SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
Télécharger pour lire hors ligne
ทรัพยากรมนุษย์
และการออกแบบงาน 
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ 
แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ 
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทาง ทางการศึกษาเท่านั้น 
บทที่ 10 
1
เนื้อหาที่นาเสนอ
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก 
โดยใช้กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ 
กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ 
การวางแผนด้านแรงงาน 
การออกแบบงาน 
สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 
จริยธรรมและสภาพแวดล้อมในการทางาน 
มาตรฐานแรงงาน 
บทสรุป 
2
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก(Global Company Profile) 
การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัท Southwest Airlines 
3
สายการบินSouthwest Airlines ถือได้ว่าเป็นสายการบินที่ ประสบความสาเร็จในการทาธุรกิจ จัดเป็นเป็นสายการบินขนาดเล็ก ที่ต้อง เผชิญกับสายการบินคู่แข่งรายใหญ่หลายราย กลยุทธ์สาคัญในการทาให้ สายการบินต้นทุนต่าอย่าง Southwest ประสบความสาเร็จนี้ ได้แก่ 
การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ คือ การปลูกฝัง วัฒนธรรมให้กับ พนักงานในการเอาใจใส่ดูแลผู้โดยสารอย่างดีที่สุด ไม่ใช่เป็นแค่การทางาน ตามหน้าที่เท่านั้น 
Southwest มีความพิถีพิถันเป็นอย่างมากในการคัดเลือก และ ฝึกอบรมพนักงานมากกว่าสายการบินอื่นๆ นอกจากนี้พนักงานในบริษัทยัง ได้รับเงินเดือนมากกว่าอัตราเงินเดือนเฉลี่ยของอุตสาหกรรมการบินและ พนักงานอีกจานวนมากยังได้รับสิทธิการถือหุ้นของบริษัทอีกด้วย 
4
กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ 
เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน 
วัตถุประสงค์ของการจัดทากลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์นั้น เพื่อการจัดการแรงงานและออกแบบงานให้พนักงานสามารถทางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด โดยมีหลักการดังนี้ คือ 
1. การบริหารจัดการแรงงานให้เกิดประสิทธิภาพ ภายใต้ข้อจากัด ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตัดสินใจในการปฏิบัติการด้านอื่นๆ 
2. การสร้างคุณภาพชีวิตในการทางานโดยมีบรรยากาศของความ ร่วมมือ และความไว้วางใจต่อกัน 
กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์นั้น สามารถพิจารณาได้จาก 3 หลักการ ได้แก่ การวางแผนด้านแรงงาน (Labor planning) การออกแบบงาน (Job design) และมาตรฐานแรงงาน (Labor standard) 
5
ข้อจากัดของกลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ 
กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ 
เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน 
6
การวางแผนด้านแรงงาน 
การวางแผนด้านแรงงาน คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายแรงงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงในการจ้างงาน (Employment stability) และการจัดตารางการทางาน (Work schedules) นโยบายความมั่นคงในการจ้างงาน ประกอบด้วย 2 นโยบาย ได้แก่ 1.การจัดจานวนแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงาน ต้นทุนแรงงานโดยตรงจะถูกพิจารณาร่วมกับต้นทุนการผลิตสินค้าและ อาจมีต้นทุนอื่นๆ อีกด้วย ซึ่งนโยบายแบบนี้เปรียบทรัพยากรมนุษย์ ว่าเป็นต้นทุนแปรผัน 2.การรักษาจานวนแรงงานให้คงที่ เพื่อให้เกิดต้นทุนต่าสุด ซึ่ง นโยบายแบบนี้เปรียบทรัพยากรมนุษย์ว่าเป็นต้นทุนคงที่ 7
การจัดตารางการทางาน นอกจากการจัดตารางแบบปกติ คือ สัปดาห์ละ 5 วัน และในแต่ละวันทางาน 8 ชั่วโมง ยังมีรูปแบบอื่นๆ อีก ดังนี้ 
1.จัดตารางการทางานสัปดาห์การทางานแบบยืดหยุ่น เป็นการจัดตารางการทางานที่แตกต่างจากตารางการทางานปกติ เช่น ทางาน 4 วัน วันละ 10 ชั่วโมง บริษัทที่นาไปใช้ ได้แก่ Duke Power Co., AT&T และGeneral Motors 2.จัดตารางการทางานแบบชั่วโมงการทางานระยะสั้น (Part-time) พนักงานจะทางานน้อยกว่ามาตรฐานตารางการทางานปกติ เช่น ทางานไม่ครบ 5 วัน หรือทางานไม่เกิน 32 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นิยมใช้ในอุตสาหกรรมบริการ เช่น ธนาคาร ร้านอาหาร เป็นต้น 
การวางแผนด้านแรงงาน 
8
ประเภทของงานและกฎระเบียบของงาน เป็นสิ่งที่แสดงให้ เห็นว่าพนักงานคนไหนรับผิดชอบงานอะไร เมื่อไหร่จะต้องทางานนั้น และต้องทางานภายใต้เงื่อนไขอะไรบ้าง การกาหนดประเภทของงานและกฎระเบียบของงานให้มีความง่าย หรือไม่ยุ่งยาก เป็นการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน เพื่อความ รวดเร็วในการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและเพื่อให้มีระบบ การทางานแบบยืดหยุ่น 
การวางแผนด้านแรงงาน 
9
การออกแบบงาน คือ การกาหนดภาระหน้าที่การทางานสาหรับการทางาน ส่วนบุคคลหรือการทางานร่วมกันเป็นทีม ประกอบด้วย7องค์ประกอบ คือ 
•การทางานเฉพาะด้าน 
•การขยายงาน 
•องค์ประกอบด้านจิตวิทยา 
•ทีมนาตนเอง 
•การจูงใจและระบบแรงจูงใจ 
•หลักการยศาสตร์และวิธีการทางาน 
•การสื่อสารการทางานด้วยภาพ 
การออกแบบงาน 
10
การทางานเฉพาะด้านAdam Smith นักเศรษฐศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 ได้แนะแนวคิด การแบ่งประเภทการทางานที่เรียกว่าการทางานเฉพาะด้าน เพื่อลดต้นทุนด้วยวิธีต่างๆดังนี้ 
1. พัฒนาความชานาญในการทางานของพนักงาน และความ รวดเร็วในการเรียนรู้งาน 
2. ลดเวลาสูญเสีย เนื่องจากพนักงานไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง การทางาน 
3. พัฒนาด้านการใช้เครื่องมือเฉพาะ เพื่อลดการลงทุนด้าน เครื่องมือและอุปกรณ์ 
การออกแบบงาน 
11
การขยายงาน แนวคิดของการขยายงาน มีวิธีการดังนี้ 1. การขยายขอบเขตงาน (Job enlargement) คือ การจัด ภาระงานที่มีทักษะการทางานเหมือนหรือคล้ายๆกันไว้ด้วยกัน 2. การหมุนเวียนหน้าที่งาน (Job rotation)เป็นรูปแบบหนึ่ง ของการขยายขอบเขตงาน โดยขยายจากงานเฉพาะด้านไปสู่งาน ด้านอื่นๆ 3. การเพิ่มความสาคัญของงาน (Job enrichment)คือ การ เพิ่มความรับผิดชอบในการทางานให้พนักงาน รวมถึงการ วางแผนและควบคุมงานให้สาเร็จลุล่วง 4. การมอบอานาจให้พนักงาน (Employee empowerment) ต่อยอดมาจากการเพิ่มความสาคัญของงาน โดยเพิ่มความ รับผิดชอบและอานาจในการตัดสินใจให้กับพนักงาน 
การออกแบบงาน 
12
การออกแบบงาน 
องค์ประกอบด้านจิตวิทยา เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งทีทา ให้กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพสูง องค์ประกอบด้าน จิตวิทยาของการออกแบบงานมุ่งเน้นในเรื่องการออกแบบงานให้ สอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานทางด้านจิตวิทยา 
OM IN ACTION 
การมอบอานาจให้พนักงานของโรงแรม Ritz-Carlton 
13
อดีตประธานกลุ่มโรงแรม Ritz-Carton ได้เคยกล่าว แนะนาตนเองกับพนักงานว่า “ผมชื่อ Horst Schulze ผมเป็น ประธานของบริษัทนี้ ตาแหน่งของพวกคุณที่มีความสาคัญมาก เท่ากับผม” จึงเป็นสาเหตุทาให้อัตราการลาออกจากงานของ พนักงานในบริษัทน้อยกว่าโรงแรมอื่นๆ 
Schulze ได้บริหารธุรกิจของโรงแรมมาเกือบ 20 ปี ด้วย ปรัชญาในการให้บริการลูกค้าด้วยมาตรฐานระดับทองคา คือ “ต้องให้การดูแลลูกค้าให้มีความสะดวกสบายอย่างจริงใจ” “หน้าที่ ของเรา คือการสร้างความประทับใจให้กับลูกค้า เพื่อให้พวกเขา กลับมาพักในโรงแรมอีกครั้ง” และมีการมอบอานาจให้กับ พนักงานในการดูแลลูกค้า รวมไปถึงการรับฟัง ข้อคิดเห็นและ คาแนะนาจากพนักงานทุกคน 
14
คุณลักษณะของงานหลัก 
Hackmanและ Oldhamได้เสนอคุณลักษณะของการ ออกแบบงานไว้ 5 ข้อ ดังต่อไปนี้ 
1. การมีทักษะที่หลากหลาย 
2. เอกลักษณ์ของ 
3. ความสาคัญของงาน 
4. ความเป็นอิสระ 
5. ข้อมูลย้อนกลับ 
การออกแบบงาน 
15
ทีมนาตนเอง (Self-directed teams) 
รูปที่ 10.3 การออกแบบงานอย่างต่อเนื่อง 
การออกแบบงาน 
16
การใช้ทีมหรือวิธีอื่นๆ เพื่อการขยายงานไม่เพียงแต่ ช่วยในเรื่องของการปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทางานและสร้าง ความพึงพอใจในการทางาน แต่ยังช่วยสร้างแรงจูงใจกระตุ้นให้ พนักงานทางานเสร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ทั้ง ผู้บริหารและพนักงานต้องร่วมมือกันเพื่อให้งานสาเร็จตาม เป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ การสนับสนุนพนักงานสามารถทาได้หลาย วิธี เช่น การสร้างบรรยากาศในการทางาน การควบคุมการ ปฏิบัติงาน และการออกแบบงาน เป็นต้น 
การออกแบบงาน 
17
การออกแบบงาน มีข้อจากัดต่างๆเกิดขึ้น ได้แก่ 
1.ใช้เงินทุนจานวนมาก 
2.ความแตกต่างระหว่างบุคคล 
3.อัตราค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น 
4.จัดกลุ่มแรงงานให้มีขนาดเล็กลง 
5.อัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงขึ้น 
6.เทคโนโลยีที่นามาใช้อาจไม่สามารถนามาปรับให้เข้า กับการขยายงานได้ 
การออกแบบงาน 
18
การจูงใจ และระบบจูงใจ 
ปัจ จัยที่สร้างความพึงพอใจและการจูงใจในการทางานของ พนักงานอีกหนึ่งปัจ จัยที่สาคัญคือ ปัจจัยทางด้านการเงิน 
เงินเป็นสิ่งที่ตอบสนองทางด้านจิตวิทยาได้ดี รูปแบบของ เงินรางวัล เช่น •โบนัส (Bonus) โดยทั่วไปหมายถึง เงินรางวัลที่มอบให้แก่ระดับ ผู้บริหารในรูปแบบของเงินสด หรือ หุ้น •การได้รับส่วนแบ่งในผลกาไร (Profit sharing)เป็นระบบการ แบ่งสัดส่วนของผลกาไรให้กับพนักงาน •การมีส่วนร่วม(Gain sharing)เป็นระบบการให้รางวัลแก่ พนักงานที่มีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาองค์การ 
การออกแบบงาน 
19
•ระบบแรงจูงใจ (Incentive system) คือ ระบบการให้รางวัล กับพนักงานทั้งบุคคลหรือทีมที่มีผลงานในการเพิ่มผลิตภาพ ให้แก่บริษัท •ระบบการให้เงินรางวัลตามพื้นฐานความรู้ (Knowledge- based pay systems) ระบบนี้แบ่งสัดส่วนของเงินรางวัลให้ พนักงานตามความรู้หรือทักษะการทางานที่นามาแสดงออก 
ในทีมมี 3 รูปแบบ ทักษะตามแนวนอน (Horizontal skills) ที่พนักงาน สามารถทางานได้หลากหลาย ทักษะตามแนวตั้ง (Vertical skills) เกี่ยวข้องกับการ วางแผนและการควบคุมงาน ทักษะตามแนวลึก (Depth of skills) สะท้อนในเรื่องของ คุณภาพและผลิตภาพ 
การออกแบบงาน 
20
Frederick W. Taylor ศึกษาเรื่องการคัดเลือกสรรหาบุคลากร วิธีการทางาน มาตราฐานแรงงาน และสิ่งจูงใจในการทางาน ทาให้ เกิดการพัฒนาความรู้ด้านขีดความสามารถและข้อจากัดของ พนักงานซึ่งมีความสาคัญสาหรับการออกแบบการทางาน 
หลักการยศาสตร์ คือ การศึกษาการทางานในด้านปัจ จัย ต่างๆที่เกี่ยวกับมนุษย์เพื่อปรับปรุงการทางานของมนุษย์ให้ดีขึ้น ผู้ปฏิบัติการส่งปัจจัยนาเข้า เข้าสู่เครื่องจักร (Operator input to machines) ประเมินการตอบสนองของผู้ปฏิบัติการที่ มีต่ออุปกรณ์มือจับหรือปุ่มกดของเครื่องจักร ต้องมั่นใจว่าผู้ ปฏิบัติการมีร่างกายแข็งแรง มีความยืดหยุ่นในการทางาน มี สภาพการรับรู้และมีสภาพจิตใจที่สามารถควบคุมได้ 
การออกแบบงาน 
21
ข้อมูลย้อนกลับสู่ผู้ปฏิบัติการ (Feedback to operators) 
เป็นข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงานที่ตรวจสอบโดยการ มองเห็น การฟังเสียง และความรู้สึก ในสิ่งที่อาจผิดปกติ เพื่อ ไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นในภายหลัง 
สภาพแวดล้อมในการทางาน (The work environment) 
มีผลต่อการปฏิบัติงาน ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตการ ทางานของพนักงาน ปัจ จัยที่สามารถควบคุมได้เช่น แสง สว่าง เสียงอุณหภูมิ และความชื้น 
การออกแบบงาน 
22
สภาพงาน 
ชนิดของงาน 
ระดับของแสงสว่าง 
(FT–C) 
ชนิดของการให้แสง สว่าง 
รายละเอียดสูง ต้องการความ แม่นยา 
เย็บผ้า ตรวจสอบวัตถุที่มีสีทึบ 
100 
ไฟเพดานและโคมไฟที่โต๊ะ 
รายละเอียดรรมดา 
อ่านหนังสือ ประกอบชิ้นส่วน งานสานักงาน 
20-50 
ไฟเพดาน 
วัตถุค่อนข้างใหญ่ 
สิ่งอานวยความสะดวกด้านการ พักผ่อนหย่อนใจ 
5-10 
ไฟเพดาน 
วัตถุขนาดใหญ่ 
ร้านอาหาร บันได คลังสินค้า 
2-5 
ไฟเพดาน 
ตารางที่ 10.1 ระดับของแสงสว่างในภาวะการทางานต่างๆ 
การออกแบบงาน 
23
เสียงจากสภาพแวดล้อม 
เสียงจากแหล่งทั่วไป 
หน่วยเสียงเดซิเบล 
เขตเตาหลอมไฟฟ้า 
โรงพิมพ์ 
เครื่องบินขึ้น (200 ฟุต) 
การตอกหมุดเหล็กที่เย็บ 
รถไฟใต้ดิน (20ฟุต) 
120 
│ 
100 
│ 
90 
│ 
80 
│ 
70 
│ 
60 
│ 
50 
│ 
40 
│ 
30 
รบกวนมาก 
ต้องมีเครื่องป้องกันหูถ้าเผชิญ 8 ชั่วโมงหรือมากกว่า 
รบกวน 
เงียบ 
เงียบมาก 
ภายในรถแข่ง (50ไมล์ต่อชั่วโมง) 
การเจาะอัดลม (50 ฟุต) 
ใกล้ทางด่วน(การจราจรทางรถยนต์) 
เครื่องดูดฝุ่น (10 ฟุต) 
เสียงพูดปราศัย (1ฟุต) 
ธุรกิจส่วนตัว 
การจราจรที่เบาบาง (100 ฟุต) 
เครื่องแปลงไฟฟ้าขนาดใหญ่ (200 ฟุต) 
เขตที่พักอาศัยตอนกลางคืน 
การพูดในห้องอัดเสียง 
เสียงกระซิบ (5ฟุต) 
ตารางที่ 10.2 ระดับของเสียงที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ 
การออกแบบงาน 
24
การวิเคราะห์วิธีการทางาน หมายถึง วิธีการที่มีการพัฒนาและ ปรับปรุงกระบวนการการทางานอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นถึงผล การปฏิบัติงาน คุณภาพ และความปลอดภัย เทคนิคของการ วิเคราะห์วิธีการทางาน มีดังนี้ 
1.การใช้แผนภาพการไหล (Flow diagrams) และแผนภูมิ กระบวนการ (Process charts) เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ เคลื่อนย้ายของคนหรือวัสดุ 
2.การใช้แผนภูมิกิจการ (Activity charts) สาหรับการ วิเคราะห์กิจกรรมของคน และเครื่องจักร 
3.การใช้แผนภูมิ Micro-motion เพื่อวิเคราะห์การ เคลื่อนไหวของร่างกายโดยเฉพาะแขนและมือ 
การออกแบบงาน 
25
แผนภาพการไหล 
เป็นการวาดภาพเพื่อวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของมนุษย์ หรือ การเคลื่อนย้ายของวัสดุ ดังรูป 10.4 เป็นแผนภาพการไหลของ โรงงาน Britain’s Paddy Hopkirkที่จะมีการเปรียบเทียบวิธีการ ทางานก่อนการปรับปรุงในรูป 10.4(a) แลละรูปวิธีการทางาน หลังจากที่ได้มีการปรับปรุงวิธีการทางานแล้วในรูป 10.4(b) 
แผนภูมิกระบวนการ 
เป็นแผนภูมิที่ใช้สัญลักณ์แสดงรายละเอียดของงานแต่ละ กระบวนการทางานดังในรูป 10.4(c) โดยแผนภูมิกระบวนการนี้จะ แสดงลายระเอียดเพิ่มเติมจากแผนภาพการไหลในรูป 10.4 (b) เพื่อ ช่วยให้ผู้วิเคราะห์มีความเข้าใจในเรื่องของการเคลื่อนไหวของคนและ การเคลื่อนย้ายของวัสดุมากยิ่งขึ้น 
การออกแบบงาน 
26
การออกแบบงาน 
27
การออกแบบงาน 
แผนภูมิกิจกรรม เป็นวิธีการศึกษาและการปรับปรุงการใช้ ประโยชน์จากแรงงานคนและเครื่องจักร วิธีการ คือ การเข้าไป สังเกตการณ์ดูการทางานของคนและเครื่องจักร และจดบันทึกลงบน แผนภูมิ ในรูป 10.5 
แผนภูมิการดาเนินงาน (Operations chart)เป็นแผนภูมิ วิเคราะห์การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์โดยเฉพาะส่วนของแขนและมือ เรียกอีกอย่างหนึงว่า แผนภูมิมือขวา-มือซ้าย รูปที่ 10.6 แสดงให้เห็นถึง การประหยัดจากการเคลื่อนไหว โดยชี้ให้เห็นถึงความสูญเสียที่เกิดจาก การเคลื่อนไหวและเวลาที่เสียไป 
28
29 
รูปที่ 10.5 การทางานของพนักงาน 2 คนในการเปลี่ยนน้ามันเครื่อง 
ภายใน 12 นาที ที่ร้านเปลี่ยนน้ามันเครื่องรถยนต์ 
การออกแบบงาน
30 
การออกแบบงาน 
รูปที่ 10.6 แผนภูมิการดาเนินงาน (แผนภูมิมือขวา-มือซ้าย) ในการประกอบชิ้นส่วน Bolt-Washer
ระบบการมองเห็นภาพ (visual systems) โดยใช้สัญลักษณ์และ แผนภูมิรูปแบบต่างๆ เป็นเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ไม่ใช่สาหรับ พนักงานเท่านั้นแต่รวมถึงเจ้าหน้าที่สนับสนุน ผู้บริหาร ผู้มาเยือนและผู้ จัดหาวัตถุดิบ เนื่องจากข้อมูลย้อนกลับที่ได้รับสามารถนาไปใช้ปรับปรุง พัฒนาองค์กรได้ ตัวอย่าง สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 
• การใช้บัตรคัมบัง ซึ่งเป็นแผ่นป้ายแสดงรายละเอียดของงาน 
• การใช้ Andonซึ่งเป็นไฟเตือนภัยรูป 10.7 
สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 
31
รูปที่ 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 
32 
สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ
33 
รูปที่ 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 
สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ
34 
สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 
รูปที่ 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ
จริยธรรมและสภามแวดล้อมในการทางาน 
พนักงานควรที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรมและได้รับโอกาสที่ เท่าเทียมกัน ค่าจ้างในระดับเดียวกันสาหรับงานที่หน้าที่ใกล้เคียงกัน ภายใต้ สภาพการทางานที่ปลอดภัย งานบางประเภทอาจอันตราย จึงเป็นหน้าที่ ของผู้บริหารในการให้ความรู้แก่พนักงานในเรื่องเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน ข้อปฏิบัติในการทางาน พร้อมทั้งบังคับให้เกิดการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 
มาตรฐานแรงงาน 
หมายถึง เวลาที่จาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน แต่ละบริษัทจะมี มาตรฐานแรงงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการจัดทามาตรฐานแรงงาน ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของความต้องการแรงงาน ต้นทุน แรงงาน และวันทางานของพนักงาน 
35
บทสรุป 
บริษัทชั้นนาหลายบริษัทต่างให้ความสาคัญในเรื่องกลยุทธ์การ จัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการมี บทบาทสาคัญ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมมีผลทาให้เกิดความ ร่วมมือร่วมใจระหว่างพนักงาน และการมีคุณภาพชีวิตการทางานที่ดีขึ้น องค์การชั้นนาต่างๆ มีการออกแบบงานที่ดึงความสามารถทางด้าน กายภาพและจิตใจของพนักงานออกมาได้ ความชานาญของทรัพยากร มนุษย์ที่องค์กรสามารถสร้างขึ้นหรือบริหารจัดการจะเป็นตัวตัดสิน ความสาเร็จให้กับองค์กร 
36

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 

Tendances (20)

บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 

Similaire à บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน

ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsการพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsearthpetch
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603CUPress
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศDrDanai Thienphut
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 
Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์
Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์
Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 

Similaire à บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน (20)

ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsการพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
%Ba%b
%Ba%b%Ba%b
%Ba%b
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
14321
1432114321
14321
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Managing change
Managing changeManaging change
Managing change
 
AEC-2015 HRD 1/9
AEC-2015 HRD 1/9AEC-2015 HRD 1/9
AEC-2015 HRD 1/9
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์
Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์
Powerpoit2 สารสนเทศเพื่อบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
R2R
R2RR2R
R2R
 

Plus de Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Plus de Dr.Krisada [Hua] RMUTT (16)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน

  • 1. ทรัพยากรมนุษย์ และการออกแบบงาน การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทาง ทางการศึกษาเท่านั้น บทที่ 10 1
  • 2. เนื้อหาที่นาเสนอ กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก โดยใช้กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนด้านแรงงาน การออกแบบงาน สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ จริยธรรมและสภาพแวดล้อมในการทางาน มาตรฐานแรงงาน บทสรุป 2
  • 3. กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก(Global Company Profile) การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัท Southwest Airlines 3
  • 4. สายการบินSouthwest Airlines ถือได้ว่าเป็นสายการบินที่ ประสบความสาเร็จในการทาธุรกิจ จัดเป็นเป็นสายการบินขนาดเล็ก ที่ต้อง เผชิญกับสายการบินคู่แข่งรายใหญ่หลายราย กลยุทธ์สาคัญในการทาให้ สายการบินต้นทุนต่าอย่าง Southwest ประสบความสาเร็จนี้ ได้แก่ การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ คือ การปลูกฝัง วัฒนธรรมให้กับ พนักงานในการเอาใจใส่ดูแลผู้โดยสารอย่างดีที่สุด ไม่ใช่เป็นแค่การทางาน ตามหน้าที่เท่านั้น Southwest มีความพิถีพิถันเป็นอย่างมากในการคัดเลือก และ ฝึกอบรมพนักงานมากกว่าสายการบินอื่นๆ นอกจากนี้พนักงานในบริษัทยัง ได้รับเงินเดือนมากกว่าอัตราเงินเดือนเฉลี่ยของอุตสาหกรรมการบินและ พนักงานอีกจานวนมากยังได้รับสิทธิการถือหุ้นของบริษัทอีกด้วย 4
  • 5. กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน วัตถุประสงค์ของการจัดทากลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์นั้น เพื่อการจัดการแรงงานและออกแบบงานให้พนักงานสามารถทางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด โดยมีหลักการดังนี้ คือ 1. การบริหารจัดการแรงงานให้เกิดประสิทธิภาพ ภายใต้ข้อจากัด ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตัดสินใจในการปฏิบัติการด้านอื่นๆ 2. การสร้างคุณภาพชีวิตในการทางานโดยมีบรรยากาศของความ ร่วมมือ และความไว้วางใจต่อกัน กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์นั้น สามารถพิจารณาได้จาก 3 หลักการ ได้แก่ การวางแผนด้านแรงงาน (Labor planning) การออกแบบงาน (Job design) และมาตรฐานแรงงาน (Labor standard) 5
  • 7. การวางแผนด้านแรงงาน การวางแผนด้านแรงงาน คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายแรงงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงในการจ้างงาน (Employment stability) และการจัดตารางการทางาน (Work schedules) นโยบายความมั่นคงในการจ้างงาน ประกอบด้วย 2 นโยบาย ได้แก่ 1.การจัดจานวนแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงาน ต้นทุนแรงงานโดยตรงจะถูกพิจารณาร่วมกับต้นทุนการผลิตสินค้าและ อาจมีต้นทุนอื่นๆ อีกด้วย ซึ่งนโยบายแบบนี้เปรียบทรัพยากรมนุษย์ ว่าเป็นต้นทุนแปรผัน 2.การรักษาจานวนแรงงานให้คงที่ เพื่อให้เกิดต้นทุนต่าสุด ซึ่ง นโยบายแบบนี้เปรียบทรัพยากรมนุษย์ว่าเป็นต้นทุนคงที่ 7
  • 8. การจัดตารางการทางาน นอกจากการจัดตารางแบบปกติ คือ สัปดาห์ละ 5 วัน และในแต่ละวันทางาน 8 ชั่วโมง ยังมีรูปแบบอื่นๆ อีก ดังนี้ 1.จัดตารางการทางานสัปดาห์การทางานแบบยืดหยุ่น เป็นการจัดตารางการทางานที่แตกต่างจากตารางการทางานปกติ เช่น ทางาน 4 วัน วันละ 10 ชั่วโมง บริษัทที่นาไปใช้ ได้แก่ Duke Power Co., AT&T และGeneral Motors 2.จัดตารางการทางานแบบชั่วโมงการทางานระยะสั้น (Part-time) พนักงานจะทางานน้อยกว่ามาตรฐานตารางการทางานปกติ เช่น ทางานไม่ครบ 5 วัน หรือทางานไม่เกิน 32 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นิยมใช้ในอุตสาหกรรมบริการ เช่น ธนาคาร ร้านอาหาร เป็นต้น การวางแผนด้านแรงงาน 8
  • 9. ประเภทของงานและกฎระเบียบของงาน เป็นสิ่งที่แสดงให้ เห็นว่าพนักงานคนไหนรับผิดชอบงานอะไร เมื่อไหร่จะต้องทางานนั้น และต้องทางานภายใต้เงื่อนไขอะไรบ้าง การกาหนดประเภทของงานและกฎระเบียบของงานให้มีความง่าย หรือไม่ยุ่งยาก เป็นการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน เพื่อความ รวดเร็วในการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและเพื่อให้มีระบบ การทางานแบบยืดหยุ่น การวางแผนด้านแรงงาน 9
  • 10. การออกแบบงาน คือ การกาหนดภาระหน้าที่การทางานสาหรับการทางาน ส่วนบุคคลหรือการทางานร่วมกันเป็นทีม ประกอบด้วย7องค์ประกอบ คือ •การทางานเฉพาะด้าน •การขยายงาน •องค์ประกอบด้านจิตวิทยา •ทีมนาตนเอง •การจูงใจและระบบแรงจูงใจ •หลักการยศาสตร์และวิธีการทางาน •การสื่อสารการทางานด้วยภาพ การออกแบบงาน 10
  • 11. การทางานเฉพาะด้านAdam Smith นักเศรษฐศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 ได้แนะแนวคิด การแบ่งประเภทการทางานที่เรียกว่าการทางานเฉพาะด้าน เพื่อลดต้นทุนด้วยวิธีต่างๆดังนี้ 1. พัฒนาความชานาญในการทางานของพนักงาน และความ รวดเร็วในการเรียนรู้งาน 2. ลดเวลาสูญเสีย เนื่องจากพนักงานไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง การทางาน 3. พัฒนาด้านการใช้เครื่องมือเฉพาะ เพื่อลดการลงทุนด้าน เครื่องมือและอุปกรณ์ การออกแบบงาน 11
  • 12. การขยายงาน แนวคิดของการขยายงาน มีวิธีการดังนี้ 1. การขยายขอบเขตงาน (Job enlargement) คือ การจัด ภาระงานที่มีทักษะการทางานเหมือนหรือคล้ายๆกันไว้ด้วยกัน 2. การหมุนเวียนหน้าที่งาน (Job rotation)เป็นรูปแบบหนึ่ง ของการขยายขอบเขตงาน โดยขยายจากงานเฉพาะด้านไปสู่งาน ด้านอื่นๆ 3. การเพิ่มความสาคัญของงาน (Job enrichment)คือ การ เพิ่มความรับผิดชอบในการทางานให้พนักงาน รวมถึงการ วางแผนและควบคุมงานให้สาเร็จลุล่วง 4. การมอบอานาจให้พนักงาน (Employee empowerment) ต่อยอดมาจากการเพิ่มความสาคัญของงาน โดยเพิ่มความ รับผิดชอบและอานาจในการตัดสินใจให้กับพนักงาน การออกแบบงาน 12
  • 13. การออกแบบงาน องค์ประกอบด้านจิตวิทยา เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งทีทา ให้กลยุทธ์ทางด้านทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพสูง องค์ประกอบด้าน จิตวิทยาของการออกแบบงานมุ่งเน้นในเรื่องการออกแบบงานให้ สอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานทางด้านจิตวิทยา OM IN ACTION การมอบอานาจให้พนักงานของโรงแรม Ritz-Carlton 13
  • 14. อดีตประธานกลุ่มโรงแรม Ritz-Carton ได้เคยกล่าว แนะนาตนเองกับพนักงานว่า “ผมชื่อ Horst Schulze ผมเป็น ประธานของบริษัทนี้ ตาแหน่งของพวกคุณที่มีความสาคัญมาก เท่ากับผม” จึงเป็นสาเหตุทาให้อัตราการลาออกจากงานของ พนักงานในบริษัทน้อยกว่าโรงแรมอื่นๆ Schulze ได้บริหารธุรกิจของโรงแรมมาเกือบ 20 ปี ด้วย ปรัชญาในการให้บริการลูกค้าด้วยมาตรฐานระดับทองคา คือ “ต้องให้การดูแลลูกค้าให้มีความสะดวกสบายอย่างจริงใจ” “หน้าที่ ของเรา คือการสร้างความประทับใจให้กับลูกค้า เพื่อให้พวกเขา กลับมาพักในโรงแรมอีกครั้ง” และมีการมอบอานาจให้กับ พนักงานในการดูแลลูกค้า รวมไปถึงการรับฟัง ข้อคิดเห็นและ คาแนะนาจากพนักงานทุกคน 14
  • 15. คุณลักษณะของงานหลัก Hackmanและ Oldhamได้เสนอคุณลักษณะของการ ออกแบบงานไว้ 5 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. การมีทักษะที่หลากหลาย 2. เอกลักษณ์ของ 3. ความสาคัญของงาน 4. ความเป็นอิสระ 5. ข้อมูลย้อนกลับ การออกแบบงาน 15
  • 16. ทีมนาตนเอง (Self-directed teams) รูปที่ 10.3 การออกแบบงานอย่างต่อเนื่อง การออกแบบงาน 16
  • 17. การใช้ทีมหรือวิธีอื่นๆ เพื่อการขยายงานไม่เพียงแต่ ช่วยในเรื่องของการปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทางานและสร้าง ความพึงพอใจในการทางาน แต่ยังช่วยสร้างแรงจูงใจกระตุ้นให้ พนักงานทางานเสร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ทั้ง ผู้บริหารและพนักงานต้องร่วมมือกันเพื่อให้งานสาเร็จตาม เป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ การสนับสนุนพนักงานสามารถทาได้หลาย วิธี เช่น การสร้างบรรยากาศในการทางาน การควบคุมการ ปฏิบัติงาน และการออกแบบงาน เป็นต้น การออกแบบงาน 17
  • 18. การออกแบบงาน มีข้อจากัดต่างๆเกิดขึ้น ได้แก่ 1.ใช้เงินทุนจานวนมาก 2.ความแตกต่างระหว่างบุคคล 3.อัตราค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น 4.จัดกลุ่มแรงงานให้มีขนาดเล็กลง 5.อัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงขึ้น 6.เทคโนโลยีที่นามาใช้อาจไม่สามารถนามาปรับให้เข้า กับการขยายงานได้ การออกแบบงาน 18
  • 19. การจูงใจ และระบบจูงใจ ปัจ จัยที่สร้างความพึงพอใจและการจูงใจในการทางานของ พนักงานอีกหนึ่งปัจ จัยที่สาคัญคือ ปัจจัยทางด้านการเงิน เงินเป็นสิ่งที่ตอบสนองทางด้านจิตวิทยาได้ดี รูปแบบของ เงินรางวัล เช่น •โบนัส (Bonus) โดยทั่วไปหมายถึง เงินรางวัลที่มอบให้แก่ระดับ ผู้บริหารในรูปแบบของเงินสด หรือ หุ้น •การได้รับส่วนแบ่งในผลกาไร (Profit sharing)เป็นระบบการ แบ่งสัดส่วนของผลกาไรให้กับพนักงาน •การมีส่วนร่วม(Gain sharing)เป็นระบบการให้รางวัลแก่ พนักงานที่มีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาองค์การ การออกแบบงาน 19
  • 20. •ระบบแรงจูงใจ (Incentive system) คือ ระบบการให้รางวัล กับพนักงานทั้งบุคคลหรือทีมที่มีผลงานในการเพิ่มผลิตภาพ ให้แก่บริษัท •ระบบการให้เงินรางวัลตามพื้นฐานความรู้ (Knowledge- based pay systems) ระบบนี้แบ่งสัดส่วนของเงินรางวัลให้ พนักงานตามความรู้หรือทักษะการทางานที่นามาแสดงออก ในทีมมี 3 รูปแบบ ทักษะตามแนวนอน (Horizontal skills) ที่พนักงาน สามารถทางานได้หลากหลาย ทักษะตามแนวตั้ง (Vertical skills) เกี่ยวข้องกับการ วางแผนและการควบคุมงาน ทักษะตามแนวลึก (Depth of skills) สะท้อนในเรื่องของ คุณภาพและผลิตภาพ การออกแบบงาน 20
  • 21. Frederick W. Taylor ศึกษาเรื่องการคัดเลือกสรรหาบุคลากร วิธีการทางาน มาตราฐานแรงงาน และสิ่งจูงใจในการทางาน ทาให้ เกิดการพัฒนาความรู้ด้านขีดความสามารถและข้อจากัดของ พนักงานซึ่งมีความสาคัญสาหรับการออกแบบการทางาน หลักการยศาสตร์ คือ การศึกษาการทางานในด้านปัจ จัย ต่างๆที่เกี่ยวกับมนุษย์เพื่อปรับปรุงการทางานของมนุษย์ให้ดีขึ้น ผู้ปฏิบัติการส่งปัจจัยนาเข้า เข้าสู่เครื่องจักร (Operator input to machines) ประเมินการตอบสนองของผู้ปฏิบัติการที่ มีต่ออุปกรณ์มือจับหรือปุ่มกดของเครื่องจักร ต้องมั่นใจว่าผู้ ปฏิบัติการมีร่างกายแข็งแรง มีความยืดหยุ่นในการทางาน มี สภาพการรับรู้และมีสภาพจิตใจที่สามารถควบคุมได้ การออกแบบงาน 21
  • 22. ข้อมูลย้อนกลับสู่ผู้ปฏิบัติการ (Feedback to operators) เป็นข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงานที่ตรวจสอบโดยการ มองเห็น การฟังเสียง และความรู้สึก ในสิ่งที่อาจผิดปกติ เพื่อ ไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นในภายหลัง สภาพแวดล้อมในการทางาน (The work environment) มีผลต่อการปฏิบัติงาน ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตการ ทางานของพนักงาน ปัจ จัยที่สามารถควบคุมได้เช่น แสง สว่าง เสียงอุณหภูมิ และความชื้น การออกแบบงาน 22
  • 23. สภาพงาน ชนิดของงาน ระดับของแสงสว่าง (FT–C) ชนิดของการให้แสง สว่าง รายละเอียดสูง ต้องการความ แม่นยา เย็บผ้า ตรวจสอบวัตถุที่มีสีทึบ 100 ไฟเพดานและโคมไฟที่โต๊ะ รายละเอียดรรมดา อ่านหนังสือ ประกอบชิ้นส่วน งานสานักงาน 20-50 ไฟเพดาน วัตถุค่อนข้างใหญ่ สิ่งอานวยความสะดวกด้านการ พักผ่อนหย่อนใจ 5-10 ไฟเพดาน วัตถุขนาดใหญ่ ร้านอาหาร บันได คลังสินค้า 2-5 ไฟเพดาน ตารางที่ 10.1 ระดับของแสงสว่างในภาวะการทางานต่างๆ การออกแบบงาน 23
  • 24. เสียงจากสภาพแวดล้อม เสียงจากแหล่งทั่วไป หน่วยเสียงเดซิเบล เขตเตาหลอมไฟฟ้า โรงพิมพ์ เครื่องบินขึ้น (200 ฟุต) การตอกหมุดเหล็กที่เย็บ รถไฟใต้ดิน (20ฟุต) 120 │ 100 │ 90 │ 80 │ 70 │ 60 │ 50 │ 40 │ 30 รบกวนมาก ต้องมีเครื่องป้องกันหูถ้าเผชิญ 8 ชั่วโมงหรือมากกว่า รบกวน เงียบ เงียบมาก ภายในรถแข่ง (50ไมล์ต่อชั่วโมง) การเจาะอัดลม (50 ฟุต) ใกล้ทางด่วน(การจราจรทางรถยนต์) เครื่องดูดฝุ่น (10 ฟุต) เสียงพูดปราศัย (1ฟุต) ธุรกิจส่วนตัว การจราจรที่เบาบาง (100 ฟุต) เครื่องแปลงไฟฟ้าขนาดใหญ่ (200 ฟุต) เขตที่พักอาศัยตอนกลางคืน การพูดในห้องอัดเสียง เสียงกระซิบ (5ฟุต) ตารางที่ 10.2 ระดับของเสียงที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ การออกแบบงาน 24
  • 25. การวิเคราะห์วิธีการทางาน หมายถึง วิธีการที่มีการพัฒนาและ ปรับปรุงกระบวนการการทางานอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นถึงผล การปฏิบัติงาน คุณภาพ และความปลอดภัย เทคนิคของการ วิเคราะห์วิธีการทางาน มีดังนี้ 1.การใช้แผนภาพการไหล (Flow diagrams) และแผนภูมิ กระบวนการ (Process charts) เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ เคลื่อนย้ายของคนหรือวัสดุ 2.การใช้แผนภูมิกิจการ (Activity charts) สาหรับการ วิเคราะห์กิจกรรมของคน และเครื่องจักร 3.การใช้แผนภูมิ Micro-motion เพื่อวิเคราะห์การ เคลื่อนไหวของร่างกายโดยเฉพาะแขนและมือ การออกแบบงาน 25
  • 26. แผนภาพการไหล เป็นการวาดภาพเพื่อวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของมนุษย์ หรือ การเคลื่อนย้ายของวัสดุ ดังรูป 10.4 เป็นแผนภาพการไหลของ โรงงาน Britain’s Paddy Hopkirkที่จะมีการเปรียบเทียบวิธีการ ทางานก่อนการปรับปรุงในรูป 10.4(a) แลละรูปวิธีการทางาน หลังจากที่ได้มีการปรับปรุงวิธีการทางานแล้วในรูป 10.4(b) แผนภูมิกระบวนการ เป็นแผนภูมิที่ใช้สัญลักณ์แสดงรายละเอียดของงานแต่ละ กระบวนการทางานดังในรูป 10.4(c) โดยแผนภูมิกระบวนการนี้จะ แสดงลายระเอียดเพิ่มเติมจากแผนภาพการไหลในรูป 10.4 (b) เพื่อ ช่วยให้ผู้วิเคราะห์มีความเข้าใจในเรื่องของการเคลื่อนไหวของคนและ การเคลื่อนย้ายของวัสดุมากยิ่งขึ้น การออกแบบงาน 26
  • 28. การออกแบบงาน แผนภูมิกิจกรรม เป็นวิธีการศึกษาและการปรับปรุงการใช้ ประโยชน์จากแรงงานคนและเครื่องจักร วิธีการ คือ การเข้าไป สังเกตการณ์ดูการทางานของคนและเครื่องจักร และจดบันทึกลงบน แผนภูมิ ในรูป 10.5 แผนภูมิการดาเนินงาน (Operations chart)เป็นแผนภูมิ วิเคราะห์การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์โดยเฉพาะส่วนของแขนและมือ เรียกอีกอย่างหนึงว่า แผนภูมิมือขวา-มือซ้าย รูปที่ 10.6 แสดงให้เห็นถึง การประหยัดจากการเคลื่อนไหว โดยชี้ให้เห็นถึงความสูญเสียที่เกิดจาก การเคลื่อนไหวและเวลาที่เสียไป 28
  • 29. 29 รูปที่ 10.5 การทางานของพนักงาน 2 คนในการเปลี่ยนน้ามันเครื่อง ภายใน 12 นาที ที่ร้านเปลี่ยนน้ามันเครื่องรถยนต์ การออกแบบงาน
  • 30. 30 การออกแบบงาน รูปที่ 10.6 แผนภูมิการดาเนินงาน (แผนภูมิมือขวา-มือซ้าย) ในการประกอบชิ้นส่วน Bolt-Washer
  • 31. ระบบการมองเห็นภาพ (visual systems) โดยใช้สัญลักษณ์และ แผนภูมิรูปแบบต่างๆ เป็นเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ไม่ใช่สาหรับ พนักงานเท่านั้นแต่รวมถึงเจ้าหน้าที่สนับสนุน ผู้บริหาร ผู้มาเยือนและผู้ จัดหาวัตถุดิบ เนื่องจากข้อมูลย้อนกลับที่ได้รับสามารถนาไปใช้ปรับปรุง พัฒนาองค์กรได้ ตัวอย่าง สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ • การใช้บัตรคัมบัง ซึ่งเป็นแผ่นป้ายแสดงรายละเอียดของงาน • การใช้ Andonซึ่งเป็นไฟเตือนภัยรูป 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 31
  • 32. รูปที่ 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ 32 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ
  • 33. 33 รูปที่ 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ
  • 34. 34 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ รูปที่ 10.7 สถานที่ทางานด้วยระบบการมองเห็นภาพ
  • 35. จริยธรรมและสภามแวดล้อมในการทางาน พนักงานควรที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรมและได้รับโอกาสที่ เท่าเทียมกัน ค่าจ้างในระดับเดียวกันสาหรับงานที่หน้าที่ใกล้เคียงกัน ภายใต้ สภาพการทางานที่ปลอดภัย งานบางประเภทอาจอันตราย จึงเป็นหน้าที่ ของผู้บริหารในการให้ความรู้แก่พนักงานในเรื่องเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน ข้อปฏิบัติในการทางาน พร้อมทั้งบังคับให้เกิดการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด มาตรฐานแรงงาน หมายถึง เวลาที่จาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน แต่ละบริษัทจะมี มาตรฐานแรงงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการจัดทามาตรฐานแรงงาน ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของความต้องการแรงงาน ต้นทุน แรงงาน และวันทางานของพนักงาน 35
  • 36. บทสรุป บริษัทชั้นนาหลายบริษัทต่างให้ความสาคัญในเรื่องกลยุทธ์การ จัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการมี บทบาทสาคัญ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมมีผลทาให้เกิดความ ร่วมมือร่วมใจระหว่างพนักงาน และการมีคุณภาพชีวิตการทางานที่ดีขึ้น องค์การชั้นนาต่างๆ มีการออกแบบงานที่ดึงความสามารถทางด้าน กายภาพและจิตใจของพนักงานออกมาได้ ความชานาญของทรัพยากร มนุษย์ที่องค์กรสามารถสร้างขึ้นหรือบริหารจัดการจะเป็นตัวตัดสิน ความสาเร็จให้กับองค์กร 36