SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
บทที่14
การวางแผนความต้องการวัสดุ
และ
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
1
การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือ การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์
ทางการศึกษาเท่านั้น
เนื้อหาที่นาเสนอ
กรณีศึกษาการวางแผนความต้องการวัสดุ
ตัวแบบสินค้าคงคลัง
ระบบการวางแผนความต้องการวัสดุ
การจัดการแผนความต้องการวัสดุ
เทคนิคการกาหนดการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
การวางแผนความต้องการวัสดุ
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
บทสรุป2
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก
(Global Company Profile)
การวางแผนความต้องการวัสดุสร้างความได้เปรียบทางการ
แข่งขันให้กับ บริษัท Collins Industries
เป็นผู้ผลิตรถพยาบาลฉุกเฉินรายใหญ่ที่สุดในโลก ด้วย
ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ทาให้บริษัทต้องมีการวางแผน
ความต้องการวัสดุที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบการวางแผน
ความต้องการวัสดุที่เรียกว่าMRP
ทาให้ประสานข้อมูลจากใบแสดงรายการชิ้นส่วนประกอบ
ของรถแต่ละคันและฐานข้อมูลจากสินค้าคงคลังมาใช้ในการสั่งซื้อ
และสั่งผลิตวัสดุ ทาให้ข้อมูลมีการปรับปรุงทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
และลดปริมาณสินค้าคงคลังได้กว่า 30% ภายในระยะเวลา 2 ปี
3
 ผู้บริหารบริษัท Collins ได้กล่าวถึงสิ่งที่จาเป็นสาหรับการ
จัดการทางด้านวัสดุ ซึ่งประกอบด้วยงาน 4 อย่าง ได้แก่
1. แผนความต้องการวัสดุจะต้องสนับสนุนกิจกรรมการผลิตให้
สามารถผลิตสินค้าตามที่ลูกค้าต้องการ
2. แผนความต้องการวัสดุจะต้องถูกนาไปดาเนินการตามที่ได้
วางแผนอย่างเคร่งครัด
3. แผนความต้องการวัสดุควรพิจารณาถึงปริมาณและคาบเวลา
ที่เหมาะสม
4. บริษัทจะต้องพยายามทาให้ข้อมูลต่างๆ มีความถูกต้อง
แม่นยา
4
กรณีศึกษาบริษัทระดับโลก
(Global Company Profile)
ความหมายของการวางแผนความต้องการวัสดุ
เป็นการจัดการระบบสินค้าคงคลังที่ความต้องการวัสดุเป็น
แบบเกี่ยวเนื่อง ซึ่งความต้องการแบบเกี่ยวเนื่อง จะแตกต่างจาก
ความต้องการที่เป็นอิสระตรงที่ปริมาณความต้องการชิ้นส่วนมี
ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับปริมาณความต้องการของชิ้นส่วนอื่นๆ
ในขณะที่ความต้องการที่เป็นอิสระนั้น ปริมาณความต้องการ
ชิ้นส่วนใดๆจะไม่มีผลมาจากความต้องการของชิ้นส่วนอื่นๆ
การวางแผนความต้องการวัสดุ
5
ตัวอย่าง ความต้องการแบบเกี่ยวเนื่อง
บริษัทผลิตรถยนต์ จะมองว่าความต้องการยางรถยนต์
ขึ้นอยู่กับปริมาณยอดผลิตรถยนต์โดยที่รถยนต์ 1 คันจะต้องใช้
ยางรถ จานวน 4 เส้นและยางอะไหล่อีก 1 เส้น ดังนั้นรถยนต์ 1
คันจะต้องใช้ยางทั้งสิ้น 5 เส้น
สรุปได้ว่า เมื่อผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการได้รับคาสั่งซื้อสินค้า
เขาจะต้องกระจายความต้องการนั้นมาเป็นความต้องการของ
ชิ้นส่วนต่างๆ และสร้างแผนการสั่งซื้อหรือสั่งผลิตชิ้นส่วน
เหล่านั้น เพื่อนามาผลิตหรือประกอบจนเป็นสินค้าที่ต้องการตาม
ปริมาณและเวลาที่ลูกค้ากาหนด
6
การวางแผนความต้องการวัสดุ
• ช่วยตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้น มาจากการ
ปรับปรุงตารางการผลิตที่มีประสิทธิภาพ
• ช่วยตอบสนองและติดตามการเปลี่ยนแปลงของตลาดและลูกค้า
ได้อย่างรวดเร็วและยืดหยุ่น
• ช่วยเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรและพนักงานให้มี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
• ช่วยลดระดับปริมาณสินค้าคงคลัง
ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ระบบการวางแผน
ความต้องการวัสดุ (MRP) มีดังนี้
7
ข้อมูลที่นามาใช้ในการตัดสินใจ
1.ตารางการผลิตหลัก [Master production schedule (MPS)]
2.ใบแสดงรายการวัสดุหรือข้อกาหนดเฉพาะของผลิตภัณฑ์
[Bill of material or specifications (BOM)]
3. ปริมาณสินค้าคงคลัง
4. ปริมาณชิ้นส่วนที่อยู่ในระหว่างการสั่งซื้อ
5. เวลานา
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
8
1.ตารางการผลิตหลัก [Master production schedule (MPS)]
เป็นตารางที่กาหนดปริมาณการผลิตของชนิดผลิตภัณฑ์ ระบุ
ปริมาณการผลิตของแต่ละผลิตภัณฑ์ โดยจะให้ข้อมูลความต้องการ
ของลูกค้าว่าต้องการสินค้าอะไรและปริมาณเท่าใด ตารางนี้เกิดจาก
การกระจายของแผนการผลิตรวม
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
9
10
กระบวนการของการวางแผนการปฏิบัติการ
11
ตัวอย่างการกระจายแผนการผลิตรวม
มาสู่ตารางการผลิตหลัก
1.ตารางการผลิตหลัก [Master production schedule
(MPS)]
สังเกตได้ว่าตารางผลิตหลักจะแสดงถึงประเภทของผลิตภัณฑ์
ที่จะต้องถูกผลิตในแต่ละสัปดาห์ ซึ่งค่าตัวเลขนั้นอาจเป็น
1.คาสั่งซื้อจากลูกค้า
2.จานวนโมเดลชิ้นส่วน
3.จานวนชิ้นผลิตภัณฑ์
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
12
2.ใบแสดงรายการวัสดุหรือข้อกาหนดเฉพาะของ
ผลิตภัณฑ์ [Bill of material or specifications (BOM)]
เป็นใบแสดงชิ้นส่วนต่างๆที่ประกอบเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ โดย
ระบุจานวนชิ้นส่วนที่จาเป็นสาหรับผลิตภัณฑ์นั้นๆ ขณะเดียวกัน
ตารางการผลิตหลักก็สามารถไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจบริการได้
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
13
14
ตัวอย่างตารางการผลิตหลักสาหรับอาหาร ในร้านอาหาร
Nancy’s Specialty Food
3. ปริมาณสินค้าคงคลัง
ระบบการจัดการสินค้าคงคลัง จะช่วยให้ทราบและสามารถ
ติดตามความเคลื่อนไหวของปริมาณสินค้าคงคลัง รวมทั้งปริมาณ
ชิ้นส่วนทั้งหมดที่มีอยู่ในองค์กร หากยังไม่สามารถทาให้ข้อมูลของ
ปริมาณสินค้าคงคลังมีความแม่นยามากถึง 99 % ได้ แผนความ
ต้องการวัสดุก็มักจะไม่ประสบความสาเร็จ
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
15
4. ปริมาณชิ้นส่วนที่อยู่ในระหว่างการสั่งซื้อ
ข้อมูลของการสั่งซื้อจะได้มาจากการสั่งซื้อและฝ่ายควบคุม
ปริมาณสินค้าคงคลัง เมื่อมีการสั่งซื้อนั้นและมีกาหนดวันที่วัสดุนั้น
จะมาส่งมอบ ซึ่งถ้ามีข้อมูลการสั่งซื้อที่ดีและแม่นยา จะสามารถ
วางแผนการผลิตและการสั่งซื้อวัสดุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
16
5. เวลานา
เวลานา คือ ระยะเวลาที่ใช้สาหรับการสั่งซื้อจนกระทั่งชิ้นส่วน
หรือวัตถุดิบมาถึงโรงงาน จนกระทั่งเป็นสินค้าสาเร็จรูป
เวลานาในกระบวนการผลิตจะประกอบไปด้วย การเคลื่อน
ชิ้นงาน การประกอบชิ้นในงานและเวลาในการผลิตขั้นตอนต่างๆ
เวลานาในการสั่งซื้อจะนับตั้งแต่ทันทีที่ทราบถึงความต้องการ
ชิ้นส่วนนั้น จนกระทั่งชิ้นส่วนนั้นมาถึงและพร้อมสาหรับการผลิต
ตัวแบบสินค้าคงคลังกรณีความต้องการ
เกี่ยวเนื่อง (Dependent inventory model)
17
ระบบการวางแผนความต้องการวัสดุส่วนใหญ่จะเป็น
ระบบซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ แต่กระบวนการสร้างความต้องการ
วัสดุจะเป็นการคานวณที่ไม่ซับซ้อนและสามารถคานวณได้ด้วย
ตนเอง ข้อมูลที่จะนาสู่การคานวณได้แก่ ตารางการผลิตหลัก ใบ
รายการแสดงวัสดุ ข้อมูลสิ้นค้าคงคลัง ข้อมูลการสั่งซื้อชิ้นส่วน
ต่างๆ และข้อมูลเวลานา
โครงสร้างระบบการวางแผน
ความต้องการวัสดุ
18
โดยแผนความต้องการวัสดุรวมจะรวมข้อมูลที่ถูกต้องจาก
ตารางการผลิตหลักจะบอกปริมาณที่ต้องสั่งผลิตในแต่ละช่วงเวลา
กับข้อมูลของโครงสร้างผลิตภัณฑ์ตามแผนผังเวลา หากมีสินค้าคง
คลังไม่เพียงพอจะต้องทาการออกคาสั่งซื้อชิ้นส่วน ในปริมาณเท่าใด
และเมื่อใด เพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้ทันตรง
ตามความต้องการของลูกค้า
19
โครงสร้างระบบการวางแผน
ความต้องการวัสดุ
ตัวอย่าง ชุดเครื่องเสียง Awesome ต้องการชิ้นส่วนประกอบต่างๆ
ตามโครงสร้างผลิตภัณฑ์จากตัวอย่างที่แล้ว โดยเวลานาของสิ้นส่วน
ต่างๆ ถูกแสดงในตารางที่ 14.2 จากข้อมูลทั้งหมดเหล่านี้ สามารถ
นามาสร้างแผนความต้องการวัสดุรวมที่สามารถตอบสนองความ
ต้องการผลิตภัณฑ์ Awesome ในสัปดาห์ที่ 8 จานวน 50 ชุดได้ ดัง
แสดงในตารางที่ 14.3 ซึ่งอธิบายได้ดังนี้
20
โครงสร้างระบบการวางแผน
ความต้องการวัสดุ
21
แผนความต้องการวัสดุรวม
การผลิตชุดเครื่องเสียง Awesome จานวน 50 ชุด
สรุปจากภาพ ถ้าต้องการผลิตภัณฑ์ A จานวน 50 หน่วย ใน
สัปดาห์ที่ 8 ต้องเริ่มประกอบชิ้นส่วนA ใน สัปดาห์ที่ 7 โดยสัปดาห์
ที่ 7เริ่มประกอบสิ้นส่วน A จานวน 50 หน่วย มีความต้องการ
ชิ้นส่วน B จานวน 100 หน่วย และชิ้นส่วน C จานวน 150 หน่วย
แต่เวลานาของชิ้นส่วน B และ C คือ 2 และ 1 สัปดาห์ ดังนั้น การ
ผลิตชิ้นส่วน B เริ่มขึ้นตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 จากนั้น ทาการคานวณ
ลักษณะเดียวกันกับชิ้นส่วนที่เหลืออื่นๆ
22
แผนความต้องการวัสดุรวม
การผลิตชุดเครื่องเสียง Awesome จานวน 50 ชุด
การจัดการแผนความต้องการวัสดุ
เป็นแผนที่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลอยู่ตลอดเวลา โดย
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการจึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแผนความ
ต้องการวัสดุให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆซึ่งปกติแล้ว
จะทาการปรับปรุงแผนมากกว่า 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยเครื่องมือที่
จะนามาใช้มีอยู่ 2 ชนิด คือ
1)การกาหนดขอบเขตของเวลา
2)การกาหนดชิ้นส่วนที่ไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลง
23
เทคนิคการกาหนดขนาดรุ่น
ของการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) เป็นระบบที่ดีและมี
ประสิทธิภาพสาหรับการกาหนดตารางการผลิตและคานวณหา
ความต้องการสุทธิ ซึ่งการทราบถึงความต้องการสุทธินั้นจะทาให้
สามารถตัดสินใจได้ว่าควรที่จะสั่งซื้อหรือสั่งผลิตชิ้นส่วนใด
ปริมาณเท่าไหร่ และเมื่อใด
โดยมีเทคนิคที่สามารถนามาช่วยในการตัดสินใจดังนี้
 เทคนิคการสั่งพอใช้งวดต่องวด
 เทคนิคการสั่งตามปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด
24
เทคนิคการสั่งพอใช้งวดต่องวด (Lot-for-lot technique)
เป็นการสั่งซื้อหรือสั่งผลิตตามปริมาณที่มีความต้องการจริง
เพื่อต้องการให้มีการสั่งเฉพาะเมื่อมีความต้องการเกิดขึ้นเท่านั้น
เทคนิคการสั่งตามปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic
order quantity technique)
เป็นเทคนิคที่นาหลักการการคานวณปริมาณสั่งซื้อที่
ประหยัด มาผนวกเข้ากับหลักการของการวางแผนความต้องการ
วัสดุ ซึ่งแนวคิดนี้สามารถทาได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เทคนิคการกาหนดขนาดรุ่น
ของการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
25
การขยายขอบเขตของ
การวางแผนความต้องการวัสดุ
การวางแผนความต้องการวัสดุแบบระบบปิ ด (Closed-loop
MRP)
เป็นระบบการวางแผนความต้องการวัสดุที่สามารถส่งข้อมูล
ย้อนกลับจากระบบการควบคุมสินค้าคงคลังไปยังระบบการจัด
ตารางการผลิตที่หน่วยผลิต
26
 การวางแผนกาลังการผลิต
ในระบบการวางแผนความต้องการวัสดุแบบระบบปิดนั้น
ข้อมูลเกี่ยวกับภาระงานจะถูกส่งมาจากแต่ละหน่วยปฏิบัติการ
เพื่อให้ผู้วางแผนทราบถึงความต้องการใช้ทรัพยากรต่างๆในแต่
ละหน่วยผลิตเพื่อให้ปฏิบัติงานตามภาระที่ได้รับมอบหมาย
การขยายขอบเขตของ
การวางแผนความต้องการวัสดุ
27
เทคนิคสาหรับการปรับเปลี่ยนภาระงาน มีดังนี้
1.การแบ่งคาบภาระงาน (Overlapping) ลดเวลานาโดยการส่งงาน
บางส่วนจากหน่วยปฏิบัติการก่อนหน้าไปยังหน่วยปฏิบัติการ
ถัดไปดาเนินการ
2.การกระจายภาระงาน (Operations splitting) เป็นการกระจาย
งานให้แก่เครื่องจักร 2 เครื่องเพื่อช่วยกันทางาน สามารถช่วยลด
เวลา
3.การแยกภาระงาน (Lot splitting) เป็นการแยกภาระงานออกเป็น
ภาระงานย่อยๆ เพื่อให้การทางานในช่วงเวลานั้นไม่เกินกาลังการ
ผลิตที่มีอยู่
การขยายขอบเขตของ
การวางแผนความต้องการวัสดุ
28
 การวางแผนพัสดุและทรัพยากร (Material Resource
Planning (MRP II))
เป็นการผสานข้อมูลที่สาคัญเข้ากับระบบการวางแผนความ
ต้องการวัสดุ (MRP) โดยข้อมูลที่สาคัญเหล่านั้นได้แก่ ข้อมูล
กาลังการผลิต ข้อมูลต้นทุนวัตถุดิบ และต้นทุนค่าใช้จ่ายในการ
ผลิตทั้งหมด นอกจากนั้นจะต้องมีข้อมูลของทรัพยากรการผลิต
โดยระบบคอมพิวเตอร์จะทาการเชื่อมโยงข้อมูลจากฝ่ายต่างๆ
29
การขยายขอบเขตของ
การวางแผนความต้องการวัสดุ
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
[Enterprise Resource Planning (ERP)]
เป็นระบบที่ช่วยกาหนดและวางแผนทรัพยากรที่จาเป็นของทั้งองค์กร
สาหรับนาไปใช้ในการตัดสินใจ เพื่อสามารถส่งมอบสินค้าให้ทันเวลาตาม
ปริมาณและคุณภาพที่ลูกค้าต้องการความก้าวหน้าในระบบ MRP-II โดยเรียก
ระบบดังกล่าวว่า การวางแผนทรัพยากรองค์กร หรือระบบ MRP ระบบ
ดังกล่าวนี้จะช่วยให้บริษัท
1. สามารถบูรณาการข้อมูลจากทุกๆ กระบวนการให้สามารถ
ประมวลผลได้อย่างอัตโนมัติ
2. สามารถใช้ฐานข้อมูลกลางเพียงหนึ่งเดียว เพื่อให้พนักงานสามารถ
ปฏิบัติงานร่วมกันได้
3. สามารถสื่อสารข้อมูลแบบเรียลไทม์
30
ซอฟท์แวร์ของระบบ ERP
• ซอฟท์แวร์ด้านการจัดการโซ่อุปทาน [Supply Chain
Management (SCM)] เพื่อสื่อสารกับผู้จัดหาวัตถุดิบ โดยผ่าน
เครือข่ายระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) และสื่อสาร
กับคลัง MRP ให้สามารถจัดซื้อและประสานกับผู้จัดหาวัตถุดิบ
• ซอฟท์แวร์การจัดการการลูกค้าสัมพันธ์ [Customer
Relationship Management (CRM)] เพื่อสื่อสารกับลูกค้า โดย
ถูกออกแบบมาเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์การขาย การกาหนด
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และการจัดการพนักงานขายทั้งองค์การ
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
[Enterprise Resource Planning (ERP)]
31
องค์ประกอบทั้ง 5 ส่วนของระบบ ERP ได้แก่ การวางแผน
ความต้องการวัสดุ (MRP) ฝ่ายการเงิน ฝ่ายทรัพยากรบุคคล การ
จัดการโซ่อุปทาน (SCM) และการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM)
สามารถเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆมาไว้ที่ศูนย์กลางเดียวกันได้ เพื่อ
นาไปใช้เพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ
ซอฟท์แวร์สาหรับการเชื่อมโยงระบบข้อมูลนี้บางครั้งจะเรียก
โปรแกรมว่า ซอฟท์แวร์ผสานการทางานด้วยสื่อกลาง (EAI
Software) โดยซอฟท์แวร์ระบบเชื่อมต่อเหล่านี้สามารถขยาย
ขอบเขตของ ERP ไปสู่ระบบต่างๆ
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
[Enterprise Resource Planning (ERP)]
32
OM IN ACTION
บริษัท Benetton ใช้ระบบจัดการด้วยซอฟท์แวร์ ERP
ผู้ผลิตเสื้อผ้ากีฬาจากประเทศอิตาลีได้นาระบบ ERP มาใช้ เช่น
1. การสั่งซื้อ ถ้าพนักงานต้องการจะสั่งซื้อ โดยเข้ามาสู่ระบบ
ERP ในโหมดการสั่งซื้อ คาสั่งซื้อดังกล่าวถูกส่งเข้ามาสู่
บริษัทโดยอัตโนมัติ
2. การตรวจสอบคลังสินค้า ERP มีการแจ้งใบสั่งซื้อสู่
ฐานข้อมูลส่วนกลางโดยตรวจสอบและพบคาสั่งซื้อสามารถ
ส่งมอบได้ทันทีจากคลังสินค้า
3. การผลิต โมดุลการผลิตของ ERP จะรับข้อมูลรายละเอียด
การผลิตจาก CAD และส่งไปยังเครื่องทอแล้วทาการจัด
ตารางการผลิต
33
ข้อดีและข้อเสียของระบบ ERP สามารถสรุปได้ดังนี้
ข้อดี
1.ทาให้เกิดการบูรณาการระบบต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน
2.สร้างฐานข้อมูลกลางให้เกิดความถูกต้องแม่นยา รวดเร็ว
3.ปรับปรุงกระบวนการการดาเนินงานไม่ให้เกิดความผิดพลาด
4.ปรับปรุงการสื่อสารและความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
5.นาไปสู่การสร้างความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ต่อผู้แข่งขัน
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
[Enterprise Resource Planning (ERP)]
34
ข้อเสีย
1.ซอฟท์แวร์มีราคาแพง
2.การประยุกต์ใช้ในองค์กรต้องมีการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่
3.ระบบซับซ้อนทาให้บริษัทหลายแห่งไม่ประสบความสาเร็จใน
การนาไปใช้
4.การประยุกต์ใช้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องบางครั้งอาจไม่ประสบ
ความสาเร็จได้
5.ผู้เชี่ยวชาญด้าน ERP ยังมีจากัดทาให้การประยุกต์ใช้ไม่ได้ผล
เท่าที่ควร
การวางแผนทรัพยากรองค์กร
[Enterprise Resource Planning (ERP)]
35
บทสรุป
การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) เป็นวิธีที่มี
ประสิทธิภาพสาหรับในหารจัดตารางในการผลิตและการจัดการ
วัสดุคงคลังเมื่อความต้องการเป็นแบบเกี่ยวเนื่อง เพื่อจะทาให้การ
วางแผนความต้องการวัสดุเป็นไปอย่างราบรื่น
ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร (ERP) แม้ว่าระบบนี้มี
ราคาแพงและมีความยุ่งยากในการติดตั้งระบบ เมื่อได้รับการ
พัฒนาจนประสบความสาเร็จแล้ว ระบบนี้จะช่วยสนับสนุนกลยุทธ์
ขององค์การ
36

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 

What's hot (20)

บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (19)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ