SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Télécharger pour lire hors ligne
ปี ที่ 2 ฉบับที่ 4
ประจาเดือน กันยายน 2561
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ออกแบบและรูปเล่ม
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ภาพปก
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
Freepik.com
ภาพในเล่ม
อภิชญา โออินทร์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
Freepik.com
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
ห่างหายกันไปพักใหญ่ ในที่สุด เราก็ได้กลับมาพบกันอีกครั้งในช่วงฤดูฝนปีนี้ เวลาช่างเดินเร็วเสีย
เหลือเกิน อีกเพียง 3 เดือนเท่านั้นก็จะผ่านพ้นปี 2561 ไปอีกแล้ว ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองจึงรวบรวม
เนื้อหาบางส่วนจากโครงการวิจัย “สุมหัวกันในที่ที่สาม : กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่น
ใหม่ในเมืองตรัง” และบางส่วนจาก blog ของคุณอภิชญา โออินทร์ ผู้วิจัยโครงการนี้ มาให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึง
พฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังที่ใช้ชีวิตบนพื้นที่สาธารณะ ความแตกต่างของการใช้พื้นที่รัฐและพื้นที่
เอกชนอย่างมีนัยสาคัญ รวมไปถึงข้อเสนอที่จะปรับปรุงให้พื้นที่สาธารณะเพื่อตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคนรุ่น
ใหม่มากขึ้น
ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Furd Cities Monitor ฉบับนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจถึงพื้นที่
ที่สามโดยมีนครตรังเป็นตัวอย่าง ทาให้ได้ฉุกคิดถึงพื้นที่ที่สามในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ได้ตระหนักและเห็นโอกาส
ถึงแนวทางและบทบาทในการใช้ที่ที่สามรองรับคนรุ่นใหม่และตอบโจทย์การพัฒนาเมือง
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
พฤติกรรมของคนรุ่นใหม่กับการใช้ชีวิต
สาธารณะในนครตรัง
ทาไมพื้นที่รัฐถึงไม่ประสบความสาเร็จ
พื้นที่เอกชนกลับดึงดูดมากกว่า
รัฐควรใช้กระบวนการอะไรในการออกแบบ
พื้นที่ให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่
พื้นที่แบบไหนที่คนรุ่นใหม่ต้องการ
1 | FURD Cities Monitor September 2018
กับการใช้พื้นที่สาธารณะใ
พฤติกรรมของคน
FURD Cities Monitor September 2018 | 2
ชีวิตบนพื้นที่สาธารณะ
ในพื้นที่สาธารณะที่ดี เป็นส่วน
สาคัญและเติมเต็มของชีวิตใน
สังคมประชาธิปไตยและชีวิตที่
เติมเต็ม แนวคิด Placemaking
จึงให้ความสาคัญกับ “ชีวิตคน”
เป็นอันดับแรก ตามมาด้วย
“พื้นที่” และสุดท้าย “ตึกอาคาร”
สังคมที่ออกแบบอาคารก่อน
การนึกถึงชีวิตประจาวันของคน
ย่อมล้มเหลวในกระบวนการ
Placemaking
(Jan Gehl, 1987)
ในนครตรัง
- อภิชญา โออินทร์ -
นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
นรุ่นใหมุ
3 | FURD Cities Monitor September 2018
Projects for Public Spaces ได้อธิบายปัจจัยที่ทาให้
พื้นที่ ละแวก หรือเมืองหนึ่งๆ เป็นที่ที่ดีไว้ 4 ประการ ได้แก่
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Sociability) การใช้และกิจกรรมที่
เกิดขึ้น (Use & Activities) การเข้าถึงและความเชื่อมโยง
(Access & Linkages) และความสบายและภาพลักษณ์
(Comfort & Image) จากประสบการณ์ในหลายประเทศทั่ว
โลกพบว่า พื้นที่สาธารณะที่ประสบความสาเร็จ มักจะมี
คุณลักษณะบางอย่างร่วมกัน คือ เข้าถึงได้ง่าย มีผู้คนเข้าร่วม
ในกิจกรรม มีลักษณะสบาย มีรูปลักษณ์ที่ดี และเป็นสถานที่ที่
พบปะสังสรรค์ได้
เหตุที่นครตรังเป็นพื้นที่ตัวอย่างในการศึกษาพื้นที่
สาธารณะนั้น อันเนื่องจากจังหวัดตรังเป็นที่ตั้งของ
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมมากกว่า 20 แห่งทั้ง
โรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษา นั่นหมายถึงนครตรังก็เป็น
อีกพื้นที่หนึ่งที่ประกอบด้วยกลุ่มคนรุ่นใหม่จานวนไม่น้อย
พื้นที่สาธารณะจึงเป็นพื้นที่หนึ่งที่กลุ่มคนรุ่นใหม่จะเข้าไปใช้
ประโยชน์ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่
ส่วนใหญ่ที่เป็นนักเรียน นักศึกษา หรือวัยแรงงานตอนต้น
ไปจนถึงวัยแรงงานตอนกลาง มักจะใช้ร้านกาแฟหรือ
co-working space ในการทางานและพบปะสังสรรค์
หรือสนามกีฬาที่มักจะถูกใช้เป็นแหล่งรวมตัวของกลุ่ม
คนรุ่นใหม่ที่สนใจในการออกกาลังกาย เป็นต้น แต่
ปัญหาที่มักจะพบคือสถานที่ไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของผู้ใช้ หรือบางแห่งไม่เอื้อต่อการทากิจกรรม
ต่างๆ นั่นเป็นเหตุที่ว่าเพราะอะไรการศึกษาพื้นที่ที่สาม
ในฐานะที่เป็นพื้นที่สาธารณะจึงมีความสาคัญ
สาหรับเมืองตรัง ความสบายและภาพลักษณ์
(Comfort & Image) เป็นปัจจัยที่คนรุ่นใหม่ในนครตรังให้
ความสาคัญค่อนข้างมาก รองลงมาได้แก่ การเข้าถึงและ
ความเชื่อมโยง (Access & Linkages) แต่ในขณะที่ความ
ต้องการใช้พื้นที่ที่สามในละแวกบ้านกลับน้อยที่สุด สะท้อนให้
เห็นว่า การรวมตัวของคนรุ่นใหม่เน้นการรวมกลุ่มตามความ
สนใจเฉพาะหรือที่เรียกว่าชุมชนทางวัฒนธรรมมากกว่าที่จะ
เน้นชุมชนทางกายภาพที่ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มตามที่ตั้ง
ของบ้าน ดังนั้น หากกลุ่มที่มีชุมชนตามความสนใจ
ตรงกันของคนรุ่นใหม่อยู่ที่ใด พวกเขาคนรุ่นใหม่ก็จะ
เดินทางไปเพื่อรวมกลุ่มที่นั่น ทาให้ปัจจัยเรื่องความ
สะดวกในทางเลือกในการเดินทางที่สะดวกได้รับ
ความสาคัญมากที่สุดนั่นเอง
วัยรุ่นอยากใช้พื้นที่สาธารณะที่มีการแยกส่วน
ไปจากฝูงชนชัดเจน ซึ่งไม่ได้หมายถึงพื้นที่ลับตาคน
แต่เป็ นพื้นที่ที่พวกเขาได้อยู่กับตัวเองและมีความ
เป็นส่วนตัวระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุดคือ
การกาจัดปัจจัยหรือสภาพแวดล้อมที่ทาให้วัยรุ่นรู้สึกไม่
เป็นที่ต้องการออกไปให้ได้ก่อน ทาให้ต้องขบคิดต่อไป
ว่าเมื่อคนรุ่นใหม่ออกมาใช้ชีวิตสาธารณะแต่ต้องการ
พื้นที่ที่ให้ความเป็นส่วนตัวได้มากพอสมควร การจัดการ
และออกแบบพื้นที่และอาคารสาธารณะจึงควรคานึงถึง
ปัจจัยข้อนี้ ในขณะที่ก็ต้องสมดุลกับปัจจัยเรื่องความ
ปลอดภัยด้วยเช่นกัน
FURD Cities Monitor September 2018 | 4
ส่วนการใช้และกิจกรรมที่เกิดขึ้น (Use & Activi-
ties) วัยรุ่นในนครตรังนั้นกลับให้ความสาคัญกับสิ่ง
อานวยความสะดวก เช่น อาหารและเครื่องดื่มและ
อุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต มากกว่าที่จะ
อยากได้ให้มีกิจกรรมเป็นอีเวนต์ที่จัดไว้แล้ว กล่าวคือ
ผู้คนต้องการให้มีกิจกรรมในพื้นที่สาธารณะมาก
ขึ้น แต่ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวนั้นได้ต้องเอื้ออานวยให้
พวกเขาทากิจกรรมได้ตรงกับความต้องการอะไร
ได้บ้าง เป็นพื้นที่ที่สร้างแรงบันดาลใจให้พวกเขา
สามารถออกแบบและทากิจกรรมตามความสนใจ
เฉพาะได้อย่างอิสระ ไม่ใช่ป้อนคนรุ่นใหม่อาจจะไม่
ต้องการกิจกรรมที่องค์กรหรือหน่วยงานจัดมาให้ แต่
ต้องการพื้นที่ที่สร้างแรงบันดาลใจให้เขาสามารถ
ออกแบบและทากิจกรรมตามความสนใจเฉพาะได้
อย่างอิสระมากกว่า
เงื่อนไขที่จะทาให้วัยรุ่นจะปฏิ สัมพันธ์กับ
พื้นที่สาธารณะในเมือง ประการหนึ่งคือ มีกิจกรรมที่
พวกเขาสนใจ เช่น เกมบาสเกตบอลที่สวนสาธารณะ
และอีกประการหนึ่งคือมีที่ให้นั่งและมองดูวัยรุ่นคนอื่น
ทากิจกรรม ดังนั้น พื้นที่สาธารณะไม่เพียงแต่เป็นที่
สาหรับทากิจกรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่
จะทาให้เราได้สังเกตและมองดูคนอื่น ๆ สนุกสนานไป
กับการใช้พื้นที่นั้น เพราะวัยรุ่นมักต้องการเวลาและ
พื้นที่ในการพิจารณาและตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมใน
พื้นที่สาธารณะ
5 | FURD Cities Monitor September 2018
เหตุผลในแต่ละหมวดได้ถูกจัดลาดับความสาคัญโดยผู้ตอบแบบสอบถาม
ซึ่งมีช่วงอายุระหว่าง 15-35 ปี
การเข้าถึงและความเชื่อมโยง (ACCESS & LINKAGES)




ความสบายและภาพลักษณ์ (COMFORT & IMAGE)






FURD Cities Monitor September 2018 | 6
การใช้และกิจกรรมที่เกิดขึ้น (USE & ACTIVITIES)



การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (SOCIABILITY)



7 | FURD Cities Monitor September 2018
FURD Cities Monitor September 2018 | 8
พื้นที่เอกชนกลับดึงดูดมากกว่า
ทำ
ม ?ไ



- อภิชญา โออินทร์ -
นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
9 | FURD Cities Monitor September 2018
- อภิชญา โออินทร์ -
นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
ในการออกแบบพื้นที
ให้ตอบโจทย์คนรุ่นให
ท้องถิ่นควรใช้กระบวน
FURD Cities Monitor September 2018 | 10
ในการวางแผนพัฒนาเมือง
จะต้องพิจารณาโดยภาพรวมและ
คานึงผลประโยชน์ของผู้คนทุกกลุ่ม
เชื่อมโยงพื้นที่ต่าง ๆ ออกมาตรการ
ควบคุมผลกระทบทางลบ (Negative
Externalities) และส่งเสริมผลกระทบ
ทางบวก (Positive Externalities) ให้
เหมาะสมกับความต้องการและความ
ยั่งยืน นอกจากนี้ ในเมือง ๆ หนึ่ง
จะต้องมีทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
และการบริโภค และกิจกรรมทาง
สังคมและการเมือง ดังนั้น พื้นที่ใน
เมืองจะต้องตอบโจทย์ความต้องการ
ทั้งสองส่วนนี้
่
หม่
นการอะไร
11 | FURD Cities Monitor September 2018
 Understand user needs
เข้าใจความต้องการของผู้ใช้ พื้นที่สาธารณะจะประสบความสาเร็จตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้
โดยทั่วไป ขั้นตอนแรก คือ การเลือกที่ตั้ง ที่ควรจะอยู่ตรงจุดที่มีการชุมนุมกัน และอันดับต่อมา คือ การวิเคราะห์ผู้ใช้
ทั้งในด้านของสถาปัตยกรรมและการเชื่อมโยงของพื้นที่ต่าง ๆ เนื่องจากทางสัญจรเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สาธารณะ
ซึ่งในไทยมักไม่คิดถึงจุดเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่สาธารณะต่าง ๆ ในทางทฤษฎี กระบวนการออกแบบต้องคิดให้
รอบคอบว่าจะสร้างและเชื่อมโยงอย่างไร แต่ในทางปฏิบัติ บางกระบวนการมักถูกหลงลืมไป ทาให้เกิดช่องโหว่และเกิด
การใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ ในเมื่อพลเมืองคือลูกค้าผู้ใช้บริการพื้นที่และอาคารสาธารณะในเมือง ผู้ให้บริการก็ต้อง
พยายามทาความรู้จักลูกค้า แล้วออกแบบบริการดังกล่าวให้ตอบสนองความต้องการและรสนิยมของพลเมืองมากที่สุด
ดังนั้น ขั้นตอนแรก ๆ ของกระบวนการพัฒนาบริการสาธารณะที่ดี คือ การสารวจความต้องการของลูกค้า นั่นเอง
 Together, we can do better
ความร่วมมือจากประชาชน การสร้างพื้นที่หรืออาคารสาธารณะต้องได้รับความร่วมมือจากพลเมือง โดย
จะต้องเกิดขึ้นผ่านการรับฟังความคิดเห็นอย่างที่ปฏิบัติกันมาและควรเพิ่มเติมวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายเพื่อ
เข้าถึงคนยุคปัจจุบันได้มากขึ้น ที่สาคัญควรให้พลเมืองมีอานาจตัดสินใจในขั้นตอนต่าง ๆ รวมถึงมีส่วนในการกาหนด
“รูปแบบความสาเร็จ” (ตัวชี้วัด) ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน ทั้งชุมชนทางกายภาพและชุมชนทางวัฒนธรรม
ที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนานั้น ๆ
 Listen to their voices
ฟังเสียงของกลุ่มคนรุ่นใหม่ ในทางกลับกัน สังคมส่วนใหญ่ยังคงมีทัศนคติลบต่อวัยรุ่นในพื้นที่สาธารณะ
มากกว่าที่จะเปิดใจและมองเห็นว่าเขาทาอะไรได้บ้างและจะทาอย่างไรให้เขาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเมือง แน่นอนว่า
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากวัยรุ่นนั้นมีอยู่มากมายในทุกเมือง ทาให้คนทั่วไปและแม้กระทั่งวัยรุ่นด้วยกันเองก็รู้สึกไม่ปลอดภัย
สิ่งที่ผู้จัดกระบวนการปรึกษาหารือจะต้องมั่นใจว่ามีวัยรุ่นอยู่ในห้องประชุมด้วยและปล่อยให้วัยรุ่นพูดได้อย่างเสรีว่า
“มาตรการแบบนั้นจะไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้นสาหรับพวกเขาแต่มันกลับจะเป็นการขับไล่ไสส่งเราออกไป” ผู้ใหญ่ต้อง
ตระหนักว่ามาตรการเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะบางอย่างมันไม่ตอบโจทย์ความต้องการของวัยรุ่น อาจจะไม่ถึงขั้นต้อง
เปลี่ยนแปลงกระบวนการและรูปแบบทุกอย่าง แต่ให้พึงระลึกไว้เสมอว่าพวกเขามีความต้องการที่แตกต่างกันและใน
กระบวนการเดียวกันเขาอาจจะรู้สึกไม่เหมือนผู้ใหญ่ เพราะสาระสาคัญของการพัฒนาพื้นที่สาธารณะน่าจะไม่ได้เริ่มต้น
จากคาถามว่า จะสร้างอะไร สร้างที่ไหน (What to build and where) แต่ควรจะตอบโจทย์ก่อนว่า ใครเป็นคนตัดสินใจ
ว่าจะสร้าง และการตัดสินใจนั้นได้มาได้ด้วยกระบวนการใด (Who decides to build, and how decisions get made)
หากหัวใจของคาว่า “พื้นที่สาธารณะ” คือ การเอื้ออานวยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มในเมือง ๆ หนึ่ง
กระบวนการออกแบบ พัฒนา หรือปรับปรุงพื้นที่หรืออาคารสาธารณะที่เกิดขึ้นโดยการตัดสินใจของคนกลุ่มเดียวคงไม่
สามารถทาให้ชีวิตสาธารณะของผู้คนในนครตรังมีคุณภาพได้ การพัฒนาทางกายภาพและการพัฒนาทางสังคมจึงต้องมี
จุดสมดุลและสอดคล้องกัน เพราะพื้นที่สาธารณะไม่ใช่แค่รูปแบบสถาปัตยกรรม แต่หมายถึงปฏิสัมพันธ์ของผู้คนที่อยู่
ในนั้นด้วย ซึ่งจะเป็นสิ่งที่จะถูกขบคิดต่อไปในแวดวงของการพัฒนาเมือง
FURD Cities Monitor September 2018 | 12
13 | FURD Cities Monitor September 2018
FURD Cities Monitor September 2018 | 14
- อภิชญา โออินทร์ -
นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
15 | FURD Cities Monitor September 2018
ความปรารถนาของคนรุ่นใหม่เกี่ยวกับชีวิตสาธารณะนั้น หากแบ่งอย่างหยาบจะแบ่งได้เป็นสองประเด็น ได้แก่
การบารุงดูแลรักษาพื้นที่และอาคารเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีสภาพที่เหมาะสมแก่การใช้งาน เช่น ความสะอาด ความ
ปลอดภัย เพิ่มเติมสิ่งอานวยความสะดวกที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของคนยุคปัจจุบัน รวมถึงการปรับปรุงรูปลักษณ์ให้
ดึงดูดมากขึ้น อีกประเด็นหนึ่งคือคนรุ่นใหม่ในนครตรังไม่เพียงต้องการพื้นที่สาธารณะอย่างสวนสาธารณะ สนามกีฬา
ร้านกาแฟ ห้องสมุด ตลาด และห้างสรรพสินค้า ตามวิถีที่เป็นมาในอดีตเท่านั้น แต่ยังต้องการพื้นที่ที่เอื้อให้เขาทา
กิจกรรมเฉพาะและมีอิสระในการใช้พื้นที่ให้สอดคล้องกับลักษณะการรวมตัวอย่างไม่เป็นทางการของพวกเขาด้วย
หากแบ่งอย่างละเอียดมากขึ้น จะพบว่า คนรุ่นใหม่ต้องการพื้นที่ที่เหมาะกับวัตถุประสงค์ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
 พื้นที่สาหรับการเรียนรู้และการแสดงออกสาหรับเยาวชนและคนทั่วไปที่มีคุณภาพ
เป็นความต้องการที่แสดงออกมาโดยเยาวชนคนรุ่นใหม่และผู้บริหารสถานศึกษาจานวนหนึ่งที่ตระหนักใน
ความสาคัญของแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชีวิตสาธารณะที่มีคุณภาพ เป็นพื้นที่
สาหรับวัยรุ่นจะได้แสดงออกทางความคิด ได้ทดลองทาอะไรที่สนใจ และค้นหาความถนัด มีพื้นที่ที่เหมาะกับกิจกรรม
เชิงปฏิบัติการ (workshop) หลาย ๆ ด้าน ทั้งกีฬา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ฯลฯ แต่ละกลุ่มที่มาอาจจะเข้า
ร่วมเฉพาะกิจกรรมที่ตนเองสนใจ พร้อมกันนั้นก็ได้สัมผัส ได้ยิน ได้เห็นเกี่ยวกับกิจกรรมด้านอื่น ๆ ด้วย นับเป็นการ
ส่งเสริมบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา
 พื้นที่ทางานของนักเรียน นักศึกษา และคนที่ประกอบอาชีพอิสระ
ซึ่งเป็นที่ต้องการอย่างมากในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ เนื่องจากวิถีชีวิตสมัยใหม่ที่ผู้คนเชื่อมโยงกันผ่านสัญญาณ
อินเตอร์เน็ตไร้สายมากกว่ายุคสมัยใด ๆ ทาให้ปริมณฑลของบ้าน ที่ทางาน ที่เรียน กับปริมณฑลสาธารณะ ไม่ได้แยก
จากกันโดยสิ้นเชิงอีกต่อไปแล้ว ภารกิจของที่ทางานและที่โรงเรียนอาจจะไม่จาเป็นต้องทาที่สานักงานและไม่
จาเป็นต้องทาภายในเวลาปกติ แต่เกิดขึ้นเมื่อไหร่หรือที่ใดก็ได้ที่สะดวก วิถีชีวิตสาธารณะในปัจจุบันจึงไม่ใช่เพียงการ
พบปะสังสรรค์กันอย่างไม่เป็นทางการเท่านั้น แต่ชีวิตในพื้นที่และอาคารต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นที่ที่สามได้กลายเป็น
ชีวิตของการทางานและการเรียนด้วย ดังนั้น ที่ที่สามในยุคใหม่จึงจาเป็นต้องมีสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นต่อการ
ทางานและการเรียนด้วย
FURD Cities Monitor September 2018 | 16
 พื้นที่ของประชาสังคมเพื่อนวัตกรรมและการสร้างสรรค์
จากการพูดคุยกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอาจารย์จาก
วิทยาลัยเทคนิคตรัง พบว่า ต่างมีความต้องการเห็นพื้นที่ที่เป็นแหล่งรวมบูรณาการความรู้ทั้งทางด้านต่าง ๆ เช่น
วิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และการออกแบบ เป็นต้น เบื้องต้นดูคล้าย ๆ พื้นที่ประเภทที่หนึ่ง หากแต่ว่าจะต้องเป็นแหล่ง
ความรู้ที่เกิดจากคนจากหลากหลายสาขาอาชีพมาปะทะสังสรรค์ แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ร่วมกันผ่านการทดลองทา
มากกว่าความรู้จากตารา เป็นบรรยากาศของการร่วมกันคิดและพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของท้องถิ่น
ทั้งนวัตกรรมที่เป็นเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสังคม ทาให้ในทางกายภาพพื้นที่ประเภทที่สามนี้ต้องการมากกว่า
นิทรรศการความรู้และห้องบรรยาย แต่ควรมีห้องและพื้นที่สาหรับการเล่นกิจกรรมและใช้เครื่องมือต่าง ๆ อีกทั้งยังต้อง
สร้างบรรยากาศที่ผู้ใช้มีอิสระในการเคลื่อนไหวและจัดการพื้นที่ที่เหมาะกับการสร้างสรรค์ด้วย
โดยสรุป ทุกคนต่างมีความหวังความฝันเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะที่ดีในนครตรังแห่งนี้ อย่างไรก็ตาม
พื้นที่ทั้งสามประเภทนี้ อาจจะเป็นพื้นที่เดียวกัน เพียงแค่ต้องออกแบบให้เหมาะสมสาหรับกิจกรรมและ
ความต้องการที่หลากหลาย พร้อมทั้งยืดหยุ่นและยุติธรรม
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัถนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาชจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดจา บุชค้า
ชุดหนังสือเมือง
เอนกทรรศน์
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เศรษฐศาสตร์บนทางสายกลาง
ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัถน์
หนังสือออกใหม่
สั่งฉือได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราจการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เมือง กิน คน
ปศ.ดร. พิจช์ พงษ์สวัสดิ์
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 จัน 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Contenu connexe

Similaire à FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)

2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19Phichittra18
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD_RSU
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD_RSU
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์Pim Jazz
 
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์Pim Jazz
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 

Similaire à FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018) (19)

2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
 
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
รายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 

Plus de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)

  • 1. ปี ที่ 2 ฉบับที่ 4 ประจาเดือน กันยายน 2561
  • 2. บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ออกแบบและรูปเล่ม ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ภาพปก ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม Freepik.com ภาพในเล่ม อภิชญา โออินทร์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร Freepik.com เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864
  • 3. ห่างหายกันไปพักใหญ่ ในที่สุด เราก็ได้กลับมาพบกันอีกครั้งในช่วงฤดูฝนปีนี้ เวลาช่างเดินเร็วเสีย เหลือเกิน อีกเพียง 3 เดือนเท่านั้นก็จะผ่านพ้นปี 2561 ไปอีกแล้ว ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองจึงรวบรวม เนื้อหาบางส่วนจากโครงการวิจัย “สุมหัวกันในที่ที่สาม : กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่น ใหม่ในเมืองตรัง” และบางส่วนจาก blog ของคุณอภิชญา โออินทร์ ผู้วิจัยโครงการนี้ มาให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึง พฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังที่ใช้ชีวิตบนพื้นที่สาธารณะ ความแตกต่างของการใช้พื้นที่รัฐและพื้นที่ เอกชนอย่างมีนัยสาคัญ รวมไปถึงข้อเสนอที่จะปรับปรุงให้พื้นที่สาธารณะเพื่อตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคนรุ่น ใหม่มากขึ้น ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Furd Cities Monitor ฉบับนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจถึงพื้นที่ ที่สามโดยมีนครตรังเป็นตัวอย่าง ทาให้ได้ฉุกคิดถึงพื้นที่ที่สามในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ได้ตระหนักและเห็นโอกาส ถึงแนวทางและบทบาทในการใช้ที่ที่สามรองรับคนรุ่นใหม่และตอบโจทย์การพัฒนาเมือง ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ พฤติกรรมของคนรุ่นใหม่กับการใช้ชีวิต สาธารณะในนครตรัง ทาไมพื้นที่รัฐถึงไม่ประสบความสาเร็จ พื้นที่เอกชนกลับดึงดูดมากกว่า รัฐควรใช้กระบวนการอะไรในการออกแบบ พื้นที่ให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ พื้นที่แบบไหนที่คนรุ่นใหม่ต้องการ
  • 4. 1 | FURD Cities Monitor September 2018 กับการใช้พื้นที่สาธารณะใ พฤติกรรมของคน
  • 5. FURD Cities Monitor September 2018 | 2 ชีวิตบนพื้นที่สาธารณะ ในพื้นที่สาธารณะที่ดี เป็นส่วน สาคัญและเติมเต็มของชีวิตใน สังคมประชาธิปไตยและชีวิตที่ เติมเต็ม แนวคิด Placemaking จึงให้ความสาคัญกับ “ชีวิตคน” เป็นอันดับแรก ตามมาด้วย “พื้นที่” และสุดท้าย “ตึกอาคาร” สังคมที่ออกแบบอาคารก่อน การนึกถึงชีวิตประจาวันของคน ย่อมล้มเหลวในกระบวนการ Placemaking (Jan Gehl, 1987) ในนครตรัง - อภิชญา โออินทร์ - นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง นรุ่นใหมุ
  • 6. 3 | FURD Cities Monitor September 2018 Projects for Public Spaces ได้อธิบายปัจจัยที่ทาให้ พื้นที่ ละแวก หรือเมืองหนึ่งๆ เป็นที่ที่ดีไว้ 4 ประการ ได้แก่ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Sociability) การใช้และกิจกรรมที่ เกิดขึ้น (Use & Activities) การเข้าถึงและความเชื่อมโยง (Access & Linkages) และความสบายและภาพลักษณ์ (Comfort & Image) จากประสบการณ์ในหลายประเทศทั่ว โลกพบว่า พื้นที่สาธารณะที่ประสบความสาเร็จ มักจะมี คุณลักษณะบางอย่างร่วมกัน คือ เข้าถึงได้ง่าย มีผู้คนเข้าร่วม ในกิจกรรม มีลักษณะสบาย มีรูปลักษณ์ที่ดี และเป็นสถานที่ที่ พบปะสังสรรค์ได้ เหตุที่นครตรังเป็นพื้นที่ตัวอย่างในการศึกษาพื้นที่ สาธารณะนั้น อันเนื่องจากจังหวัดตรังเป็นที่ตั้งของ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมมากกว่า 20 แห่งทั้ง โรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษา นั่นหมายถึงนครตรังก็เป็น อีกพื้นที่หนึ่งที่ประกอบด้วยกลุ่มคนรุ่นใหม่จานวนไม่น้อย พื้นที่สาธารณะจึงเป็นพื้นที่หนึ่งที่กลุ่มคนรุ่นใหม่จะเข้าไปใช้ ประโยชน์ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ ส่วนใหญ่ที่เป็นนักเรียน นักศึกษา หรือวัยแรงงานตอนต้น ไปจนถึงวัยแรงงานตอนกลาง มักจะใช้ร้านกาแฟหรือ co-working space ในการทางานและพบปะสังสรรค์ หรือสนามกีฬาที่มักจะถูกใช้เป็นแหล่งรวมตัวของกลุ่ม คนรุ่นใหม่ที่สนใจในการออกกาลังกาย เป็นต้น แต่ ปัญหาที่มักจะพบคือสถานที่ไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ หรือบางแห่งไม่เอื้อต่อการทากิจกรรม ต่างๆ นั่นเป็นเหตุที่ว่าเพราะอะไรการศึกษาพื้นที่ที่สาม ในฐานะที่เป็นพื้นที่สาธารณะจึงมีความสาคัญ สาหรับเมืองตรัง ความสบายและภาพลักษณ์ (Comfort & Image) เป็นปัจจัยที่คนรุ่นใหม่ในนครตรังให้ ความสาคัญค่อนข้างมาก รองลงมาได้แก่ การเข้าถึงและ ความเชื่อมโยง (Access & Linkages) แต่ในขณะที่ความ ต้องการใช้พื้นที่ที่สามในละแวกบ้านกลับน้อยที่สุด สะท้อนให้ เห็นว่า การรวมตัวของคนรุ่นใหม่เน้นการรวมกลุ่มตามความ สนใจเฉพาะหรือที่เรียกว่าชุมชนทางวัฒนธรรมมากกว่าที่จะ เน้นชุมชนทางกายภาพที่ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มตามที่ตั้ง ของบ้าน ดังนั้น หากกลุ่มที่มีชุมชนตามความสนใจ ตรงกันของคนรุ่นใหม่อยู่ที่ใด พวกเขาคนรุ่นใหม่ก็จะ เดินทางไปเพื่อรวมกลุ่มที่นั่น ทาให้ปัจจัยเรื่องความ สะดวกในทางเลือกในการเดินทางที่สะดวกได้รับ ความสาคัญมากที่สุดนั่นเอง วัยรุ่นอยากใช้พื้นที่สาธารณะที่มีการแยกส่วน ไปจากฝูงชนชัดเจน ซึ่งไม่ได้หมายถึงพื้นที่ลับตาคน แต่เป็ นพื้นที่ที่พวกเขาได้อยู่กับตัวเองและมีความ เป็นส่วนตัวระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุดคือ การกาจัดปัจจัยหรือสภาพแวดล้อมที่ทาให้วัยรุ่นรู้สึกไม่ เป็นที่ต้องการออกไปให้ได้ก่อน ทาให้ต้องขบคิดต่อไป ว่าเมื่อคนรุ่นใหม่ออกมาใช้ชีวิตสาธารณะแต่ต้องการ พื้นที่ที่ให้ความเป็นส่วนตัวได้มากพอสมควร การจัดการ และออกแบบพื้นที่และอาคารสาธารณะจึงควรคานึงถึง ปัจจัยข้อนี้ ในขณะที่ก็ต้องสมดุลกับปัจจัยเรื่องความ ปลอดภัยด้วยเช่นกัน
  • 7. FURD Cities Monitor September 2018 | 4 ส่วนการใช้และกิจกรรมที่เกิดขึ้น (Use & Activi- ties) วัยรุ่นในนครตรังนั้นกลับให้ความสาคัญกับสิ่ง อานวยความสะดวก เช่น อาหารและเครื่องดื่มและ อุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต มากกว่าที่จะ อยากได้ให้มีกิจกรรมเป็นอีเวนต์ที่จัดไว้แล้ว กล่าวคือ ผู้คนต้องการให้มีกิจกรรมในพื้นที่สาธารณะมาก ขึ้น แต่ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวนั้นได้ต้องเอื้ออานวยให้ พวกเขาทากิจกรรมได้ตรงกับความต้องการอะไร ได้บ้าง เป็นพื้นที่ที่สร้างแรงบันดาลใจให้พวกเขา สามารถออกแบบและทากิจกรรมตามความสนใจ เฉพาะได้อย่างอิสระ ไม่ใช่ป้อนคนรุ่นใหม่อาจจะไม่ ต้องการกิจกรรมที่องค์กรหรือหน่วยงานจัดมาให้ แต่ ต้องการพื้นที่ที่สร้างแรงบันดาลใจให้เขาสามารถ ออกแบบและทากิจกรรมตามความสนใจเฉพาะได้ อย่างอิสระมากกว่า เงื่อนไขที่จะทาให้วัยรุ่นจะปฏิ สัมพันธ์กับ พื้นที่สาธารณะในเมือง ประการหนึ่งคือ มีกิจกรรมที่ พวกเขาสนใจ เช่น เกมบาสเกตบอลที่สวนสาธารณะ และอีกประการหนึ่งคือมีที่ให้นั่งและมองดูวัยรุ่นคนอื่น ทากิจกรรม ดังนั้น พื้นที่สาธารณะไม่เพียงแต่เป็นที่ สาหรับทากิจกรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ จะทาให้เราได้สังเกตและมองดูคนอื่น ๆ สนุกสนานไป กับการใช้พื้นที่นั้น เพราะวัยรุ่นมักต้องการเวลาและ พื้นที่ในการพิจารณาและตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมใน พื้นที่สาธารณะ
  • 8. 5 | FURD Cities Monitor September 2018 เหตุผลในแต่ละหมวดได้ถูกจัดลาดับความสาคัญโดยผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งมีช่วงอายุระหว่าง 15-35 ปี การเข้าถึงและความเชื่อมโยง (ACCESS & LINKAGES)     ความสบายและภาพลักษณ์ (COMFORT & IMAGE)      
  • 9. FURD Cities Monitor September 2018 | 6 การใช้และกิจกรรมที่เกิดขึ้น (USE & ACTIVITIES)    การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (SOCIABILITY)   
  • 10. 7 | FURD Cities Monitor September 2018
  • 11. FURD Cities Monitor September 2018 | 8 พื้นที่เอกชนกลับดึงดูดมากกว่า ทำ ม ?ไ    - อภิชญา โออินทร์ - นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
  • 12. 9 | FURD Cities Monitor September 2018 - อภิชญา โออินทร์ - นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ในการออกแบบพื้นที ให้ตอบโจทย์คนรุ่นให ท้องถิ่นควรใช้กระบวน
  • 13. FURD Cities Monitor September 2018 | 10 ในการวางแผนพัฒนาเมือง จะต้องพิจารณาโดยภาพรวมและ คานึงผลประโยชน์ของผู้คนทุกกลุ่ม เชื่อมโยงพื้นที่ต่าง ๆ ออกมาตรการ ควบคุมผลกระทบทางลบ (Negative Externalities) และส่งเสริมผลกระทบ ทางบวก (Positive Externalities) ให้ เหมาะสมกับความต้องการและความ ยั่งยืน นอกจากนี้ ในเมือง ๆ หนึ่ง จะต้องมีทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการบริโภค และกิจกรรมทาง สังคมและการเมือง ดังนั้น พื้นที่ใน เมืองจะต้องตอบโจทย์ความต้องการ ทั้งสองส่วนนี้ ่ หม่ นการอะไร
  • 14. 11 | FURD Cities Monitor September 2018  Understand user needs เข้าใจความต้องการของผู้ใช้ พื้นที่สาธารณะจะประสบความสาเร็จตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ โดยทั่วไป ขั้นตอนแรก คือ การเลือกที่ตั้ง ที่ควรจะอยู่ตรงจุดที่มีการชุมนุมกัน และอันดับต่อมา คือ การวิเคราะห์ผู้ใช้ ทั้งในด้านของสถาปัตยกรรมและการเชื่อมโยงของพื้นที่ต่าง ๆ เนื่องจากทางสัญจรเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สาธารณะ ซึ่งในไทยมักไม่คิดถึงจุดเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่สาธารณะต่าง ๆ ในทางทฤษฎี กระบวนการออกแบบต้องคิดให้ รอบคอบว่าจะสร้างและเชื่อมโยงอย่างไร แต่ในทางปฏิบัติ บางกระบวนการมักถูกหลงลืมไป ทาให้เกิดช่องโหว่และเกิด การใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ ในเมื่อพลเมืองคือลูกค้าผู้ใช้บริการพื้นที่และอาคารสาธารณะในเมือง ผู้ให้บริการก็ต้อง พยายามทาความรู้จักลูกค้า แล้วออกแบบบริการดังกล่าวให้ตอบสนองความต้องการและรสนิยมของพลเมืองมากที่สุด ดังนั้น ขั้นตอนแรก ๆ ของกระบวนการพัฒนาบริการสาธารณะที่ดี คือ การสารวจความต้องการของลูกค้า นั่นเอง  Together, we can do better ความร่วมมือจากประชาชน การสร้างพื้นที่หรืออาคารสาธารณะต้องได้รับความร่วมมือจากพลเมือง โดย จะต้องเกิดขึ้นผ่านการรับฟังความคิดเห็นอย่างที่ปฏิบัติกันมาและควรเพิ่มเติมวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายเพื่อ เข้าถึงคนยุคปัจจุบันได้มากขึ้น ที่สาคัญควรให้พลเมืองมีอานาจตัดสินใจในขั้นตอนต่าง ๆ รวมถึงมีส่วนในการกาหนด “รูปแบบความสาเร็จ” (ตัวชี้วัด) ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน ทั้งชุมชนทางกายภาพและชุมชนทางวัฒนธรรม ที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนานั้น ๆ  Listen to their voices ฟังเสียงของกลุ่มคนรุ่นใหม่ ในทางกลับกัน สังคมส่วนใหญ่ยังคงมีทัศนคติลบต่อวัยรุ่นในพื้นที่สาธารณะ มากกว่าที่จะเปิดใจและมองเห็นว่าเขาทาอะไรได้บ้างและจะทาอย่างไรให้เขาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเมือง แน่นอนว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจากวัยรุ่นนั้นมีอยู่มากมายในทุกเมือง ทาให้คนทั่วไปและแม้กระทั่งวัยรุ่นด้วยกันเองก็รู้สึกไม่ปลอดภัย สิ่งที่ผู้จัดกระบวนการปรึกษาหารือจะต้องมั่นใจว่ามีวัยรุ่นอยู่ในห้องประชุมด้วยและปล่อยให้วัยรุ่นพูดได้อย่างเสรีว่า “มาตรการแบบนั้นจะไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้นสาหรับพวกเขาแต่มันกลับจะเป็นการขับไล่ไสส่งเราออกไป” ผู้ใหญ่ต้อง ตระหนักว่ามาตรการเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะบางอย่างมันไม่ตอบโจทย์ความต้องการของวัยรุ่น อาจจะไม่ถึงขั้นต้อง เปลี่ยนแปลงกระบวนการและรูปแบบทุกอย่าง แต่ให้พึงระลึกไว้เสมอว่าพวกเขามีความต้องการที่แตกต่างกันและใน กระบวนการเดียวกันเขาอาจจะรู้สึกไม่เหมือนผู้ใหญ่ เพราะสาระสาคัญของการพัฒนาพื้นที่สาธารณะน่าจะไม่ได้เริ่มต้น จากคาถามว่า จะสร้างอะไร สร้างที่ไหน (What to build and where) แต่ควรจะตอบโจทย์ก่อนว่า ใครเป็นคนตัดสินใจ ว่าจะสร้าง และการตัดสินใจนั้นได้มาได้ด้วยกระบวนการใด (Who decides to build, and how decisions get made) หากหัวใจของคาว่า “พื้นที่สาธารณะ” คือ การเอื้ออานวยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มในเมือง ๆ หนึ่ง กระบวนการออกแบบ พัฒนา หรือปรับปรุงพื้นที่หรืออาคารสาธารณะที่เกิดขึ้นโดยการตัดสินใจของคนกลุ่มเดียวคงไม่ สามารถทาให้ชีวิตสาธารณะของผู้คนในนครตรังมีคุณภาพได้ การพัฒนาทางกายภาพและการพัฒนาทางสังคมจึงต้องมี จุดสมดุลและสอดคล้องกัน เพราะพื้นที่สาธารณะไม่ใช่แค่รูปแบบสถาปัตยกรรม แต่หมายถึงปฏิสัมพันธ์ของผู้คนที่อยู่ ในนั้นด้วย ซึ่งจะเป็นสิ่งที่จะถูกขบคิดต่อไปในแวดวงของการพัฒนาเมือง
  • 15. FURD Cities Monitor September 2018 | 12
  • 16. 13 | FURD Cities Monitor September 2018
  • 17. FURD Cities Monitor September 2018 | 14 - อภิชญา โออินทร์ - นักวิจัยภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
  • 18. 15 | FURD Cities Monitor September 2018 ความปรารถนาของคนรุ่นใหม่เกี่ยวกับชีวิตสาธารณะนั้น หากแบ่งอย่างหยาบจะแบ่งได้เป็นสองประเด็น ได้แก่ การบารุงดูแลรักษาพื้นที่และอาคารเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีสภาพที่เหมาะสมแก่การใช้งาน เช่น ความสะอาด ความ ปลอดภัย เพิ่มเติมสิ่งอานวยความสะดวกที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของคนยุคปัจจุบัน รวมถึงการปรับปรุงรูปลักษณ์ให้ ดึงดูดมากขึ้น อีกประเด็นหนึ่งคือคนรุ่นใหม่ในนครตรังไม่เพียงต้องการพื้นที่สาธารณะอย่างสวนสาธารณะ สนามกีฬา ร้านกาแฟ ห้องสมุด ตลาด และห้างสรรพสินค้า ตามวิถีที่เป็นมาในอดีตเท่านั้น แต่ยังต้องการพื้นที่ที่เอื้อให้เขาทา กิจกรรมเฉพาะและมีอิสระในการใช้พื้นที่ให้สอดคล้องกับลักษณะการรวมตัวอย่างไม่เป็นทางการของพวกเขาด้วย หากแบ่งอย่างละเอียดมากขึ้น จะพบว่า คนรุ่นใหม่ต้องการพื้นที่ที่เหมาะกับวัตถุประสงค์ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ  พื้นที่สาหรับการเรียนรู้และการแสดงออกสาหรับเยาวชนและคนทั่วไปที่มีคุณภาพ เป็นความต้องการที่แสดงออกมาโดยเยาวชนคนรุ่นใหม่และผู้บริหารสถานศึกษาจานวนหนึ่งที่ตระหนักใน ความสาคัญของแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชีวิตสาธารณะที่มีคุณภาพ เป็นพื้นที่ สาหรับวัยรุ่นจะได้แสดงออกทางความคิด ได้ทดลองทาอะไรที่สนใจ และค้นหาความถนัด มีพื้นที่ที่เหมาะกับกิจกรรม เชิงปฏิบัติการ (workshop) หลาย ๆ ด้าน ทั้งกีฬา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ฯลฯ แต่ละกลุ่มที่มาอาจจะเข้า ร่วมเฉพาะกิจกรรมที่ตนเองสนใจ พร้อมกันนั้นก็ได้สัมผัส ได้ยิน ได้เห็นเกี่ยวกับกิจกรรมด้านอื่น ๆ ด้วย นับเป็นการ ส่งเสริมบรรยากาศที่มีชีวิตชีวา  พื้นที่ทางานของนักเรียน นักศึกษา และคนที่ประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งเป็นที่ต้องการอย่างมากในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ เนื่องจากวิถีชีวิตสมัยใหม่ที่ผู้คนเชื่อมโยงกันผ่านสัญญาณ อินเตอร์เน็ตไร้สายมากกว่ายุคสมัยใด ๆ ทาให้ปริมณฑลของบ้าน ที่ทางาน ที่เรียน กับปริมณฑลสาธารณะ ไม่ได้แยก จากกันโดยสิ้นเชิงอีกต่อไปแล้ว ภารกิจของที่ทางานและที่โรงเรียนอาจจะไม่จาเป็นต้องทาที่สานักงานและไม่ จาเป็นต้องทาภายในเวลาปกติ แต่เกิดขึ้นเมื่อไหร่หรือที่ใดก็ได้ที่สะดวก วิถีชีวิตสาธารณะในปัจจุบันจึงไม่ใช่เพียงการ พบปะสังสรรค์กันอย่างไม่เป็นทางการเท่านั้น แต่ชีวิตในพื้นที่และอาคารต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นที่ที่สามได้กลายเป็น ชีวิตของการทางานและการเรียนด้วย ดังนั้น ที่ที่สามในยุคใหม่จึงจาเป็นต้องมีสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นต่อการ ทางานและการเรียนด้วย
  • 19. FURD Cities Monitor September 2018 | 16  พื้นที่ของประชาสังคมเพื่อนวัตกรรมและการสร้างสรรค์ จากการพูดคุยกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอาจารย์จาก วิทยาลัยเทคนิคตรัง พบว่า ต่างมีความต้องการเห็นพื้นที่ที่เป็นแหล่งรวมบูรณาการความรู้ทั้งทางด้านต่าง ๆ เช่น วิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และการออกแบบ เป็นต้น เบื้องต้นดูคล้าย ๆ พื้นที่ประเภทที่หนึ่ง หากแต่ว่าจะต้องเป็นแหล่ง ความรู้ที่เกิดจากคนจากหลากหลายสาขาอาชีพมาปะทะสังสรรค์ แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ร่วมกันผ่านการทดลองทา มากกว่าความรู้จากตารา เป็นบรรยากาศของการร่วมกันคิดและพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของท้องถิ่น ทั้งนวัตกรรมที่เป็นเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสังคม ทาให้ในทางกายภาพพื้นที่ประเภทที่สามนี้ต้องการมากกว่า นิทรรศการความรู้และห้องบรรยาย แต่ควรมีห้องและพื้นที่สาหรับการเล่นกิจกรรมและใช้เครื่องมือต่าง ๆ อีกทั้งยังต้อง สร้างบรรยากาศที่ผู้ใช้มีอิสระในการเคลื่อนไหวและจัดการพื้นที่ที่เหมาะกับการสร้างสรรค์ด้วย โดยสรุป ทุกคนต่างมีความหวังความฝันเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะที่ดีในนครตรังแห่งนี้ อย่างไรก็ตาม พื้นที่ทั้งสามประเภทนี้ อาจจะเป็นพื้นที่เดียวกัน เพียงแค่ต้องออกแบบให้เหมาะสมสาหรับกิจกรรมและ ความต้องการที่หลากหลาย พร้อมทั้งยืดหยุ่นและยุติธรรม
  • 20. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัถนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาชจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดจา บุชค้า ชุดหนังสือเมือง เอนกทรรศน์ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เศรษฐศาสตร์บนทางสายกลาง ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัถน์ หนังสือออกใหม่ สั่งฉือได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราจการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เมือง กิน คน ปศ.ดร. พิจช์ พงษ์สวัสดิ์
  • 21. วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 22. ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 จัน 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864