SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
แนวทางเบื้องต้น
ในการเขียน ระเบียบวิธีวิจัย (วิธีการศึกษา)
ดร.กฤษดา เชียรวัฒนสุข
© copyright 2013
ส่วนของบทนา (ส่วนนา) ของบทที่ 3
สาหรับการศึกษา (การวิจัย) เรื่อง ..............................................ในครั้งนี้
เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้การวิจัยเชิงสารวจ
(Survey Research Method) และมีวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม
(Questionnaire) ซึ่งผู้ทาการศึกษา (วิจัย) ได้กาหนดแนวทางในการ
ดาเนินการศึกษา (วิจัย) โดยมีลาดับขั้นตอนในการศึกษา (วิจัย) และมี
ระเบียบวิธีการศึกษา (วิจัย) ในด้าน การกาหนดประชากร การสุ่มกลุ่ม
ตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทาและการวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึง
สถิติที่ใช้ในการศึกษา (วิจัย) ดังนี้
ส่วนของบทนา (ส่วนนา) ของบทที่ 3
ควรระบุให้ชัดเจนว่า
เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Method)
ส่วนของบทนา (ส่วนนา) ของบทที่ 3
ควรระบุให้ชัดเจนว่า ใช้การวิจัยในลักษณะ (ประเภท) ใด
ใช้การวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) เช่น การสารวจทัศนคติ ความ
คิดเห็น เพื่อศึกษาประเด็นที่สนใจ หรือหาข้อเท็จจริง
ใช้การวิจัยศึกษาย้อนหลังในสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว (Ex-Post Factor Research)
เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของตัวแปร จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่
ก่อน (หาสาเหตุจากผลที่เกิดขึ้น) ส่วนใหญ่ใช้ในการศึกษา เช่น การศึกษา
ว่าเด็กมีคะแนนต่ามีสาเหตุจากปัจจัยใด หรือเด็กมีบุคลิกภาพต่างกันเกิด
จากการเลี้ยงดูที่ต่างกันอย่างไร
ใช้การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการศึกษาสิ่งที่สนใจ
โดยมีการควบคุม (ตัวแปร) และสังเกตผลที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นการ
ทดลองทางวิทยาศาสตร์
การกาหนดประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา (วิจัย) ในครั้งนี้ คือ .................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
.....................................................จานวน XXX คน (ตัวอย่าง)
อธิบายให้ชัดเจนว่า ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ เป็นใคร (บอก
คุณลักษณะให้ชัดเจน)
การกาหนดประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่กาลัง
ศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนกฤษดา อุปถัมภ์ ใน
สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าร้อยละ 50
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชายและนักเรียนหญิง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจาปีการศึกษา 2555 ในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งหมด 118 โรงเรียนของ
กรุงเทพมหานคร มีจานวนทั้งสิ้น 55,000 คน (ข้อมูลจากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2552)
การกาหนดประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มประชากรที่อาศัยในเขต
กรุงเทพมหานครที่ใช้รถยนต์ยี่ห้อ โตโยต้า นิว วีออส (TOYOTA New
Vios) ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่เป็นบุคคลที่มีอายุ18 ปีขึ้นไป ทั้งนี้
เนื่องจากเป็นผู้ที่ได้รับใบอนุญาตในการขับขี่รถยนต์ ซึ่งไม่ทราบจานวน
ประชากรที่แน่นอน
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการที่หน้า
เคาน์เตอร์ ธนาคารกรุงไทย สาขาบางบอน ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือน
พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ซึ่ง ไม่สามารถนับได้เนื่องจากขนาดประชากรมี
ขนาดใหญ่ ไม่ทราบจานวนที่แน่นอน
(ผิด เพราะสามารถนับโดยประมาณได้)
การกาหนดขนาดตัวอย่าง
กรณีศึกษาค่าเฉลี่ยประชากร
การคานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้ได้ใช้สูตรการ
หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบบทราบจานวนประชากร โดยกาหนดระดับ
ความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 และกาหนดระดับความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ
5 โดยใช้สูตรของ Taro Yamane (1967) ดังนี้
n = N
1 + N(E)2
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N = จานวนประชากร
E = 0.05 (ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95)
(Yamane, T. 1967. Elementary Sampling Theory, USA: Prentice Hall)
การกาหนดขนาดตัวอย่าง
กรณีศึกษาค่าเฉลี่ยประชากร
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการคานวณเท่ากับ XXX ตัวอย่าง
ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ทาการเก็บตัวอย่างสารองเพิ่มเติมอีก XX ตัวอย่าง เพื่อเป็น
การป้ องกันความผิดพลาดจากการเก็บตัวอย่างและป้ องกันการตอบ
แบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ ดั้งนั้นจึงมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
(วิจัย) ทั้งสิ้น XXX ตัวอย่าง
การกาหนดขนาดตัวอย่าง
กรณีศึกษาค่าสัดส่วนประชากร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่ใช้รถยนต์ยี่ห้อโต
โยต้า รุ่นนิววีออสที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีอายุตั้งแต่ 18
ปี ขึ้นไปโดยผู้วิจัยกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคานวณขนาดของ
กลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบจานวนประชากรที่แน่นอน โดยกาหนดให้มี
ระดับความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 5 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95
(กัลยา วานิชย์บัญชา 2545: 26)
n = Z2 pq
e2
การกาหนดขนาดตัวอย่าง
กรณีศึกษาค่าสัดส่วนประชากร
โดยที่
n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
e แทน ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้มีค่าเท่ากับ 0.05
Z แทน score ขึ้นอยู่กับระดับความเชื่อมั่น ซึ่งความเชื่อมั่นที่
ผู้วิจัยกาหนดไว้ 95% นั้นคือ α = 0.05 หรือ 1-α/2 = 0.975
ทาให้ Z = Z0.975 เปิ ดตารางค่า Z ได้ 1.96
p แทน สัดส่วนประชากรที่สนใจศึกษา
q แทน 1 – p
การกาหนดขนาดตัวอย่าง
กรณีศึกษาค่าสัดส่วนประชากร
สาหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยกาหนดสัดส่วนของประชากรเท่ากับ 50% หรือ
0.5 และต้องการระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และมีระดับความผิดพลาดไม่เกิน
ร้อยละ 5 ดังนั้น สามารถแทนค่าสูตรในการคานวณได้ ดังนี้
n = (1.96)2 (0.5) (1-0.5)
(0.05)2
n = 385
ความสาคัญของขนาดตัวอย่าง
ขนาดตัวอย่างเล็ก (มีจานวนน้อย)
งานวิจัยขาดความน่าเชื่อถือ
ใช้อ้างอิงประชากรทั้งหมดไม่ได้
เสียเวลาเปล่าๆ ในการทา
ขนาดตัวอย่างเหมาะสม
ได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง (หรือใกล้เคียงความจริงมากที่สุด)
สามารถใช้อ้างอิงประชากรทั้งหมดได้
 ขนาดตัวอย่างมากเกินไป
สิ้นเปลืองงบประมาณ เวลา และเกินความจาเป็น ฯลฯ
วิธีการการสุ่มตัวอย่าง
ควรอธิบายแบบเป็นขั้นตอนดังนี้
สาหรับวิธีการสุ่มตัวอย่างเพื่อเลือกตัวแทนที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
จะมีลาดับขั้นตอนในการสุ่มตัวอย่างเป็นแบบหลายขั้นตอน (Multistage
Sampling) ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบวิจารณญาณ หรือ
แบบเจาะจง (Judgment or Purposive Sampling) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ที่อาศัยอยู่ใน................................................................................
......................................................................................
ขั้นตอนที่ 2 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling)
โดยแจกแจงแบ่งสัดส่วนตามขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 440 ตัวอย่าง
โดย..............................................................................................................
วิธีการการสุ่มตัวอย่าง
ควรอธิบายแบบเป็นขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 3 ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความสะดวก (Convenience) ซึ่ง
เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-probability) โดยจะ
ทาการแจกแบบสอบถามตามกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้ โดย.......................
......................................................................................................................
........................................
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการศึกษา (วิจัย) เรื่อง...................................................................
........................................................................................................ ในครั้ง
นี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี้
1. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ได้จากการศึกษาค้นคว้าจาก
ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้ ดังนี้
1.1 หนังสือพิมพ์ วารสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ
1.2 ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1.3 หนังสือทางวิชาการ บทความ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์
และรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
2. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งได้จากการใช้แบบสอบถาม
เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเป้ าหมายจานวน XXX คน ที่
อาศัยอยู่ในเขต..................................... (อธิบายตามขอบเขตของประชากรที่
ใช้ในการศึกษา) ดังนี้
2.1 ผู้วิจัยนาแบบสอบถามไปดาเนินการสอบถามกับ
กลุ่มเป้ าหมาย ในเขต.................................................... โดยเก็บตัวอย่างตาม
...................................................................
2.2 นาแบบสอบถามที่ได้มาทาการลงรหัส เพื่อนาไปวิเคราะห์
ข้อมูลทางสถิติต่อไป
การเขียนอธิบาย สถิติที่ใช้ในการศึกษา (วิจัย)
มีหลักการโดยทั่วไปดังนี้
 ให้ทาการอธิบายเฉพาะสถิติที่มีการนามาใช้จริงในงานวิจัย
 สัญลักษณ์ที่ใช้ทางสถิติที่ใช้ในงานวิจัย ควรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เป็นสากล
 ควรอ้างอิงที่มาของ ทฤษฎีหรือสูตรจากแหล่งต้นฉบับ
 ควรอ้างอิงจากวารสารวิชาการ หนังสือ ที่ทันสมัย ไม่เก่าจนเกินไป
(ยกเว้น การอ้างจากเจ้าของทฤษฎี ที่มีการเสนอไว้นานแล้ว)
 ควรตรวจสอบว่า สถิติที่ใช้ ถูกต้องและเหมาะสมกับเนื้อหาที่มาการวิจัย
การเขียนอธิบาย สถิติที่ใช้ในการศึกษา (วิจัย)
ให้นักศึกษาพิจารณาตัวอย่างการเขียน จากงานวิจัยของผู้อื่น
 ให้ทาการตรวจสอบรูปแบบและทาความเข้าใจ ในลักษณะการบรรยาย
ว่ามีการจัดลาดับอย่างไร
 มีส่วนที่นาเสนอ ผิดหลักการ ผิดวิธีการ หรือผิดรูปแบบหรือไม่
 วิธีการทางสถิติเหมาะสมหรือไม่
 การอ้างอิงถูกต้องหรือไม่
 พิจารณาประเด็นอื่นๆ ที่ควรปรับปรุงแก้ไข
Thank You
ดร.กฤษดา เชียรวัฒนสุข
Dr. Krisada Chienwattanasook

More Related Content

What's hot

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
NU
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
Mu PPu
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
krupornpana55
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
Apinya Phuadsing
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Domain and range2
Domain and range2Domain and range2
Domain and range2
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 

Similar to การเขียนระเบียบวิธีวิจัย

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
krupat9
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
Uraiwan Bunnuang
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
Onin Goh
 
FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
 FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ) FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
Preeyaporn Panyapon
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
JeeraJaree Srithai
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
GolFy Faint Smile
 

Similar to การเขียนระเบียบวิธีวิจัย (20)

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
 
06
0606
06
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Phriiechnth surdaa-099
Phriiechnth surdaa-099Phriiechnth surdaa-099
Phriiechnth surdaa-099
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปก1
ปก1ปก1
ปก1
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
 FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ) FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
FCA2102 4-1 Quantitative Research (การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ)
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
 
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (20)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 

การเขียนระเบียบวิธีวิจัย