B′ “DE MORGAN’S LAW” (10) A – (B ∪ C) = (A – B) ∩ (A – C) (11) A– ( B ∩ C ) = (A – B) ∪ (A – C) U A B 1 2 3 www.tutorferry.com/
  • 16. จำนวนสมาชิกของเซตจํากัด ถา A เปนเซตจํากัด เขียนแทนสมาชิกของเซต A ดวย n(A) เชน A = {a, b, c} และ B = {5, 6, 7, 8, 9} จะไดวา n(A) = 3 และ n(B) = 5 (1) จํานวนสมาชิกของเซตลบกัน จาก 'BABA ∩=− จะไดวา CBACBA −∩=∩∩ )(' )()'('' CBACBACBA ∪−=∪∩=∩∩ ACBACBCBA −∩=∩∩=∩∩ )(')(' หมายเหตุ n(A ∩ B’) = n(A – B) = n(A) – n(A ∩ B) (2) จํานวนสมาชิกโดยการใชสูตรและแผนภาพเวนนออยเลอร n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩ B) – n(A ∩ C) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) สูตรนี้มักจะใชตอนที่โจทยใหหาคาของจํานวนสมาชิกของเซตทียูเนียนหรืออินเตอรเซกกันและสูตรนี้จะชวยในการใสตัว เลขตาง ๆ ในแผนภาพเวนนออยเลอรใหสมบูรณ เพื่อความสะดวกในการหาจํานวนสมาชิกตางๆ ที่โจทยกําหนดให (3) จํานวนสมาชิกของเพาเวอรเซต จํานวนสมาชิกของเพาเวอรเซตของเซต A คือ สองยกกําลังจํานวนสมาชิกของเซต A )( 2))(( An APn = www.tutorferry.com/
  • 17. สับเซตและเพาเวอรเซต สับเซต (Subset) นิยาม เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B A เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊂ B A ไมเปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊄ B ตัวอยาง 1 ถา A = { 1 } , B = { 0 , 1 , 2 } , C = { 3 , 4 , 5 , 6 } และ D = {0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 } จะได A ⊂ B , B ⊂ D และ A ⊂ D แต A ⊄ C , B ⊄ C และ C ⊄ D ตัวอยาง 2 กําหนดให A = { 1 , 2 , 3 } จงหาสับเซตทั้งหมด จะไดสับเซตทั้งหมดของ A คือ { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ ถา A ⊂ B และ A ≠ B เชน A = { 1 } , B = { 1 , 2 } จะเรียก A วาเปนสับเซตแทของ เซต B ถา A ⊂ B และ A = B เชน A = { a , b } , B = { a , b } จะเรียก A วาเปนสับเซตไมแทของ เซต B ตัวอยาง 3 กําหนดให A = {1, 2} B = {2, 3} C = {1, 2, 3} D = {1, 2, 3, 4} สรุปไดวา A ⊄ B, A ⊂ C, A ⊂ D B ⊄ A, B ⊂ C, B ⊂ D C ⊄ A, C ⊄ B, C ⊂ D D ⊄ A, D ⊄ B, D ⊄ C จากตัวอยาง 2 พบวามี n(A) = 3, จากการสังเกตพบวา มีจํานวนสับเซต 8 เซต ดังนั้นอาจสรุปไดดังตาราง เซต จํานวนสมาชิก จํานวนสับเซต {} 0 1 = ( 0 2 ) {1} 1 2 = ( 1 2 ) {1, 2} 2 4 = ( 2 2 ) {1, 2, 3} 3 8 = (23 ) {1, 2, 3, 4} 4 16 = ( 4 2 ) {1, 2, 3, 4, 5} 5 32 = ( 5 2 ) {1, 2, 3, …, n} n 2n www.tutorferry.com/
  • 18. ขอตกลงเกี่ยวกับสับเซต • เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว A ⊂ A • เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว φ ⊂ A เราทราบจํานวนสับเซตทั้งหมด วา เซตใดๆ มีจํานวนสับเซตเปน 2n จากความรูเรื่องสับเซตแท เรา พบวา เซตตัวมันเอง จะไมเปนสับเซตแท ดังนั้น เราสามารถหาจํานวนสับเซตแทไดโดยอาศัยสูตร 2n - 1 เรื่องการหาจํานวนสมาชิกของซับเซต จะไดเรียนอีกครั้งหนึ่งในเรื่องคอมบินาทอริกในระดับสูงตอไป สรุปสมบัติของสับเซต เมื่อให A, B และ C เปนเซตใดๆ ที ่ ไมใชเซตวาง จะไดวา 1. เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง เชน .,, CCBBAA ⊂⊂⊂ 2. เซตวางเปนสับเซตของทุก ๆ เซต เชน ., BA ⊂⊂ φφ 3. ถา φ⊂A แลว φ=A 4. ถา BA ⊂ และ CB ⊂ แลว CA ⊂ . 5. ถา BA = แลว BA ⊂ และ AB ⊂ . 6. ถา BA ⊂ และ AB ⊂ แลว BA = . 7. ถา A มีจํานวนสมาชิกเทากับ n แลว จะมีสับเซตจํานวน n 2 เพาเวอรเซต ( power set ) คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อ A เปนเซตจํากัด เพาเวอรเซตของเซต A เขียนแทนดวย P(A) ถา A = { a , b , c } เซตของสับเซตทั้งหมดของ A หรือ เพาเวอรเซตของ A คือ P(A) = { { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ } ตัวอยาง ถา A = { 6 , 9 , {1} , {{2}} } จงหา P(A) P(A) = { {6} , {9} , {{1}} , {{{2}}} , {6,9} , {6,{1}} , {6,{{2}}} , {9,{1}} , {9,{{2}}} , {{1},{{2}}} , {6,9,{1}} , {6,9,{{2}}} , {6,{1},{{2}}} , {9,{1},{{2}}} , {6,9,{1},{{2}}} , φ } ถา A เปนเซตจํากัดที่มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n ตัว หนังสือบางเลมใช 2A แทน P(A) ตัวอยาง www.tutorferry.com/
  • 19. สมบัติของเพาเวอรเซตที่ควรทราบ กําหนดให A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U 1. φ ∈ P(A) 2. A ∈ P(A) 3. ถา A เปนเซตจํากัด และมีสมาชิก n ตัว แลว P(A) จะเปน เซตจํากัดที่มีสมาชิก 2n ตัว 4. ถา A เปนเซตอนันต แลว P(A) จะเปนเซตอนันต 5. ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B) 6. ถา P(A) ⊂ P(B) แลว A ⊂ B 7. P(A ∩ B) = P(A) ∩ P(B) 8. P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) www.tutorferry.com/
  • 20. แนะนําหลักการคิดเล็กๆ นอยๆ ขอสอบสมัยใหมชอบหาขอสอบมาใหนองๆ งงเลนๆ เชนการหาจํานวนสมาชิกของ P(A) – A หรือ A – P(A) หรือ ( P(A) – A) ∪ (A – P(A)) จึงไดสรุปแนวคิดการหาคาดังกลาวใหดังนี้ การหาจํานวนสมาชิกของ P(A) – A ขั้นที่ 1 หาจํานวนสมาชิกของ P(A) ซึ่งก็เทากับ n(A)2 ขั้นที่ 2 หาสมาชิกที่ซ้ํากันของ A และ P (A) นั่นคือหา n (P (A) ∩ A) ขั้นที่ 3 เอาคาที่ไดจากขอ 1 ลบดวยคาที่ไดจากขอ 2 เพียงแคนี้ก็เสร็จแวว!!!!! การหาจํานวนสมาชิกของ A – P (A) ขั้นที่ 1 หาจํานวนสมาชิกของ A ขั้นที่ 2 หาสมาชิกที่ซ้ํากันของ A และ P (A) นั่นคือหา n (P (A) ∩ A) ขั้นที่ 3 เอาคาที่ไดจากขอ 1 ลบดวยคาที่ไดจากขอ 2 เพียงแคนี้ก็เสร็จแวว!!!!! การหาจํานวนสมาชิกของ ( P(A) – A) ∪ (A – P(A)) ถาเราสมมติให B = P (A) นั่นก็คือเราหาจํานวนสมาชิกของ (A – B) ∪ (B – A) นั่นคือเราก็หาจํานวนสมาชิกของ P (A) – A และ หาจํานวนสมาชิกของ A – P (A) แลวนําคาที่ไดทั้ง 2 คานี้มาบวกกันไดเลย www.tutorferry.com/
  • 21. จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( ABA ∪∩ วิธีทํา: )'( ABA ∪∩ = '' ABA ∩∩ = ')'( BAA ∩∩ = 'B∩φ = φ ดังนั้น, )'( ABA ∪∩ = φ จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ วิธีทํา: )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = '')()( EBDCBA ∩∩∩∩∩ = '' EBDCBA ∩∩∩∩∩ = ')'( EADCBB ∩∩∩∩∩ = 'EADC ∩∩∩∩φ = φ ดังนั้น, )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = φ จงทําใหเปนผลสําเร็จ ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ วิธีทํา: ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = ))((' DCBBAA −∪∩∩∩ = ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = ))(( DCBB −∪∩∩φ = φ ดังนั้น, ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = φ จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ วิธีทํา: )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = )]'()''[()]'()''[( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = )]'('[)]'''([ CBCBACBCBA ∩∩∩∪∪∩∩∩∪ = )'()( φφ ∪∪∪ AA = 'AA∪ = U ดังนั้น, )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = U ตัวอยาง ตัวอยาง ตัวอยาง ตัวอยาง www.tutorferry.com/
  • 22. จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( BBA ∪− วิธีทํา: )'( BBA ∪− = UA − = 'UA ∩ = φ∩A = φ ดังนั้น, )'( BBA ∪− = φ จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( DBCA ∪−∩ วิธีทํา: )()( DBCA ∪−∩ = )'()( DBCA ∪∩∩ = )''()( DBCA ∩∩∩ = '' DBCA ∩∩∩ = )'()'( DCBA ∩∩∩ = )()( DCBA −∩− ดังนั้น, )()( DBCA ∪−∩ = )()( DCBA −∩− ตัวอยาง ตัวอยาง จงทําใหเปนผลสําเร็จ ])[( ABCA ∪∩∩ วิธีทํา: ])[( ABCA ∪∩∩ = )]([ BCAA ∩∪∩ = A ดังนั้น, ])[( ABCA ∪∩∩ = A จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ วิธีทํา: )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = )()( CDBABA ∪∪∪∩∪ = BA ∪ ดังนั้น, )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = BA ∪ จงทําใหเปนผลสําเร็จ CCBA ∪∩∪ ])[( วิธีทํา: CCBA ∪∩∪ ])[( = )]([ BACC ∪∩∪ = C ดังนั้น, CCBA ∪∩∪ ])[( = C ตัวอยาง ตัวอยาง ตัวอยาง www.tutorferry.com/
  • 23. แบบฝกหัดเรื่อง เซต 1. ถา A ={∅ ,0,1,{0},{0,1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A แลวเซต P(A) –A มีสมาชิกกี่ตัว 1. 28 2. 29 3. 30 4. 31 2. กําหนดให A = {a,{a},{b},{b,c}} ขอใดตอไปนี้ถูก 1. (A-{b,c}) ∪ {b} = {a,b ,{a},{b},{b,c}} 2. (A-{b,c}) ∪ {b} = {a,{a},{b}} 3. (A-{a,{b}}) -{a} = {{b,c}} 4. (A-{a,{b}}) -{a} = {b,c} 3. ให { }7,6,5,4,3,2,1=S P(S) = เพาเวอรเซตของ S ถา X= {A∈P(S) ⎢1∈A และ 7∉A} และ Y= {A∈X ⎢ผลบวกของสมาชิกใน Aไมเกิน 6} แลวจํานวนสมาชิกของ และ (ตามลําดับ) เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 16 , 5 2. 16 , 6 3. 32 , 5 4. 32 , 6 4. ถา A ={0,1} และ B = {0,{1},{0,1}} แลวขอใดตอไปนี้เปนจริง 1. A ∈P(B) 2. {1}∈ P(A) ∩P(B) 3. จํานวนสมาชิกของ P(A∩B) = 2 4. จํานวนสมาชิกของ P(A∪B) = 8 5. ให A, B, C, D เปนเซตใดๆ (A∩C) - (B∪D) เทากับเซตในขอใดตอไปนี้ 1. (A-B) ∩ (D-C) 2. (A-B) ∩ (C-D) 3. (A-B) ∪ (D-C) 4. (A-B) ∪ (C-D) 6. กําหนดให A,B,C เปนเซต ( ) ( ) ( ) ( ) ( )( ) 18,32,75,79,92 =−∩=∩∩=∪=∪=∪ CBAnCBAnCBnCAnBAn ( )( ) ( )( ) 2,6 =−∩=−∩ ACBnBCAn ดังนั้น ( )CBAn ∪∪ เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 93 2. 94 3. 95 4. 96 7. ถาเซต A มีสมาชิก 10 ตัวแลว จํานวนทั้งหมดของความสัมพันธจาก A×A ไป A เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 100 2 2. 1000 2 3. 2 100 4. 2 1000 www.tutorferry.com/
  • 24. 8. ให A ={0,1,2,3}และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A ถา r เปนความสัมพันธจาก Aไปยัง P(A) กําหนดโดย r ={(a,B)⏐a≥ 2, a∉B และ a+1 ∉B}แลว r มีจํานวนสมาชิกกี่จํานวน 1. 12 2. 14 3. 16 4. 18 9. ขอใดตอไปนี้ไมใช สวนที่แรเงาในแผนภาพ 1. BA ′∪ 2. AB − 3. BA ∩′ 4. ( ) ABA −∪ 10. ในการสํารวจความนิยมของคนจํานวน 100 คน ที่มีตอนายแดง นายดํา และนายเขียว โดยทุกคนตองแสดงความนิยมคน ใดคนหนึ่งอยางนอยหนึ่งคน ปรากฏวานายแดง ไดรับคะแนนความนิยมมากกวา นายดําอยู 6 คะแนน และเขียน แผนภาพไดดังรูป แดง ดํา 20 23 เขียว ตอไปนี้ขอใดผิด 1. นายดํา ไดคะแนนนิยมนอยที่สุด 2. ผลรวมของคะแนนนิยมของนายแดง นายดํา และนายเขียว คือ 199 3. ผูที่ลงคะแนนนิยมใหเฉพาะนายแดง เทานั้น มีจํานวน 10 คน 4. ผูที่ลงคะแนนนิยมใหนายดํา มีจํานวน 64 คน 22 11 9 www.tutorferry.com/
  • 25. 11. จากการสํารวจผูฟงเพลงจํานวน 180 คน พบวา มีผูชอบฟงเพลงไทยสากล 95 คน เพลงไทยเดิม 92 คน เพลงลูกทุง 125 คน เพลงไทยสากลและเพลงไทยเดิม 52 คน เพลงไทยสากลและเพลงลูกทุง 43 คน เพลงไทยเดิมและเพลงลูกทุง 57 คน และทั้ง 180 คนจะชอบฟงเพลงอยางนอยหนึ่งประเภทในสามประเภทดังกลาวขางตน จํานวนคนที่ชอบฟงเพลงไทย สากลเพียงอยางเดียวเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 20 2. 25 3. 30 4. 35 12. ถา A เปนเซตอนันต B เปนเซตอนันตและ C เปนเซตจํากัดแลว เซตในขอใดเปนเซตอนันต 1. ( ) ( )CBCA ∩∪∩ 2. ( )CBA ∩∪ 3. ( ) ( )ACDC −∪− 4. ( ) CBA ∩∪ 13. จงพิจารณาวาขอใดถูก 1. ถาจํานวนสมาชิกของเซตใดเซตหนึ่งเทากับ n แลว จํานวนสับเซตแทของเซตนั้นเทากับ n 2 2. ถา A และ B เปนเซตใดๆ และ =∩ BA ∅ แลว ( )=∩ BAP ∅ 3. จํานวนสมาชิกของเพาเวอรเซตเปนจํานวนคูเสมอ 4. ไมถูกตองทั้ง 1 , 2 และ 3 14. กําหนดให B={∅, 0 , 1} และ P(B) แทนเพาเวอรเซตของเซต B ขอใดตอไปนี้ผิด 1. ∅ ∈ P(B) แต 0∉P(B) 2. ∅ ⊂ P(B) แต 1 ⊄ P(B) 3. {∅} ∈P(B) และ {1} ∈ P(B) 4. {∅} ⊂ P(B) และ {0} ⊂ P(B) 15. ให I คือเซตของจํานวนเต็ม ถา A = {x∈I⏐x=2k , k∈I} และ B = {x∈I⏐ 0472 2 ≤−− xx } แลวจํานวนสมาชิก ของเพาเวอรเซตของ BA ∩ เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 4 2. 8 3. 16 4. 32 16. นักเรียนหองหนึ่งมี 48 คน ทําการสอบวิชาคณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ปรากฏผลดังนี้ มีนักเรียนสอบไดวิชาคณิตศาสตร 20 คน สอบไดวิชาภาษาอังกฤษ 15 คน สอบไดวิชาภาษาไทย 25 คน สอบไดวิชาคณิตศาสตรอยางเดียว 10 คน สอบตกทั้ง 3 วิชา 3 คน นักเรียนที่สอบไดทั้งวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีกี่คน 1. 4 2. 5 3. 16 4. 25 www.tutorferry.com/
  • 26. 17. กําหนดให { } { }2,1,5,4,3,2,1 == BA และ { }4,3,2=C แลว ( )( )CBAP ∩− มีจํานวนสมาชิกเทากับ จํานวนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้ 1. {x∈Ι⎪ 2 x < 17} 2. {x∈Ι⎪-2<x≤ 2} 3. {x∈Ι⎪ 2 x = 4} 4. P ({1,2,3}∩ {1}) 18. ถา A = {a, b, c, d, e, f} และ B = {a, b} แลวจํานวนเซต X ซึ่ง B⊂ X ⊂ A เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 4 2. 15 3. 16 4. 32 19. กําหนดใหจํานวนสมาชิกของ ( )BAP ∩ เทากับ 4 จํานวนสมาชิกของ ( )BAP ∪ เทากับ 64 ถาจํานวนสมาชิกของ ( )AP เทากับจํานวนสมาชิกของ ( )BP แลว จํานวนสมาชิกของ BA − คือขอใด 1. 2 2. 8 3. 16 4. 24 20. ในหมูบานแหงหนึ่งมี 504 ครอบครัว โดยที่แตละครอบครัวประกอบอาชีพตอไปนี้อยางนอย 1 อาชีพ คือทํานา ทําไร เลี้ยงสัตว ถา 239 ครอบครัวไมทํานา 238 ครอบครัวไมทําไร 214 ครอบครัวไมเลี้ยงสัตว 122 ครอบครัวทํานาและทําไร 115 ครอบครัวทํานาและเลี้ยงสัตว ขอใดตอไปนี้ผิด 1. มีครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอย 2 อาชีพ จํานวน 267 ครอบครัว 2. มีครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางเดียว จํานวน 217 ครอบครัว 3. มีครอบครัวที่ทํานาเพียงอยางเดียว จําวน 78 ครอบครัว 4. ประกอบอาชีพทั้ง 3 อยาง จํานวน 50 ครอบครัว www.tutorferry.com/