SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
ปี ที่ 2 ฉบับที่ 5
ประจาเดือน พฤศจิกายน 2561
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ออกแบบและจัดรูปเล่ม
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
ภาพปก
ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม
Freepik.com
ภาพในเล่ม
Flaticon.com
Freepik.com
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้เข้าร่วมงานสัมมนา “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง”
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
E-mail: furd_2014@gmail.com
ช่วงเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองได้จัดงานสัมมนา “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง”
เรื่อง การใช้จิตวิญญาณและอัตลักษณ์เมือง เพื่อสร้างสังคมและเศรษฐกิจเมืองแบบเกื้อกูลและยั่งยืน
เป็นการรวบรวมผู้ขับเคลื่อนเมืองในแต่ละภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
เพื่อให้เกิดแนวคิดพัฒนาเมือง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจจากรากฐานวัฒนธรรม เน้นการพัฒนาที่ให้
ประโยชน์เกิดกับคนหลายกลุ่มเกื้อกูลรับผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมจะสามารถนาความรู้ที่ได้รับ
ไปต่อยอดพัฒนาเมืองของตนเองได้
Furd Cities Monitor ฉบับนี้จึงเป็นการสรุปเรื่องราวการพัฒนาเมืองแต่ละเมืองที่ได้เข้าร่วมงานสัมมนาทั้ง
10 เมือง ที่แต่ละเมืองมีเอกลักษณ์และต้นทุนทางวัฒนธรรมแตกต่างกันออกไป ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจ
ถึงบริบทของเมืองทั้ง 10 เมืองของไทย ได้ฉุกคิดถึงเมืองของตนที่อาศัยอยู่ ได้เห็นเป็นแนวทางในการใช้
พัฒนาเมืองอย่างมั่นคงและยั่งยืน
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
.............................................แม่มอก
............................................. อุดรธานี
............................................................
................................................ สมุทรปราการ...........................................วงเวียนใหญ่
............................................. ปราจีนบุรี
.............................................ระนอง
.........................................................
.............................................
.....................................
ทุ่งสง
ตรัง
...................
1 | FURD Cities Monitor November 2018 FURD Cities Monitor November 2018 | 2
ศตวรรษที่ 21 กล่าวได้ว่าเป็นศตวรรษของเมืองกับความเป็นเมือง จากข้อมูลของสานักงานประชากรแห่งสหประชาชาติ
ในปี 2010 รายงานว่า เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่จานวนประชากรของโลกอาศัยในเมืองเกินกว่าที่อาศัยในเขตชนบทแล้ว
เฉกเช่นเดียวกับประเทศไทยที่ปัจจุบันได้กลายเป็นเมืองมากกว่า 50% หากเมืองได้รับการจัดการที่ดี เมืองสามารถสร้างโอกาส
ในการพัฒนาเศรษฐกิจ มีการจ้างงาน และการพัฒนาทางสังคม
ในขณะเดียวกัน เมืองของไทยกลับมีการพัฒนาตามสภาพ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเมือง ที่ยังเน้นการพัฒนา
เศรษฐกิจแบบการลงทุนขนาดใหญ่ การลงทุนทางอุตสาหกรรม โดยยังไม่สามารถใช้จุดเด่นทางวัฒนธรรม อันเป็นรากฐานของ
แต่ละเมืองต่อยอดพัฒนาเป็นเศรษฐกิจได้ นอกจากนี้เมืองส่วนใหญ่ยังพัฒนาโดยขาดการมีส่วนร่วมของคนในเมือง ต่างคนต่าง
พัฒนาตามแนวคิดของตนเอง ทาทีละส่วน ไม่มีการบูรณาการร่วมกัน ซึ่งเป็นผลทาให้เมืองพัฒนาแบบขาดอัตลักษณ์ ขาดจิต
วิญญาณของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง จึงออกแบบหลักสูตรอบรมผู้สร้างบ้านแปงเมือง เรื่อง การใช้จิตวิญญาณและอัตลักษณ์
เมือง เพื่อสร้างสังคมและเศรษฐกิจเมืองแบบเกื้อกูลและยั่งยืน เพื่อให้แนวคิดพัฒนาเมือง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจจาก
รากฐานวัฒนธรรมของเมือง เน้นการพัฒนาที่ให้ประโยชน์เกิดกับคนหลายกลุ่มเกื้อกูลรับผลประโยชน์ร่วมกัน โดยใน Furd
Cities Monitor ฉบับนี้ได้สรุปความโดดเด่นของเมือง การทางานของผู้สร้างบ้านแปงเมือง และทิศทางการทางานในอนาคต
ของ 10 เมืองของไทยที่ได้เข้าร่วมงานสัมมนาที่ผ่านมา
3 | FURD Cities Monitor November 2018
1. ปภาวี ด่านวิชัยโรจน์ (อยุธยา) / 2. อับฮาร์ เบญจสนัสกุล (สายบุรี) / 3. ธนกร สุวุฒิกุล (ระนอง) / 4. อภิชญา โออินทร์ (ตรัง) / 5. พลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ (วงเวียนใหญ่) / 6. สัมพันธ์ เตชะเจริญกุล (สมุทรปราการ) / 7. พิชัย เอื้อมธุรพจน์ (อุดรธานี) /
8. ชื่นสุข ประเสริฐทรัพย์ (ปราจีนบุรี) / 9. กัลยาณี พรพิเนตพงศ์ (ปราจีนบุรี) / 10. ณรินี ทิพย์แก้ว (แม่มอก) / 11. เสถียร บริการจันทร์ (ทุ่งสง) / 12. กิติมา แถลงกิจ (อยุธยา) / 13. มูฮัมหมัด เปาะมือแย (สายบุรี) / 14. อานัส พงศ์ประเสริฐ (สายบุรี) /
15. สุพจน์ กรประสิทธิวัฒน์ (ระนอง) / 16. ไพฑูรย์ นงค์นวล (ตรัง) / 17. คณพศ แก้วเดช (แม่มอก) / 18. อนุชา ธนาวุฒิ (ทุ่งสง) / 19. ทิพวัลย์ รัตนพันธุ์ (ทุ่งสง) / 20. ภานุมาศ สุตระ (ทุ่งสง) / 21. พัชรินทร์ ทีรซาร์ (อุดรธานี)
FURD Cities Monitor November 2018 | 4
1. ปภาวี ด่านวิชัยโรจน์ (อยุธยา) / 2. อับฮาร์ เบญจสนัสกุล (สายบุรี) / 3. ธนกร สุวุฒิกุล (ระนอง) / 4. อภิชญา โออินทร์ (ตรัง) / 5. พลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ (วงเวียนใหญ่) / 6. สัมพันธ์ เตชะเจริญกุล (สมุทรปราการ) / 7. พิชัย เอื้อมธุรพจน์ (อุดรธานี) /
8. ชื่นสุข ประเสริฐทรัพย์ (ปราจีนบุรี) / 9. กัลยาณี พรพิเนตพงศ์ (ปราจีนบุรี) / 10. ณรินี ทิพย์แก้ว (แม่มอก) / 11. เสถียร บริการจันทร์ (ทุ่งสง) / 12. กิติมา แถลงกิจ (อยุธยา) / 13. มูฮัมหมัด เปาะมือแย (สายบุรี) / 14. อานัส พงศ์ประเสริฐ (สายบุรี) /
15. สุพจน์ กรประสิทธิวัฒน์ (ระนอง) / 16. ไพฑูรย์ นงค์นวล (ตรัง) / 17. คณพศ แก้วเดช (แม่มอก) / 18. อนุชา ธนาวุฒิ (ทุ่งสง) / 19. ทิพวัลย์ รัตนพันธุ์ (ทุ่งสง) / 20. ภานุมาศ สุตระ (ทุ่งสง) / 21. พัชรินทร์ ทีรซาร์ (อุดรธานี)
5 | FURD Cities Monitor November 2018
แม่มอก
ความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ
ตาบลแม่มอกเป็นที่ลาดเชิงเขา มีแม่น้าแม่มอกและลาห้วยขนาดเล็กไหล
ผ่านหลายสาย ส่วนลาน้าที่ไหลไปอีกฝั่งหนึ่งของภูเขาเป็นต้นน้าของแม่น้ายม อีกทั้งยัง
มีปุาแม่มอก ถือเป็นปุาสักงามผืนสุดท้ายของลาปาง และเป็นปุาสมุนไพรที่มีความอุดม
สมบูรณ์อีกด้วย แม้คนวัยกลางคนและคนรุ่นใหม่เริ่มมีการปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตแบบ
เมืองแล้ว แต่ชีวิตของชาวแม่มอกก็ยังมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมพระพุทธศาสนา
อยู่ตลอด ผู้สูงอายุในชุมชนจะมีจิตอาสามีความตื่นตัวในการเป็นผู้นาทากิจกรรมต่าง ๆ
ซึ่งมักได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมอย่างดีจากคนทุกเพศทุกวัยเสมอจนกลายมา
เป็นจุดแข็งด้านต้นทุนทางสังคมของชุมชน
กระบวนการหลั่นล้าอีโคโนมี
กระบวนการผลิตนักบริบาลผู้สูงอายุ แม่มอกหลั่นล้าอีโคโนมี แบ่งออกเป็น
4 ขั้น ด้วยกัน คือ
1. ผลิตหลักสูตร กลุ่มแม่มอกฯ จะนาทีมวิทยากรในพื้นที่มาพูดคุย
ทาความเข้าใจเนื้อหาหลักสูตรกับบุคลากรศูนย์ไอแมค คณะ
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
2. จัดอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุขั้นพื้นฐาน (70 ชั่วโมง) เป็นการฝึก
ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน โดยจะเรียนและฝึกปฏิบัติในชุมชนเป็นหลัก
3. จัดอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุขั้นสูง (420 ชั่วโมง) เป็นการฝึก
ดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อม จนถึง
ผู้ปุวยระยะท้าย พร้อมทั้งต้องไปฝึกปฏิบัติงานภาคสนามด้วย
4. จัดการนักบริบาลสู่การปฏิบัติงานจริง หลังจากการอบรม กลุ่ม
แม่มอกฯ จะเป็นผู้บริหารจัดการลาดับคิวงาน กาหนดค่าจ้างและ
เกณฑ์การจัดสรรรายได้เข้ากองทุน
การจ้างงานและรายได้ที่มากขึ้น
ปัจจุบัน ตาบลแม่มอกสามารถผลิต Care Giver ได้เองจานวน 65 คน ที่
นอกจากจะทาให้เกิดการจ้างงานและชาวบ้านมีรายได้มากขึ้นแล้ว นักบริบาลก็ยัง
ทางานเป็นจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุในชุมชนร่วมด้วย จึงถือเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระรัฐ
ในการดูแลผู้สูงอายุอีกทางหนึ่ง ในระยะต่อไป กลุ่มแม่มอกวางแผนเปิดศูนย์บริบาล
ผู้สูงอายุ (Day Care) ที่สามารถรองรับผู้สูงอายุจากภายนอกมาพักมารับการดูแล
รักษาที่แม่มอก เพื่อให้นักบริบาลแม่มอกที่ไม่สามารถเดินทางไปทางานไกลๆ ได้มีงาน
ทา
อีสานใหม่กับการพัฒนา
พื้นที่สาธารณะ
FURD Cities Monitor November 2018 | 6
อุดรธานี
อีสานใหม่กับการพัฒนา
พื้นที่สาธารณะ
เมือง smart ฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือ
อุดรธานีเป็นจังหวัดที่มีสภาพภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ใกล้กับนครหลวง
เวียงจันทน์ มีท่าอากาศยานนานาชาติที่มีจานวนเที่ยวบินมาก ทาให้อุดรธานี
กลายเป็นเมืองนานาชาติของอีสานใหม่ เกิดห้างสรรพสินค้า ศูนย์ประชุม
มหาวิทยาลัย ร้านค้าร้านกาแฟมากมาย สะท้อนให้เห็นถึงภาวะเศรษฐกิจที่เติบโต
อุดรธานีนั้นสัมพันธ์กับต่างชาติมาตั้งแต่การก่อตั้งเมือง อีกทั้งสวนสาธารณะหนอง
ประจักษ์ยังเป็นจุดพักผ่อนที่เป็นดังปอดใหญ่ใจกลางเมือง ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็น
ต้นทุนอันดีงามของเมืองอุดรธานีที่ทาให้เป็น 1 ใน 14 จังหวัดนาร่องที่จะเป็นเมือง
smart
เครือข่ายที่สร้างความเป็นไปได้ใหม่ ๆ
กลุ่มมาดีอีสานเป็นหนึ่งในเครือข่าย Ma:D Club for Better Society ที่
เกิดจากความเชื่อที่ว่าทุก ๆ คนมีความคิดดี ๆ อยู่เสมอ ความคิดดี ๆ เหล่านั้น เหมือน
จุดที่กระจายอยู่ทั่วในสังคม มาดีอีสานจึงทาหน้าที่เชื่อมโยงจุดเล็ก ๆ ในพื้นที่ภาค
อีสานให้มาเจอกันที่นาพาความคิดดี ๆ จากผู้คนในท้องถิ่นอีสานมาเพื่อแลกเปลี่ยน
ความรู้ สร้างพลังที่ส่งถึงกัน คอยช่วยเหลือเวลาที่จุดบางจุดหมดแรงและเริ่มอะไร
บางอย่างจากจุดเล็ก ๆ เพื่อช่วยให้ภาพรวมของสังคมดีขึ้นโดยไม่ต้องรอ
การสร้างสรรค์สังคมเพื่อผลประโยชน์อย่างยั่งยืน
เมื่อเกิดพื้นที่ริเริ่มสร้างสรรค์ร่วมกันของคนในอุดรธานีแล้ว ส่งผลให้มีการ
เชื่อมโยงและประสานความร่วมมือระหว่างผู้คนและองค์กรในท้องถิ่นที่มีความตั้งใจจะ
ร่วมคิดและลงมือทาอย่างเกื้อกูลกันและกัน เกิดการขับเคลื่อนและสนับสนุนเยาวชน
ในท้องถิ่นด้านการพัฒนาทักษะในการสร้างสรรค์สังคมร่วมกัน เช่น เสวนากิจการเพื่อ
สังคมที่เกิดจากการรวมตัวของผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในท้องถิ่น กิจกรรมวิ่งด้วยกัน
โครงการตลาดนัดแนะแนว แนะแนวอาชีพ สร้างแรงบันดาลใจ พื้นที่สาหรับ work-
shop และ co-working space เป็นต้น
เรื่องสาธารณะสาหรับทุกคน
“UDON 2029” จึงเป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากความที่อยากให้เรื่องการ
พัฒนาเมืองอุดรธานีเป็นเรื่องสาธารณะ มากกว่าการที่มีไว้เฉพาะคนใดคนหนึ่งหรือ
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง พื้นที่สาธารณะที่เป็นพื้นที่สาหรับคนทุกคนทั้งในเชิงกายภาพและ
เชิงระบบความสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมที่สร้างสรรค์รูปแบบการใช้ชีวิตที่ดีต่อ
สุขภาพทั้งทางกายและจิตโดยสัมพันธ์กันกับการใช้พื้นที่สาธารณะของสังคม ผ่าน
แนวคิด Smart Growth ซึ่งเป็นแนวคิดการจัดการเมืองเพื่อรองรับการเติบโตของ
เมืองอย่างชาญฉลาด
7 | FURD Cities Monitor November 2018
ราชธานีที่ยิ่งใหญ่ในอดีต
อยุธยาเป็นเมืองที่ยิ่งใหญ่ในอดีต เคยเป็นราชธานีกว่า 417 ปี ในปี
2534 Unesco ประกาศให้อยุธยาเป็นเมืองมรดกโลก อยุธยาในขณะนี้เริ่มมีคน
รุ่นใหม่เข้ามาทางานพัฒนาเมืองมากขึ้น เช่น กลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (YEC)
การรวมตัวของลูกหลานกลุ่มหอการค้าที่มีจิตวิญญาณรักเมืองอยุธยา มีการ
รวมตัวของกลุ่มกาแฟในนาม ABC มีการคั่วเมล็ดกาแฟเอง นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม
คนรุ่นใหม่ที่กลับบ้านมาทาธุรกิจ ทาให้ธุรกิจใหม่ ๆ เกิดขึ้นกว่า 55 เปอร์เซ็นต์
อยุธยา VS เกียวโต
หากลองเทียบอยุธยากับเกียวโต ในฐานะเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม
พบว่าวัดที่อยุธยามี 30 กว่าแห่ง เกียวโตมีประมาณ 39 แห่ง จานวน
นักท่องเที่ยวในอยุธยามี 6.7 ล้านคนต่อปี ในขณะจานวนนักท่องเที่ยวเกียวโตมี
55 ล้านคนต่อปี อยุธยาโรงแรมมี 140 แห่ง เกียวโตมีกว่า 800 แห่ง หากลงใส่
hashtag ใน Instagram อยุธยามีภาพเพียง 5 แสนภาพ ในขณะที่เกียวโตมีคน
แชร์ภาพกว่า 11 ล้านภาพ สิ่งที่น่าสนใจคือ ภาพของอยุธยาจะมีเพียงภาพของ
วัดเดิม ๆ ต่างจากเกียวโตที่มีภาพหลากหลายทั้งต้นไม้ธรรมชาติ อาหาร ชุดแต่ง
กายประจาชาติ
อยุธยาที่แตกต่างจากเดิม
สิ่งที่กลุ่ม YEC พยายามทา คือ เพิ่มมุมใหม่ ๆ ให้อยุธยามากขึ้น
แนะนาสถานที่หรือเรื่องราวใหม่ ๆ เช่น ฟาร์มเมลอนขนาดใหญ่ เพราะอยุธยามี
ต้นทุนการทาเกษตรกรรมที่ดี แนะนาด้านวัฒนธรรม อยุธยามีความหลากหลาย
ชาติพันธุ์ตั้งแต่อดีต จึงมีหมู่บ้านต่างชาติ เช่น หมู่บ้านญี่ปุุน หมู่บ้านโปรตุเกส
หมู่บ้านฮอลันดา นอกจากนี้ยังพยายามนาเสนอเรื่องราวของธรรมชาติและ
วัฒนธรรมด้านอาหารการกินให้มากขึ้น ในอนาคตมีความคาดหวังอยากทาให้
อยุธยากลายเป็น 1 ใน 10 เมืองที่มีการท่องเที่ยวที่ดีที่สุดในโลก ให้
นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ให้เมืองอยุธยาเป็นจุดมุ่งหมายนักท่องเที่ยว
อีกครั้งหนึ่ง โดยจะนาเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ ๆ มาปรับใช้กับโบราณสถาน ที่
จะเชื่อมโยงคนในยุคดิจิตอลกับประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีแผนจะสร้าง
มัคคุเทศก์รุ่นจิ๋วขึ้นมา เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้เข้าใจประวัติศาสตร์และสืบสาน
วัฒนธรรม รักบ้านเมือง หารายได้และช่วยให้ชุมชนได้ประโยชน์ด้วย
FURD Cities Monitor November 2018 | 8
สมุทรปราการ
พลิกโฉมสู่มหานคร
แห่งการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ
ภูมิรัฐศาสตร์ที่ดี
สมุทรปราการมีภูมิรัฐศาสตร์ที่ดีมาก อยู่ระหว่างกรุงเทพ พัทยา และศรีราชา เป็น
เมืองปริมณฑลที่มีชายฝั่งทะเลยาวกว่า 46 กิโลเมตร ด้วยเป็นเมืองอุตสาหกรรมและใกล้
กรุงเทพทาให้สมุทรปราการมีคนพื้นถิ่นน้อยกว่าคนนอกที่เข้ามาอาศัยอยู่ ผู้คนที่นี่จึงมาจาก
หลายแห่งผสมผสานทั่วประเทศ และประชากรเพิ่มขึ้นตลอด ไม่ค่อยลด ปัจจุบันภาวะที่
เกิดขึ้นคือโรงงานก็ย้ายออกไปพอสมควรแล้ว เนื่องจากที่ดินแพง
5 Mega Project พลิกโฉมสมุทรปราการ
สมุทรปราการในฐานะเมืองที่ได้รับขยายตัวจากกรุงเทพ มีการลงทุนและเต็มไปด้วย
โครงสร้างพื้นฐานมากมายสมุทรปราการมีศักยภาพมาก องค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาลนคร
สมุทรปราการ อบจ. เทศบาลตาบลพระสมุทรเจดีย์ จึงมีแผนพลิกโฉมสมุทรปราการสู่มหา
นครแห่งการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจด้วย 5 Mega Project
1. อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ ที่มีความสูง 179
เมตร แลนด์มาร์คแห่งใหม่ใจกลางเมืองสมุทรปราการ จากเรือนจาเก่า
สู่ศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์แห่งใหม่ ให้ผู้คนสามารถชื่นชม
ความงดงามของคุ้มน้าเจ้าพระยาได้ 360 องศา อยู่ห่างรถไฟฟูาสายสี
เขียว 300 เมตรเท่านั้น
2. ตลาดเชิงท่องเที่ยว : ศูนย์กลางจาหน่ายผลผลิตทางการประมง
ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน ตลาดรองรับนักท่องเที่ยว ขณะนี้ดาเนินการ
ไปประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์แล้ว
3. กระเช้าลอยฟ้าข้ามแม่น้าเจ้าพระยา ที่มีความปลอดภัย รับชมวิว
ส่งเสริมคมนาคมและไร้มลพิษ เชื่อมต่อการท่องเที่ยวธรรมชาติ
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของสองฝั่งได้คือคนฝั่งพระสมุทรเจดีย์และ
คนอาเภอเมือง จะทาให้เวลาข้ามฝั่งเหลือเพียง 5 นาทีเท่านั้น ขณะนี้อยู่
ในระหว่างการออกแบบ
4. ศูนย์แสดงสินค้าและจัดนิทรรศการ ตั้งอยู่บนถนนปูุเจ้าสมิงพราย
ศูนย์รวบรวมทั้งอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ เครื่องหนัง อุตสาหกรรม
การเกษตร ไว้แห่งเดียว
5. รถไฟฟ้าโมโนเรล พลิกโฉมการเดินทาง ส่งเสริมขนส่งสาธารณะ
เชื่อมโยงรถไฟฟูาสายสีเขียวไปยังสนามบินสุวรรณภูมิ ความยาว 33
กิโลเมตร โดยใช้งบประมาณจาก อบจ. และการกู้เงิน ซึ่งหากทาสาเร็จ
จะช่วยเรื่องการเดินทางและการท่องเที่ยวดีมาก
การปลูกฝังให้คนรักเมือง
ด้วยความหลากหลายที่มาจากต่างถิ่น ทาให้คนสมุทรปราการไม่ค่อยภูมิใจใน
เมืองนัก มองว่าเป็นเมืองของตัวเองที่แต่มลพิษ ที่ผ่านมาท้องถิ่นพยายามเปลี่ยนทัศนคติคน
ในเมือง แต่ไม่ใช่เรื่องที่ไม่ง่ายนัก และประเด็นสาคัญอีกอย่าง คือ เมืองนี้มีกลุ่มผลประโยชน์
มากมาย หลายครั้งกลุ่มท้องถิ่นไม่ใช่กลุ่มเดียวกับการเมืองระดับชาติ มีความคิดเห็นขัดแย้ง
กัน คาดหวังว่าในอนาคต การทาเพื่อเมืองสมุทรปราการ จะช่วยทาให้ผู้บริหารเมืองหลาย
หน่วยงาน สามารถเป็นหนึ่งเดียวกันได้
9 | FURD Cities Monitor November 2018
วงเวียนใหญ่
เวนิสย่านฝั่งธนฯ ในอนาคต
แหล่งพหุวัฒนธรรมกลางกรุง
ย่านวงเวียนใหญ่ถือเป็นย่านเมืองเก่าซึ่งประกอบไปด้วยพหุชาติพันธุ์ที่ได้
ย้ายถิ่นฐานมาเมื่อครั้งเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 ทั้งพุทธ คริสต์ อิสลาม ทาให้เกิดความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังมีสถานที่ที่น่าสนใจของย่านนี้ที่หาไม่ได้ใน
ฝั่งพระนคร โดยเฉพาะของดีในอดีตที่ยังคงสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน นับเป็นเอกลักษณ์
เฉพาะตัวที่ยากจะหาย่านใดเสมอเหมือน เช่น ตลาดเจริญรัถแหล่งจาหน่ายเครื่อง
หนังและอุปกรณ์สาหรับเครื่องหนังขนาดใหญ่ ร้านรับซื้อเศษทอง เงิน นากและ
ร้านเครื่องประดับทามือ รวมถึงร้านอาหารต่างๆ มากมาย ในด้านการคมนาคมมี
ระบบขนส่งสาธารณะหลายประเภทที่เชื่อมพื้นที่ใกล้เคียงไว้ด้วยกัน
เมืองเก่าที่ถูกละเลย
ถือได้ว่าวงเวียนใหญ่เป็นย่านเศรษฐกิจที่มีความสาคัญอีกย่านหนึ่งของฝั่ง
ธนบุรี เพราะมีการก่อสร้างสถานีรถไฟฟูา อสังหาริมทรัพย์และห้างสรรพสินค้า
จานวนมาก ส่งเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่วงเวียนใหญ่ให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะถูกพัฒนาให้เป็น
ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าและมวลชน ในทางตรงกันข้าม ย่านวงเวียนใหญ่เป็น
เมืองเก่าที่ถูกละเลยมานาน และ/หรือ มีการพัฒนาที่ยังไม่มากพอ ไม่เหมาะสมที่จะ
รองรับความเจริญที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ เนื่องจากยังคงมีสิ่งที่ควร
ปรับปรุงคู่ขนานกันไปกับการพัฒนาทางวัตถุเพื่อประโยชน์ต่อประชาชน ชุมชนใน
พื้นที่อย่างยั่งยืน
เวนิสในอนาคต
ในการพัฒนาวงเวียนใหญ่อย่างยั่งยืนนั้น เนื่องจากย่านวงเวียนใหญ่มี
อาคารพาณิชย์เก่าทิ้งร้างอยู่จานวนมาก อนาคตข้างหน้าจะถูกนามาปรับปรุงสภาพ
เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ โดยอาจทาเป็นที่อยู่อาศัย โรงแรม หรือตลาด ซึ่งจะมีส่วน
ช่วยในการลดแหล่งมั่วสุมเสพยาเสพติดและสิ่งผิดกฎหมายและปรับทัศนียภาพของ
เมืองให้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีแผนการปรับสภาพคูคลองเพื่อใช้สาหรับขนส่ง
สาธารณะทางน้า โดยมีเวนิสเป็นต้นแบบเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
ท้องถิ่น เกิดการจ้างงาน ส่งเสริมรายได้ให้ชุมชน และยังช่วยในเรื่องของการรักษา
สิ่งแวดล้อมอีกด้วย
FURD Cities Monitor November 2018 | 10
ปราจีนบุรี
ลุ่มน้ำแห่งควำมสุข
ริบบิ้นหล่อเลี้ยงชีวิต
แม้ว่าปัจจุบันปราจีนบุรี จะเป็นเมืองอุตสาหกรรม มีการค้าการลงทุน
อย่างไรก็ตาม ต้นทุนดั้งเดิมของปราจีนบุรีมีต้นทุนทางภูมิศาสตร์และการทา
เกษตรกรรมที่ดี แม้ในอาเภอเมืองก็มีกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชหลายอย่างจานวน
มาก เพราะปราจีนบุรีมีดินที่อุดมสมบูรณ์ คือ กลุ่มดินนา เหมาะสมกับการปลูก
ข้าวและไม้ผล กลุ่มดินไร่ ที่มีความอุดมสมบูรณ์น้อยกว่าดินนา เหมาะสมกับการ
ปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด มันสาปะหลัง และพืชไร่อื่น จากลักษณะดินดังกล่าวจึงมี
ความเหมาะสมกับการทานา ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นและพืชไร่ มีพื้นที่ปุาส่วนใหญ่
เป็นปุาดิบปุาแดงและปุาเบญจพรรณ มีไม้ไผ่ที่สามารถนามาทาหัตถกรรมเป็น
สินค้าส่งออกทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไม้ยูคาลิปตัส ไม้เศรษฐกิจที่สาคัญที่
นามาเป็นวัตถุดิบสาหรับผลิตเยื่อกระดาษ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแม่น้าสาคัญคือ
แม่น้าบางปะกง
อาเภอบ้านสร้างอยู่ราบลุ่มน้าบางประกง ลักษณะแม่น้ามีลักษณะคด
เคี้ยวเหมือนริบบิ้น ชุมชนพึ่งพาสายน้ามาตั้งแต่อดีต ทาให้กลายเป็นแหล่งทอเสื่อ
เนื่องจากมีต้นกก และชุมชนมีลักษณะเป็นพหุวัฒนธรรมไทยและจีน ส่วนใหญ่ยัง
มีวิถีชีวิตดั้งเดิมอยู่มาก ยังคงรวมตัวกันจัดประเพณีตามเทศกาล เช่น งานจุลกฐิน
ที่หาพบได้ยากมากแล้ว คือประเพณีเล็กๆ ที่จะทาให้เสร็จภายในวันเดียว เริ่ม
ตั้งแต่ย้อมผ้า เย็บกฐิน ใครมีจักรมีด้ายก็นามาจากบ้านมาลงแขกกัน หากเรา
สามารถชูคุณค่าและชี้ให้เห็นจิตวิญญาณของเมือง นอกจากนี้ ยังมีสถาปัตยกรรม
โดยธรรมชาติ คือแม่น้าบ้านปะกง ที่มีความอุดมสมบูรณ์
มรดกเมืองโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
โครงการรวบรวมมรดกเมืองเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและสังคมยั่งยืน ที่
สารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐาน การผลิต
และสถาปัตยกรรมท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการชุมชน ดึงให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
ทาให้ชุมชนรู้สึกรักและเป็นเจ้าของเมือง และเกิดเป็นพลังการพัฒนาเมืองที่
ยิ่งใหญ่กว่าการดาเนินการโดยราชการ ส่งผลให้ธรรมชาติกับชุมชนสามารถอยู่
ร่วมกันได้อย่างสมดุลและยั่งยืน
11 | FURD Cities Monitor November 2018
ระนอง
แหล่งแร่นองของภาคใต้
ระนองมาจาก คาว่า แร่นอง เพราะในอดีตมีการทาเหมืองแร่ดีบุกมาก และ
การเป็นเมืองท่าค้าขาย ระนองมีถนนเพชรเกษมตัดผ่านระนองเพื่อไปภาคใต้ อันที่
จริงเมืองระนองควรจะเป็นเมืองทางผ่านเมื่อไปภาคใต้ แต่ผู้คนมักนิยมไปเส้นทาง
ผ่านสุราษฎร์ธานีมากกว่า ระนองจึงเป็นเมืองที่ต้องตั้งใจมาถึงมาได้ คนทั่วไป
อาจจะรู้จักระนองในฐานะเมืองที่มีธรรมชาติสวย แต่ระนองเป็นเมืองเก่า มี
โบราณสถานหลากหลายแห่ง รวมทั้งพระราชวังสมัยรัชกาลที่ 5-7 สะท้อนให้เห็น
ถึงความเจริญรุ่งเรือง อีกทั้งบริเวณโดยรอบอาคารศาลากลางระนองหลังเดิม ยังมี
ชุมชนเมืองเก่าระนอง นอกจากนี้ระนองเป็นเมืองมีความหลากหลายของ
วัฒนธรรมชาติพันธ์ต่าง ๆ (ไทย จีน พม่า แขก)
ประวัติศาสตร์เมืองเชื่อมกับประวัติศาสตร์โลก
ปัจจุบัน การท่องเที่ยวของระนองถูกคนโปรโมทในเรื่องเมืองธรรมชาติ
ทะเลสวย ปุาชายเลน เมืองแห่งน้าแร่ แต่ยังขาดการส่งเสริมในมิติทาง
ประวัติศาสตร์ เรื่องเมืองเก่า ซึ่งทุนด้านต่าง ๆ ระนองไม่ได้มีแต่ธรรมชาติ แต่ทุน
วัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ที่ผ่านมากลุ่มคนรักประวัติศาสตร์ระนองพยายามจะ
เชื่อมโยงประวัติศาสตร์เมืองและประวัติศาสตร์โลกเข้าด้วยกัน และยิ่งค้นพบว่า
ระนองเป็นเมือง 4 แบบ คือ 1.เมืองคอคอดกระ ช่องแคบของแหลมมลายู เคยเป็น
เส้นทางการค้าโลกตั้งแต่อดีต 2.เมืองดีบุก ตอนตั้งเมืองมีคนจีนมาทาเหมืองแร่ดีบุก
และเป็นคนจีนที่กลายเป็นเจ้าเมืองระนอง 3.เมืองชายแดน ด้วยเหตุนี้ทาให้ ร.4
จึงไม่ยกระนองให้ขึ้นกับชุมพร เพราะเห็นศักยภาพ 4.เมืองเสด็จประทับแรม เป็น
เมืองที่มีพระราชวังแห่งเดียวของภาคใต้
มุ่งฟื้นฟูเมืองเก่าระนอง
ในอนาคตสิ่งที่เมืองระนองอยากจะพัฒนา คือ การดึงประวัติศาสตร์ความ
เมืองเก่าให้โดดเด่นขึ้นมา มีแผนสาคัญคือการอนุรักษ์และพัฒนาอาคารศาลากลาง
จังหวัดหลังเดิมเป็นอาคารเชิงอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์ของเมืองระนองเพื่อเป็นแหล่ง
เรียนรู้ พัฒนาชุมชนเมืองเก่าระนอง เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวโดยรอบกับย่านเมือง
เก่า ถือได้ว่าบริหารจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดรายได้ในโอกาสต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่าจะช่วยให้เกิดการแนวคิดอนุรักษ์มากขึ้นในชุมชน ประชาชนในท้องถิ่นเกิดความ
ภาคภูมิใจในตัวเอง คนในเมืองรักเมืองของตนมากขึ้น สร้างความสุขให้คนระนอง
และผู้มาเยือนให้มากขึ้น
การพัฒนา
บนฐานประวัติศาสตร์เมือง
FURD Cities Monitor November 2018 | 12
ทุ่งสง
กึ่งกลางของภาคใต้
ทุ่งสง มีทาเลที่ตั้งเป็นเลิศอยู่กึ่งกลางระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทย
และกึ่งกลางของภาคใต้ ด้วยภูมิศาสตร์ที่อยู่ใกล้เทือกเขานครศรีธรรมราชอันเป็น
แหล่งต้นน้า จึงมีลาน้าหลายสาขาไหลผ่านเมือง ในอดีตผู้คนจึงอาศัยการสัญจร
ทางน้าเป็นหลักจนกลายเป็นศูนย์กลางการขนถ่ายสินค้าส่งออกทางทะเล
ความสาคัญของการมีส่วนร่วมของเครือข่าย
เทศบาลเมืองทุ่งสงให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของเครือข่ายทุก
ภาคส่วนเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน เครือข่ายเหล่านั้นต่างก็ให้ความร่วมมือกับ
เทศบาลเป็นอย่างดี จนเกิดเป็นกระบวนการดังนี้
ร่วมคิด การระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ เพื่อ
รวบรวมข้อมูลและวางแผนร่วมกับภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน สภาอุตสาหกรรมฯ สื่อมวลชน และประชาสังคม
อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
ร่วมทา ตั้งแต่ปี 2552 มีหลายภาคส่วนเข้ามาช่วยกันทาช่วยกัน
สนับสนุนโครงการ จนเกิดเป็นเครือข่ายทางานประสานกัน
ร่วมงบประมาณ แม้เทศบาลเมืองทุ่งสงจะไม่สามารถขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณได้โดยตรง แต่ก็มีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วย
สนับสนุนงบประมาณ ตั้งแต่ธนาคาร ADB ที่เข้ามาศึกษาก่อนโครงการจะ
ดาเนินก่อสร้าง ไปจนถึงสานักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง
อ่าวไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ที่ให้
การสนับสนุนงบประมาณการก่อสร้างมาอย่างต่อเนื่อง จนถือได้ว่ารัฐบาล
กลางเป็นผู้สนับสนุนโครงการนี้เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์
จากรางเก่าสู่การเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้า
เทศบาลเมืองทุ่งสงเป็นท้องถิ่นแรกที่มีความคิดริเริ่มฟื้นฟูระบบรางใน
อดีตแล้วพัฒนาให้เป็นศูนย์กระจายสินค้า สามารถทาดึงศักยภาพท้องถิ่นจากการ
เป็น “เมืองชุมทาง” ออกมา ทาให้เกิดระบบขนส่งสินค้าหลักที่มีประสิทธิภาพ ลด
ต้นทุน กระตุ้นเศรษฐกิจ เรียกได้ว่าเป็นการเปลี่ยนบทบาทจาก “ช่างปะผุ” เป็น
“ผู้จัดการเมือง” ได้อย่างแท้จริง โครงการทุนทางวัฒนธรรมเมืองทุ่งสง ซึ่งมี
อ.ธนภณ วัฒนกุล เป็นที่ปรึกษาโครงการ เป็นโครงการสารวจและกาหนดพื้นที่นา
ร่องในการปรับปรุงภูมิทัศน์อาคารเก่า เน้นไปที่กายภาพเป็นหลัก เช่น
สยามกัมมาจล ชุมชนบ้านพักรถไฟ
เมืองชุมทาง ศูนย์กลางกระจายสินค้าของภาคใต้
13 | FURD Cities Monitor November 2018
ตรัง
พื้นที่ที่สามสาหรับทุกคน
แหล่งรวมตัวของคนรุ่นใหม่
นครตรังเป็นพื้นที่หนึ่งที่ประกอบด้วยกลุ่มคนรุ่นใหม่จานวนไม่น้อย
เนื่องจากจังหวัดตรังเป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมมากกว่า 20 แห่งทั้ง
โรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษา พื้นที่สาธารณะจึงเป็นพื้นที่หนึ่งที่กลุ่มคนรุ่นใหม่จะ
เข้าไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่เป็น
นักเรียน นักศึกษา หรือวัยแรงงานตอนต้นไปจนถึงวัยแรงงานตอนกลาง มักเลือกใช้
ร้านกาแฟหรือ co-working space ในการทางานและพบปะสังสรรค์
Trang Hackathon Project
พื้นที่ในเขตเทศบาลนครตรังมีศักยภาพที่จะผลักดันการมีส่วนร่วม
โดยเฉพาะประเด็นทางสังคม รวมถึงเชื่อมภาครัฐ กลุ่มทางสังคม ผู้ประกอบการ
เอกชน และภาควิชาการได้ จึงได้เกิดเป็นโครงการ “Trang Hackathon” เพื่อฝึก
การคิดอย่างผู้ประกอบการเพื่อสังคมและสร้างสรรค์นวัตกรรมที่จะช่วยตอบโจทย์
ความท้าทายของการพัฒนาท้องถิ่นตรัง ดาเนินการโดยกลุ่ม Intermigle in
Trang, Kid+dee RUTS และ The Tree Sleep | Space โครงการนี้จะเป็น
โครงการที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนตรังในการขยายผลกิจกรรมเพื่อการพัฒนา
ตรังอย่างยั่งยืน สร้างฐานเศรษฐกิจของจังหวัด เกิดการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมกับชุมชนและพื้นที่
จุดประกายความคิดคนเมืองตรัง
จากโครงการ “Trang Hackathon” นี้ ทาให้คนตรังเกิดความตื่นตัวใน
การที่จะพัฒนาพื้นที่ที่สามอันจะเกิดจากการใช้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนใน
พื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะกับจุดประสงค์ เข้าใจเปูาหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืนมากขึ้น เรียนรู้เครื่องมือและกระบวนการคิดเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมทาง
สังคม ซึ่งเป็นโอกาสที่จะได้พบปะและทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านการ
ประกอบการเพื่อสังคม รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายของคนท้องถิ่นที่อยากมีส่วน
ร่วมในการพัฒนาจังหวัดตรัง
คนตรังช่วยคนตรังสร้างเมือง
โดยในอนาคตจะมีการเปิดพื้นที่ “Kid + dee” เป็นพื้นที่สาหรับคน
ทั่วไปในจังหวัดตรังที่ต้องการพัฒนาตนเองและองค์กร เสริมสร้างความมั่นคงทาง
สังคม รวมไปถึงคุณภาพชีวิตและการศึกษาเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เพื่อกระจายรายได้ให้กับคนในชุมชนได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง
ทุกคนในเมืองตรังสามารถมีส่วนช่วยขับเคลื่อนเมืองตรังให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่าง
มั่นคง ดังคากล่าวที่ว่า “คนตรังช่วยคนตรังสร้างเมือง”
FURD Cities Monitor November 2018 | 14
แหล่งรวมของดีปัตตานี
สายบุรีเป็นอาเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ในอดีตเคยเป็นจังหวัดสายบุรี
สายบุรีเป็นเมืองน้า มีแม่น้าคั่นกลางระหว่างเมือง มีต้นทุนทางวัฒนธรรม
หลากหลาย เป็นเมืองท่า มีบ้านและอาคารเก่า วัฒนธรรมโดดเด่น มีคนจีน มลายู
คนไทยพุทธ มีชุมชนปากีสถาน อินเดีย มีทุนทางเศรษฐกิจ ของเด่นของปัตตานี
ล้วนมาจากสายบุรี เช่น บูดู อาหารแห้ง หัตถกรรมต่าง ๆ สายบุรีมีทุนมนุษย์ที่ดี มี
นักปราชญ์ นักเคลื่อนไหว นักเขียน มากมาย
พื้นที่สร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่
ที่ผ่านมาสายบุรีเกิดกลุ่มสายบุรี ลูกเกอร์ กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่รักเมือง ทางาน
ในพื้นที่ ช่วงแรกพยายามให้ผู้คนได้รู้จักตัวตน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น รากเหง้า
วัฒนธรรมของความเป็นสายบุรี เพื่อให้คนได้เริ่มพูดคุยกันหลังจากเกิดเหตุความไม่
สงบมานาน จวบจนปัจจุบันสิ่งที่ สายบุรี ลูกเกอร์ ทามากขึ้น คือ พยายามสร้าง
พื้นที่สร้างสรรค์ให้กับกลุ่มเด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มาทากิจกรรมร่วมกัน จึงมีการจัด
งานหลายกิจกรรม เช่น Melody of Saiburi จัดงานคราฟท์ในชื่อ งาน Hope จัด
แข่งขัน Street Soccer ใช้กีฬาเป็นจุดเชื่อมระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ จัดทา
อะคาเดมีให้เด็กอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เด็กได้รู้สึกมีพื้นที่ของตัวเองและทากิจกรรมได้
อย่างปลอดภัยและมีอิสระมากขึ้น
Saiburi City Café
สายบุรีไม่ได้คาดหวังให้เป็นเมืองท่องเที่ยว แต่คงไม่สามารถต้านกระแสได้
มีคนนอกสนใจสายบุรีจานวนมาก ซึ่งต้องมาพร้อมกับการลงทุน ที่จะสร้างปัญหา
มากมาย เมืองควรจะมีการตั้งรับ ทาให้กลุ่มสายบุรี ลูกเกอร์ ที่เคยเป็นกลุ่มเล็ก ๆ
คิดการใหญ่ชวนกลุ่มลูกจีน กลุ่มมุสลิม กลุ่มเยาวชน จดทะเบียนเป็น “สมาคมผู้
เฝ้ามองแห่งเมือง เพื่อสร้างสรรค์สังคม” เพื่อขับเคลื่อน ตั้งรับ วางเปูาหมายเมือง
ในมิติต่าง ๆ ร่วมกัน ในอนาคตสมาคมคนสายบุรี ต้องการสร้างพื้นที่ (Space) ที่
จะเป็นร้านกาแฟ เป็นคลับ ที่รวบรวมองค์ความรู้ต่าง ๆ ทุกด้าน ในวิถีความเป็น
สายบุรี เน้นอาหารท้องถิ่น เป็นศูนย์กระจายสินค้า โดยจะใช้บ้านเก่าในชุมชนจีน
สร้างพื้นที่ดังกล่าว ที่คนในเมืองและคนนอกก็ได้ประโยชน์เข้ามาเรียนรู้ อีกทั้งยัง
เป็นพื้นที่กลางให้คนทางานเรื่องเมืองได้มีพื้นที่แลกเปลี่ยน พูดคุย เรียกได้ว่าเป็น
คลับของทุกเรื่องราวในสายบุรี
เมืองแห่งพื้นที่สร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัถนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาชจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดจา บุชค้า
ชุดหนังสือเมือง
เอนกทรรศน์
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เศรษฐศาสตร์บนทางสายกลาง
ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัถน์
หนังสือออกใหม่
สั่งฉือได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราจการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เมือง กิน คน
ปศ.ดร. พิจช์ พงษ์สวัสดิ์
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Contenu connexe

Tendances

Microsoft power point powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิต
Microsoft power point   powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิตMicrosoft power point   powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิต
Microsoft power point powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิตyahapop
 
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)yahapop
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้Tayicha Phunpowngam
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมWannakan Kkap
 
ปอสัมพันธ์4757
ปอสัมพันธ์4757ปอสัมพันธ์4757
ปอสัมพันธ์4757Suwannee Pun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายนรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายนssuser6a206b1
 
โครงการลูกเสือ 48
โครงการลูกเสือ 48โครงการลูกเสือ 48
โครงการลูกเสือ 48Dmath Danai
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยAor Dujkamol
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchitaPornchita Taejanung
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candlePandora Fern
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 

Tendances (19)

โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.docโครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
 
Microsoft power point powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิต
Microsoft power point   powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิตMicrosoft power point   powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิต
Microsoft power point powerpoin ๑๘กพ๖๐ ศูนย์กู้ชีพ-กูภัย นครรังสิต
 
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
S2
S2S2
S2
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ปอสัมพันธ์4757
ปอสัมพันธ์4757ปอสัมพันธ์4757
ปอสัมพันธ์4757
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายนรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 4 ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
 
โครงการลูกเสือ 48
โครงการลูกเสือ 48โครงการลูกเสือ 48
โครงการลูกเสือ 48
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
Sicience project
Sicience projectSicience project
Sicience project
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 

Similaire à FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfpeter dontoom
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนllwssii
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนllwssii
 
กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์somchat
 

Similaire à FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018) (20)

Vdoclip
VdoclipVdoclip
Vdoclip
 
Vdoclip
VdoclipVdoclip
Vdoclip
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
Woonkrathi
WoonkrathiWoonkrathi
Woonkrathi
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
 
Varasan
VarasanVarasan
Varasan
 
วรสารเดือน มิ.ย.
วรสารเดือน มิ.ย.วรสารเดือน มิ.ย.
วรสารเดือน มิ.ย.
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
Final com 929
Final com 929Final com 929
Final com 929
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์
 

Plus de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)

  • 1. ปี ที่ 2 ฉบับที่ 5 ประจาเดือน พฤศจิกายน 2561
  • 2. บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ออกแบบและจัดรูปเล่ม ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม ภาพปก ฐิติรัตน์ รู้เสงี่ยม Freepik.com ภาพในเล่ม Flaticon.com Freepik.com อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ผู้เข้าร่วมงานสัมมนา “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง” เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 E-mail: furd_2014@gmail.com ช่วงเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองได้จัดงานสัมมนา “ผู้สร้างบ้านแปงเมือง” เรื่อง การใช้จิตวิญญาณและอัตลักษณ์เมือง เพื่อสร้างสังคมและเศรษฐกิจเมืองแบบเกื้อกูลและยั่งยืน เป็นการรวบรวมผู้ขับเคลื่อนเมืองในแต่ละภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อให้เกิดแนวคิดพัฒนาเมือง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจจากรากฐานวัฒนธรรม เน้นการพัฒนาที่ให้ ประโยชน์เกิดกับคนหลายกลุ่มเกื้อกูลรับผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมจะสามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปต่อยอดพัฒนาเมืองของตนเองได้ Furd Cities Monitor ฉบับนี้จึงเป็นการสรุปเรื่องราวการพัฒนาเมืองแต่ละเมืองที่ได้เข้าร่วมงานสัมมนาทั้ง 10 เมือง ที่แต่ละเมืองมีเอกลักษณ์และต้นทุนทางวัฒนธรรมแตกต่างกันออกไป ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจ ถึงบริบทของเมืองทั้ง 10 เมืองของไทย ได้ฉุกคิดถึงเมืองของตนที่อาศัยอยู่ ได้เห็นเป็นแนวทางในการใช้ พัฒนาเมืองอย่างมั่นคงและยั่งยืน ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ .............................................แม่มอก ............................................. อุดรธานี ............................................................ ................................................ สมุทรปราการ...........................................วงเวียนใหญ่ ............................................. ปราจีนบุรี .............................................ระนอง ......................................................... ............................................. ..................................... ทุ่งสง ตรัง ...................
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor November 2018 FURD Cities Monitor November 2018 | 2 ศตวรรษที่ 21 กล่าวได้ว่าเป็นศตวรรษของเมืองกับความเป็นเมือง จากข้อมูลของสานักงานประชากรแห่งสหประชาชาติ ในปี 2010 รายงานว่า เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่จานวนประชากรของโลกอาศัยในเมืองเกินกว่าที่อาศัยในเขตชนบทแล้ว เฉกเช่นเดียวกับประเทศไทยที่ปัจจุบันได้กลายเป็นเมืองมากกว่า 50% หากเมืองได้รับการจัดการที่ดี เมืองสามารถสร้างโอกาส ในการพัฒนาเศรษฐกิจ มีการจ้างงาน และการพัฒนาทางสังคม ในขณะเดียวกัน เมืองของไทยกลับมีการพัฒนาตามสภาพ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเมือง ที่ยังเน้นการพัฒนา เศรษฐกิจแบบการลงทุนขนาดใหญ่ การลงทุนทางอุตสาหกรรม โดยยังไม่สามารถใช้จุดเด่นทางวัฒนธรรม อันเป็นรากฐานของ แต่ละเมืองต่อยอดพัฒนาเป็นเศรษฐกิจได้ นอกจากนี้เมืองส่วนใหญ่ยังพัฒนาโดยขาดการมีส่วนร่วมของคนในเมือง ต่างคนต่าง พัฒนาตามแนวคิดของตนเอง ทาทีละส่วน ไม่มีการบูรณาการร่วมกัน ซึ่งเป็นผลทาให้เมืองพัฒนาแบบขาดอัตลักษณ์ ขาดจิต วิญญาณของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง จึงออกแบบหลักสูตรอบรมผู้สร้างบ้านแปงเมือง เรื่อง การใช้จิตวิญญาณและอัตลักษณ์ เมือง เพื่อสร้างสังคมและเศรษฐกิจเมืองแบบเกื้อกูลและยั่งยืน เพื่อให้แนวคิดพัฒนาเมือง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจจาก รากฐานวัฒนธรรมของเมือง เน้นการพัฒนาที่ให้ประโยชน์เกิดกับคนหลายกลุ่มเกื้อกูลรับผลประโยชน์ร่วมกัน โดยใน Furd Cities Monitor ฉบับนี้ได้สรุปความโดดเด่นของเมือง การทางานของผู้สร้างบ้านแปงเมือง และทิศทางการทางานในอนาคต ของ 10 เมืองของไทยที่ได้เข้าร่วมงานสัมมนาที่ผ่านมา
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor November 2018 1. ปภาวี ด่านวิชัยโรจน์ (อยุธยา) / 2. อับฮาร์ เบญจสนัสกุล (สายบุรี) / 3. ธนกร สุวุฒิกุล (ระนอง) / 4. อภิชญา โออินทร์ (ตรัง) / 5. พลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ (วงเวียนใหญ่) / 6. สัมพันธ์ เตชะเจริญกุล (สมุทรปราการ) / 7. พิชัย เอื้อมธุรพจน์ (อุดรธานี) / 8. ชื่นสุข ประเสริฐทรัพย์ (ปราจีนบุรี) / 9. กัลยาณี พรพิเนตพงศ์ (ปราจีนบุรี) / 10. ณรินี ทิพย์แก้ว (แม่มอก) / 11. เสถียร บริการจันทร์ (ทุ่งสง) / 12. กิติมา แถลงกิจ (อยุธยา) / 13. มูฮัมหมัด เปาะมือแย (สายบุรี) / 14. อานัส พงศ์ประเสริฐ (สายบุรี) / 15. สุพจน์ กรประสิทธิวัฒน์ (ระนอง) / 16. ไพฑูรย์ นงค์นวล (ตรัง) / 17. คณพศ แก้วเดช (แม่มอก) / 18. อนุชา ธนาวุฒิ (ทุ่งสง) / 19. ทิพวัลย์ รัตนพันธุ์ (ทุ่งสง) / 20. ภานุมาศ สุตระ (ทุ่งสง) / 21. พัชรินทร์ ทีรซาร์ (อุดรธานี) FURD Cities Monitor November 2018 | 4 1. ปภาวี ด่านวิชัยโรจน์ (อยุธยา) / 2. อับฮาร์ เบญจสนัสกุล (สายบุรี) / 3. ธนกร สุวุฒิกุล (ระนอง) / 4. อภิชญา โออินทร์ (ตรัง) / 5. พลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ (วงเวียนใหญ่) / 6. สัมพันธ์ เตชะเจริญกุล (สมุทรปราการ) / 7. พิชัย เอื้อมธุรพจน์ (อุดรธานี) / 8. ชื่นสุข ประเสริฐทรัพย์ (ปราจีนบุรี) / 9. กัลยาณี พรพิเนตพงศ์ (ปราจีนบุรี) / 10. ณรินี ทิพย์แก้ว (แม่มอก) / 11. เสถียร บริการจันทร์ (ทุ่งสง) / 12. กิติมา แถลงกิจ (อยุธยา) / 13. มูฮัมหมัด เปาะมือแย (สายบุรี) / 14. อานัส พงศ์ประเสริฐ (สายบุรี) / 15. สุพจน์ กรประสิทธิวัฒน์ (ระนอง) / 16. ไพฑูรย์ นงค์นวล (ตรัง) / 17. คณพศ แก้วเดช (แม่มอก) / 18. อนุชา ธนาวุฒิ (ทุ่งสง) / 19. ทิพวัลย์ รัตนพันธุ์ (ทุ่งสง) / 20. ภานุมาศ สุตระ (ทุ่งสง) / 21. พัชรินทร์ ทีรซาร์ (อุดรธานี)
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor November 2018 แม่มอก ความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ตาบลแม่มอกเป็นที่ลาดเชิงเขา มีแม่น้าแม่มอกและลาห้วยขนาดเล็กไหล ผ่านหลายสาย ส่วนลาน้าที่ไหลไปอีกฝั่งหนึ่งของภูเขาเป็นต้นน้าของแม่น้ายม อีกทั้งยัง มีปุาแม่มอก ถือเป็นปุาสักงามผืนสุดท้ายของลาปาง และเป็นปุาสมุนไพรที่มีความอุดม สมบูรณ์อีกด้วย แม้คนวัยกลางคนและคนรุ่นใหม่เริ่มมีการปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตแบบ เมืองแล้ว แต่ชีวิตของชาวแม่มอกก็ยังมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมพระพุทธศาสนา อยู่ตลอด ผู้สูงอายุในชุมชนจะมีจิตอาสามีความตื่นตัวในการเป็นผู้นาทากิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมักได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมอย่างดีจากคนทุกเพศทุกวัยเสมอจนกลายมา เป็นจุดแข็งด้านต้นทุนทางสังคมของชุมชน กระบวนการหลั่นล้าอีโคโนมี กระบวนการผลิตนักบริบาลผู้สูงอายุ แม่มอกหลั่นล้าอีโคโนมี แบ่งออกเป็น 4 ขั้น ด้วยกัน คือ 1. ผลิตหลักสูตร กลุ่มแม่มอกฯ จะนาทีมวิทยากรในพื้นที่มาพูดคุย ทาความเข้าใจเนื้อหาหลักสูตรกับบุคลากรศูนย์ไอแมค คณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 2. จัดอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุขั้นพื้นฐาน (70 ชั่วโมง) เป็นการฝึก ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน โดยจะเรียนและฝึกปฏิบัติในชุมชนเป็นหลัก 3. จัดอบรมนักบริบาลผู้สูงอายุขั้นสูง (420 ชั่วโมง) เป็นการฝึก ดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อม จนถึง ผู้ปุวยระยะท้าย พร้อมทั้งต้องไปฝึกปฏิบัติงานภาคสนามด้วย 4. จัดการนักบริบาลสู่การปฏิบัติงานจริง หลังจากการอบรม กลุ่ม แม่มอกฯ จะเป็นผู้บริหารจัดการลาดับคิวงาน กาหนดค่าจ้างและ เกณฑ์การจัดสรรรายได้เข้ากองทุน การจ้างงานและรายได้ที่มากขึ้น ปัจจุบัน ตาบลแม่มอกสามารถผลิต Care Giver ได้เองจานวน 65 คน ที่ นอกจากจะทาให้เกิดการจ้างงานและชาวบ้านมีรายได้มากขึ้นแล้ว นักบริบาลก็ยัง ทางานเป็นจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุในชุมชนร่วมด้วย จึงถือเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระรัฐ ในการดูแลผู้สูงอายุอีกทางหนึ่ง ในระยะต่อไป กลุ่มแม่มอกวางแผนเปิดศูนย์บริบาล ผู้สูงอายุ (Day Care) ที่สามารถรองรับผู้สูงอายุจากภายนอกมาพักมารับการดูแล รักษาที่แม่มอก เพื่อให้นักบริบาลแม่มอกที่ไม่สามารถเดินทางไปทางานไกลๆ ได้มีงาน ทา อีสานใหม่กับการพัฒนา พื้นที่สาธารณะ FURD Cities Monitor November 2018 | 6 อุดรธานี อีสานใหม่กับการพัฒนา พื้นที่สาธารณะ เมือง smart ฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือ อุดรธานีเป็นจังหวัดที่มีสภาพภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ใกล้กับนครหลวง เวียงจันทน์ มีท่าอากาศยานนานาชาติที่มีจานวนเที่ยวบินมาก ทาให้อุดรธานี กลายเป็นเมืองนานาชาติของอีสานใหม่ เกิดห้างสรรพสินค้า ศูนย์ประชุม มหาวิทยาลัย ร้านค้าร้านกาแฟมากมาย สะท้อนให้เห็นถึงภาวะเศรษฐกิจที่เติบโต อุดรธานีนั้นสัมพันธ์กับต่างชาติมาตั้งแต่การก่อตั้งเมือง อีกทั้งสวนสาธารณะหนอง ประจักษ์ยังเป็นจุดพักผ่อนที่เป็นดังปอดใหญ่ใจกลางเมือง ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็น ต้นทุนอันดีงามของเมืองอุดรธานีที่ทาให้เป็น 1 ใน 14 จังหวัดนาร่องที่จะเป็นเมือง smart เครือข่ายที่สร้างความเป็นไปได้ใหม่ ๆ กลุ่มมาดีอีสานเป็นหนึ่งในเครือข่าย Ma:D Club for Better Society ที่ เกิดจากความเชื่อที่ว่าทุก ๆ คนมีความคิดดี ๆ อยู่เสมอ ความคิดดี ๆ เหล่านั้น เหมือน จุดที่กระจายอยู่ทั่วในสังคม มาดีอีสานจึงทาหน้าที่เชื่อมโยงจุดเล็ก ๆ ในพื้นที่ภาค อีสานให้มาเจอกันที่นาพาความคิดดี ๆ จากผู้คนในท้องถิ่นอีสานมาเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ สร้างพลังที่ส่งถึงกัน คอยช่วยเหลือเวลาที่จุดบางจุดหมดแรงและเริ่มอะไร บางอย่างจากจุดเล็ก ๆ เพื่อช่วยให้ภาพรวมของสังคมดีขึ้นโดยไม่ต้องรอ การสร้างสรรค์สังคมเพื่อผลประโยชน์อย่างยั่งยืน เมื่อเกิดพื้นที่ริเริ่มสร้างสรรค์ร่วมกันของคนในอุดรธานีแล้ว ส่งผลให้มีการ เชื่อมโยงและประสานความร่วมมือระหว่างผู้คนและองค์กรในท้องถิ่นที่มีความตั้งใจจะ ร่วมคิดและลงมือทาอย่างเกื้อกูลกันและกัน เกิดการขับเคลื่อนและสนับสนุนเยาวชน ในท้องถิ่นด้านการพัฒนาทักษะในการสร้างสรรค์สังคมร่วมกัน เช่น เสวนากิจการเพื่อ สังคมที่เกิดจากการรวมตัวของผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในท้องถิ่น กิจกรรมวิ่งด้วยกัน โครงการตลาดนัดแนะแนว แนะแนวอาชีพ สร้างแรงบันดาลใจ พื้นที่สาหรับ work- shop และ co-working space เป็นต้น เรื่องสาธารณะสาหรับทุกคน “UDON 2029” จึงเป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากความที่อยากให้เรื่องการ พัฒนาเมืองอุดรธานีเป็นเรื่องสาธารณะ มากกว่าการที่มีไว้เฉพาะคนใดคนหนึ่งหรือ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง พื้นที่สาธารณะที่เป็นพื้นที่สาหรับคนทุกคนทั้งในเชิงกายภาพและ เชิงระบบความสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมที่สร้างสรรค์รูปแบบการใช้ชีวิตที่ดีต่อ สุขภาพทั้งทางกายและจิตโดยสัมพันธ์กันกับการใช้พื้นที่สาธารณะของสังคม ผ่าน แนวคิด Smart Growth ซึ่งเป็นแนวคิดการจัดการเมืองเพื่อรองรับการเติบโตของ เมืองอย่างชาญฉลาด
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor November 2018 ราชธานีที่ยิ่งใหญ่ในอดีต อยุธยาเป็นเมืองที่ยิ่งใหญ่ในอดีต เคยเป็นราชธานีกว่า 417 ปี ในปี 2534 Unesco ประกาศให้อยุธยาเป็นเมืองมรดกโลก อยุธยาในขณะนี้เริ่มมีคน รุ่นใหม่เข้ามาทางานพัฒนาเมืองมากขึ้น เช่น กลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (YEC) การรวมตัวของลูกหลานกลุ่มหอการค้าที่มีจิตวิญญาณรักเมืองอยุธยา มีการ รวมตัวของกลุ่มกาแฟในนาม ABC มีการคั่วเมล็ดกาแฟเอง นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม คนรุ่นใหม่ที่กลับบ้านมาทาธุรกิจ ทาให้ธุรกิจใหม่ ๆ เกิดขึ้นกว่า 55 เปอร์เซ็นต์ อยุธยา VS เกียวโต หากลองเทียบอยุธยากับเกียวโต ในฐานะเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม พบว่าวัดที่อยุธยามี 30 กว่าแห่ง เกียวโตมีประมาณ 39 แห่ง จานวน นักท่องเที่ยวในอยุธยามี 6.7 ล้านคนต่อปี ในขณะจานวนนักท่องเที่ยวเกียวโตมี 55 ล้านคนต่อปี อยุธยาโรงแรมมี 140 แห่ง เกียวโตมีกว่า 800 แห่ง หากลงใส่ hashtag ใน Instagram อยุธยามีภาพเพียง 5 แสนภาพ ในขณะที่เกียวโตมีคน แชร์ภาพกว่า 11 ล้านภาพ สิ่งที่น่าสนใจคือ ภาพของอยุธยาจะมีเพียงภาพของ วัดเดิม ๆ ต่างจากเกียวโตที่มีภาพหลากหลายทั้งต้นไม้ธรรมชาติ อาหาร ชุดแต่ง กายประจาชาติ อยุธยาที่แตกต่างจากเดิม สิ่งที่กลุ่ม YEC พยายามทา คือ เพิ่มมุมใหม่ ๆ ให้อยุธยามากขึ้น แนะนาสถานที่หรือเรื่องราวใหม่ ๆ เช่น ฟาร์มเมลอนขนาดใหญ่ เพราะอยุธยามี ต้นทุนการทาเกษตรกรรมที่ดี แนะนาด้านวัฒนธรรม อยุธยามีความหลากหลาย ชาติพันธุ์ตั้งแต่อดีต จึงมีหมู่บ้านต่างชาติ เช่น หมู่บ้านญี่ปุุน หมู่บ้านโปรตุเกส หมู่บ้านฮอลันดา นอกจากนี้ยังพยายามนาเสนอเรื่องราวของธรรมชาติและ วัฒนธรรมด้านอาหารการกินให้มากขึ้น ในอนาคตมีความคาดหวังอยากทาให้ อยุธยากลายเป็น 1 ใน 10 เมืองที่มีการท่องเที่ยวที่ดีที่สุดในโลก ให้ นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ให้เมืองอยุธยาเป็นจุดมุ่งหมายนักท่องเที่ยว อีกครั้งหนึ่ง โดยจะนาเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ ๆ มาปรับใช้กับโบราณสถาน ที่ จะเชื่อมโยงคนในยุคดิจิตอลกับประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีแผนจะสร้าง มัคคุเทศก์รุ่นจิ๋วขึ้นมา เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้เข้าใจประวัติศาสตร์และสืบสาน วัฒนธรรม รักบ้านเมือง หารายได้และช่วยให้ชุมชนได้ประโยชน์ด้วย FURD Cities Monitor November 2018 | 8 สมุทรปราการ พลิกโฉมสู่มหานคร แห่งการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ ภูมิรัฐศาสตร์ที่ดี สมุทรปราการมีภูมิรัฐศาสตร์ที่ดีมาก อยู่ระหว่างกรุงเทพ พัทยา และศรีราชา เป็น เมืองปริมณฑลที่มีชายฝั่งทะเลยาวกว่า 46 กิโลเมตร ด้วยเป็นเมืองอุตสาหกรรมและใกล้ กรุงเทพทาให้สมุทรปราการมีคนพื้นถิ่นน้อยกว่าคนนอกที่เข้ามาอาศัยอยู่ ผู้คนที่นี่จึงมาจาก หลายแห่งผสมผสานทั่วประเทศ และประชากรเพิ่มขึ้นตลอด ไม่ค่อยลด ปัจจุบันภาวะที่ เกิดขึ้นคือโรงงานก็ย้ายออกไปพอสมควรแล้ว เนื่องจากที่ดินแพง 5 Mega Project พลิกโฉมสมุทรปราการ สมุทรปราการในฐานะเมืองที่ได้รับขยายตัวจากกรุงเทพ มีการลงทุนและเต็มไปด้วย โครงสร้างพื้นฐานมากมายสมุทรปราการมีศักยภาพมาก องค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาลนคร สมุทรปราการ อบจ. เทศบาลตาบลพระสมุทรเจดีย์ จึงมีแผนพลิกโฉมสมุทรปราการสู่มหา นครแห่งการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจด้วย 5 Mega Project 1. อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ ที่มีความสูง 179 เมตร แลนด์มาร์คแห่งใหม่ใจกลางเมืองสมุทรปราการ จากเรือนจาเก่า สู่ศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์แห่งใหม่ ให้ผู้คนสามารถชื่นชม ความงดงามของคุ้มน้าเจ้าพระยาได้ 360 องศา อยู่ห่างรถไฟฟูาสายสี เขียว 300 เมตรเท่านั้น 2. ตลาดเชิงท่องเที่ยว : ศูนย์กลางจาหน่ายผลผลิตทางการประมง ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน ตลาดรองรับนักท่องเที่ยว ขณะนี้ดาเนินการ ไปประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์แล้ว 3. กระเช้าลอยฟ้าข้ามแม่น้าเจ้าพระยา ที่มีความปลอดภัย รับชมวิว ส่งเสริมคมนาคมและไร้มลพิษ เชื่อมต่อการท่องเที่ยวธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของสองฝั่งได้คือคนฝั่งพระสมุทรเจดีย์และ คนอาเภอเมือง จะทาให้เวลาข้ามฝั่งเหลือเพียง 5 นาทีเท่านั้น ขณะนี้อยู่ ในระหว่างการออกแบบ 4. ศูนย์แสดงสินค้าและจัดนิทรรศการ ตั้งอยู่บนถนนปูุเจ้าสมิงพราย ศูนย์รวบรวมทั้งอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ เครื่องหนัง อุตสาหกรรม การเกษตร ไว้แห่งเดียว 5. รถไฟฟ้าโมโนเรล พลิกโฉมการเดินทาง ส่งเสริมขนส่งสาธารณะ เชื่อมโยงรถไฟฟูาสายสีเขียวไปยังสนามบินสุวรรณภูมิ ความยาว 33 กิโลเมตร โดยใช้งบประมาณจาก อบจ. และการกู้เงิน ซึ่งหากทาสาเร็จ จะช่วยเรื่องการเดินทางและการท่องเที่ยวดีมาก การปลูกฝังให้คนรักเมือง ด้วยความหลากหลายที่มาจากต่างถิ่น ทาให้คนสมุทรปราการไม่ค่อยภูมิใจใน เมืองนัก มองว่าเป็นเมืองของตัวเองที่แต่มลพิษ ที่ผ่านมาท้องถิ่นพยายามเปลี่ยนทัศนคติคน ในเมือง แต่ไม่ใช่เรื่องที่ไม่ง่ายนัก และประเด็นสาคัญอีกอย่าง คือ เมืองนี้มีกลุ่มผลประโยชน์ มากมาย หลายครั้งกลุ่มท้องถิ่นไม่ใช่กลุ่มเดียวกับการเมืองระดับชาติ มีความคิดเห็นขัดแย้ง กัน คาดหวังว่าในอนาคต การทาเพื่อเมืองสมุทรปราการ จะช่วยทาให้ผู้บริหารเมืองหลาย หน่วยงาน สามารถเป็นหนึ่งเดียวกันได้
  • 7. 9 | FURD Cities Monitor November 2018 วงเวียนใหญ่ เวนิสย่านฝั่งธนฯ ในอนาคต แหล่งพหุวัฒนธรรมกลางกรุง ย่านวงเวียนใหญ่ถือเป็นย่านเมืองเก่าซึ่งประกอบไปด้วยพหุชาติพันธุ์ที่ได้ ย้ายถิ่นฐานมาเมื่อครั้งเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 ทั้งพุทธ คริสต์ อิสลาม ทาให้เกิดความ หลากหลายทางวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังมีสถานที่ที่น่าสนใจของย่านนี้ที่หาไม่ได้ใน ฝั่งพระนคร โดยเฉพาะของดีในอดีตที่ยังคงสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน นับเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวที่ยากจะหาย่านใดเสมอเหมือน เช่น ตลาดเจริญรัถแหล่งจาหน่ายเครื่อง หนังและอุปกรณ์สาหรับเครื่องหนังขนาดใหญ่ ร้านรับซื้อเศษทอง เงิน นากและ ร้านเครื่องประดับทามือ รวมถึงร้านอาหารต่างๆ มากมาย ในด้านการคมนาคมมี ระบบขนส่งสาธารณะหลายประเภทที่เชื่อมพื้นที่ใกล้เคียงไว้ด้วยกัน เมืองเก่าที่ถูกละเลย ถือได้ว่าวงเวียนใหญ่เป็นย่านเศรษฐกิจที่มีความสาคัญอีกย่านหนึ่งของฝั่ง ธนบุรี เพราะมีการก่อสร้างสถานีรถไฟฟูา อสังหาริมทรัพย์และห้างสรรพสินค้า จานวนมาก ส่งเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่วงเวียนใหญ่ให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะถูกพัฒนาให้เป็น ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าและมวลชน ในทางตรงกันข้าม ย่านวงเวียนใหญ่เป็น เมืองเก่าที่ถูกละเลยมานาน และ/หรือ มีการพัฒนาที่ยังไม่มากพอ ไม่เหมาะสมที่จะ รองรับความเจริญที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ เนื่องจากยังคงมีสิ่งที่ควร ปรับปรุงคู่ขนานกันไปกับการพัฒนาทางวัตถุเพื่อประโยชน์ต่อประชาชน ชุมชนใน พื้นที่อย่างยั่งยืน เวนิสในอนาคต ในการพัฒนาวงเวียนใหญ่อย่างยั่งยืนนั้น เนื่องจากย่านวงเวียนใหญ่มี อาคารพาณิชย์เก่าทิ้งร้างอยู่จานวนมาก อนาคตข้างหน้าจะถูกนามาปรับปรุงสภาพ เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ โดยอาจทาเป็นที่อยู่อาศัย โรงแรม หรือตลาด ซึ่งจะมีส่วน ช่วยในการลดแหล่งมั่วสุมเสพยาเสพติดและสิ่งผิดกฎหมายและปรับทัศนียภาพของ เมืองให้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีแผนการปรับสภาพคูคลองเพื่อใช้สาหรับขนส่ง สาธารณะทางน้า โดยมีเวนิสเป็นต้นแบบเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ท้องถิ่น เกิดการจ้างงาน ส่งเสริมรายได้ให้ชุมชน และยังช่วยในเรื่องของการรักษา สิ่งแวดล้อมอีกด้วย FURD Cities Monitor November 2018 | 10 ปราจีนบุรี ลุ่มน้ำแห่งควำมสุข ริบบิ้นหล่อเลี้ยงชีวิต แม้ว่าปัจจุบันปราจีนบุรี จะเป็นเมืองอุตสาหกรรม มีการค้าการลงทุน อย่างไรก็ตาม ต้นทุนดั้งเดิมของปราจีนบุรีมีต้นทุนทางภูมิศาสตร์และการทา เกษตรกรรมที่ดี แม้ในอาเภอเมืองก็มีกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชหลายอย่างจานวน มาก เพราะปราจีนบุรีมีดินที่อุดมสมบูรณ์ คือ กลุ่มดินนา เหมาะสมกับการปลูก ข้าวและไม้ผล กลุ่มดินไร่ ที่มีความอุดมสมบูรณ์น้อยกว่าดินนา เหมาะสมกับการ ปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด มันสาปะหลัง และพืชไร่อื่น จากลักษณะดินดังกล่าวจึงมี ความเหมาะสมกับการทานา ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นและพืชไร่ มีพื้นที่ปุาส่วนใหญ่ เป็นปุาดิบปุาแดงและปุาเบญจพรรณ มีไม้ไผ่ที่สามารถนามาทาหัตถกรรมเป็น สินค้าส่งออกทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไม้ยูคาลิปตัส ไม้เศรษฐกิจที่สาคัญที่ นามาเป็นวัตถุดิบสาหรับผลิตเยื่อกระดาษ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแม่น้าสาคัญคือ แม่น้าบางปะกง อาเภอบ้านสร้างอยู่ราบลุ่มน้าบางประกง ลักษณะแม่น้ามีลักษณะคด เคี้ยวเหมือนริบบิ้น ชุมชนพึ่งพาสายน้ามาตั้งแต่อดีต ทาให้กลายเป็นแหล่งทอเสื่อ เนื่องจากมีต้นกก และชุมชนมีลักษณะเป็นพหุวัฒนธรรมไทยและจีน ส่วนใหญ่ยัง มีวิถีชีวิตดั้งเดิมอยู่มาก ยังคงรวมตัวกันจัดประเพณีตามเทศกาล เช่น งานจุลกฐิน ที่หาพบได้ยากมากแล้ว คือประเพณีเล็กๆ ที่จะทาให้เสร็จภายในวันเดียว เริ่ม ตั้งแต่ย้อมผ้า เย็บกฐิน ใครมีจักรมีด้ายก็นามาจากบ้านมาลงแขกกัน หากเรา สามารถชูคุณค่าและชี้ให้เห็นจิตวิญญาณของเมือง นอกจากนี้ ยังมีสถาปัตยกรรม โดยธรรมชาติ คือแม่น้าบ้านปะกง ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มรดกเมืองโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โครงการรวบรวมมรดกเมืองเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและสังคมยั่งยืน ที่ สารวจและเก็บข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐาน การผลิต และสถาปัตยกรรมท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการชุมชน ดึงให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ทาให้ชุมชนรู้สึกรักและเป็นเจ้าของเมือง และเกิดเป็นพลังการพัฒนาเมืองที่ ยิ่งใหญ่กว่าการดาเนินการโดยราชการ ส่งผลให้ธรรมชาติกับชุมชนสามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างสมดุลและยั่งยืน
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor November 2018 ระนอง แหล่งแร่นองของภาคใต้ ระนองมาจาก คาว่า แร่นอง เพราะในอดีตมีการทาเหมืองแร่ดีบุกมาก และ การเป็นเมืองท่าค้าขาย ระนองมีถนนเพชรเกษมตัดผ่านระนองเพื่อไปภาคใต้ อันที่ จริงเมืองระนองควรจะเป็นเมืองทางผ่านเมื่อไปภาคใต้ แต่ผู้คนมักนิยมไปเส้นทาง ผ่านสุราษฎร์ธานีมากกว่า ระนองจึงเป็นเมืองที่ต้องตั้งใจมาถึงมาได้ คนทั่วไป อาจจะรู้จักระนองในฐานะเมืองที่มีธรรมชาติสวย แต่ระนองเป็นเมืองเก่า มี โบราณสถานหลากหลายแห่ง รวมทั้งพระราชวังสมัยรัชกาลที่ 5-7 สะท้อนให้เห็น ถึงความเจริญรุ่งเรือง อีกทั้งบริเวณโดยรอบอาคารศาลากลางระนองหลังเดิม ยังมี ชุมชนเมืองเก่าระนอง นอกจากนี้ระนองเป็นเมืองมีความหลากหลายของ วัฒนธรรมชาติพันธ์ต่าง ๆ (ไทย จีน พม่า แขก) ประวัติศาสตร์เมืองเชื่อมกับประวัติศาสตร์โลก ปัจจุบัน การท่องเที่ยวของระนองถูกคนโปรโมทในเรื่องเมืองธรรมชาติ ทะเลสวย ปุาชายเลน เมืองแห่งน้าแร่ แต่ยังขาดการส่งเสริมในมิติทาง ประวัติศาสตร์ เรื่องเมืองเก่า ซึ่งทุนด้านต่าง ๆ ระนองไม่ได้มีแต่ธรรมชาติ แต่ทุน วัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ที่ผ่านมากลุ่มคนรักประวัติศาสตร์ระนองพยายามจะ เชื่อมโยงประวัติศาสตร์เมืองและประวัติศาสตร์โลกเข้าด้วยกัน และยิ่งค้นพบว่า ระนองเป็นเมือง 4 แบบ คือ 1.เมืองคอคอดกระ ช่องแคบของแหลมมลายู เคยเป็น เส้นทางการค้าโลกตั้งแต่อดีต 2.เมืองดีบุก ตอนตั้งเมืองมีคนจีนมาทาเหมืองแร่ดีบุก และเป็นคนจีนที่กลายเป็นเจ้าเมืองระนอง 3.เมืองชายแดน ด้วยเหตุนี้ทาให้ ร.4 จึงไม่ยกระนองให้ขึ้นกับชุมพร เพราะเห็นศักยภาพ 4.เมืองเสด็จประทับแรม เป็น เมืองที่มีพระราชวังแห่งเดียวของภาคใต้ มุ่งฟื้นฟูเมืองเก่าระนอง ในอนาคตสิ่งที่เมืองระนองอยากจะพัฒนา คือ การดึงประวัติศาสตร์ความ เมืองเก่าให้โดดเด่นขึ้นมา มีแผนสาคัญคือการอนุรักษ์และพัฒนาอาคารศาลากลาง จังหวัดหลังเดิมเป็นอาคารเชิงอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์ของเมืองระนองเพื่อเป็นแหล่ง เรียนรู้ พัฒนาชุมชนเมืองเก่าระนอง เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวโดยรอบกับย่านเมือง เก่า ถือได้ว่าบริหารจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดรายได้ในโอกาสต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าจะช่วยให้เกิดการแนวคิดอนุรักษ์มากขึ้นในชุมชน ประชาชนในท้องถิ่นเกิดความ ภาคภูมิใจในตัวเอง คนในเมืองรักเมืองของตนมากขึ้น สร้างความสุขให้คนระนอง และผู้มาเยือนให้มากขึ้น การพัฒนา บนฐานประวัติศาสตร์เมือง FURD Cities Monitor November 2018 | 12 ทุ่งสง กึ่งกลางของภาคใต้ ทุ่งสง มีทาเลที่ตั้งเป็นเลิศอยู่กึ่งกลางระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทย และกึ่งกลางของภาคใต้ ด้วยภูมิศาสตร์ที่อยู่ใกล้เทือกเขานครศรีธรรมราชอันเป็น แหล่งต้นน้า จึงมีลาน้าหลายสาขาไหลผ่านเมือง ในอดีตผู้คนจึงอาศัยการสัญจร ทางน้าเป็นหลักจนกลายเป็นศูนย์กลางการขนถ่ายสินค้าส่งออกทางทะเล ความสาคัญของการมีส่วนร่วมของเครือข่าย เทศบาลเมืองทุ่งสงให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของเครือข่ายทุก ภาคส่วนเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน เครือข่ายเหล่านั้นต่างก็ให้ความร่วมมือกับ เทศบาลเป็นอย่างดี จนเกิดเป็นกระบวนการดังนี้ ร่วมคิด การระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ เพื่อ รวบรวมข้อมูลและวางแผนร่วมกับภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน สภาอุตสาหกรรมฯ สื่อมวลชน และประชาสังคม อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ร่วมทา ตั้งแต่ปี 2552 มีหลายภาคส่วนเข้ามาช่วยกันทาช่วยกัน สนับสนุนโครงการ จนเกิดเป็นเครือข่ายทางานประสานกัน ร่วมงบประมาณ แม้เทศบาลเมืองทุ่งสงจะไม่สามารถขอรับการ สนับสนุนงบประมาณได้โดยตรง แต่ก็มีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วย สนับสนุนงบประมาณ ตั้งแต่ธนาคาร ADB ที่เข้ามาศึกษาก่อนโครงการจะ ดาเนินก่อสร้าง ไปจนถึงสานักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง อ่าวไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ที่ให้ การสนับสนุนงบประมาณการก่อสร้างมาอย่างต่อเนื่อง จนถือได้ว่ารัฐบาล กลางเป็นผู้สนับสนุนโครงการนี้เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ จากรางเก่าสู่การเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้า เทศบาลเมืองทุ่งสงเป็นท้องถิ่นแรกที่มีความคิดริเริ่มฟื้นฟูระบบรางใน อดีตแล้วพัฒนาให้เป็นศูนย์กระจายสินค้า สามารถทาดึงศักยภาพท้องถิ่นจากการ เป็น “เมืองชุมทาง” ออกมา ทาให้เกิดระบบขนส่งสินค้าหลักที่มีประสิทธิภาพ ลด ต้นทุน กระตุ้นเศรษฐกิจ เรียกได้ว่าเป็นการเปลี่ยนบทบาทจาก “ช่างปะผุ” เป็น “ผู้จัดการเมือง” ได้อย่างแท้จริง โครงการทุนทางวัฒนธรรมเมืองทุ่งสง ซึ่งมี อ.ธนภณ วัฒนกุล เป็นที่ปรึกษาโครงการ เป็นโครงการสารวจและกาหนดพื้นที่นา ร่องในการปรับปรุงภูมิทัศน์อาคารเก่า เน้นไปที่กายภาพเป็นหลัก เช่น สยามกัมมาจล ชุมชนบ้านพักรถไฟ เมืองชุมทาง ศูนย์กลางกระจายสินค้าของภาคใต้
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor November 2018 ตรัง พื้นที่ที่สามสาหรับทุกคน แหล่งรวมตัวของคนรุ่นใหม่ นครตรังเป็นพื้นที่หนึ่งที่ประกอบด้วยกลุ่มคนรุ่นใหม่จานวนไม่น้อย เนื่องจากจังหวัดตรังเป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมมากกว่า 20 แห่งทั้ง โรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษา พื้นที่สาธารณะจึงเป็นพื้นที่หนึ่งที่กลุ่มคนรุ่นใหม่จะ เข้าไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่เป็น นักเรียน นักศึกษา หรือวัยแรงงานตอนต้นไปจนถึงวัยแรงงานตอนกลาง มักเลือกใช้ ร้านกาแฟหรือ co-working space ในการทางานและพบปะสังสรรค์ Trang Hackathon Project พื้นที่ในเขตเทศบาลนครตรังมีศักยภาพที่จะผลักดันการมีส่วนร่วม โดยเฉพาะประเด็นทางสังคม รวมถึงเชื่อมภาครัฐ กลุ่มทางสังคม ผู้ประกอบการ เอกชน และภาควิชาการได้ จึงได้เกิดเป็นโครงการ “Trang Hackathon” เพื่อฝึก การคิดอย่างผู้ประกอบการเพื่อสังคมและสร้างสรรค์นวัตกรรมที่จะช่วยตอบโจทย์ ความท้าทายของการพัฒนาท้องถิ่นตรัง ดาเนินการโดยกลุ่ม Intermigle in Trang, Kid+dee RUTS และ The Tree Sleep | Space โครงการนี้จะเป็น โครงการที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนตรังในการขยายผลกิจกรรมเพื่อการพัฒนา ตรังอย่างยั่งยืน สร้างฐานเศรษฐกิจของจังหวัด เกิดการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมกับชุมชนและพื้นที่ จุดประกายความคิดคนเมืองตรัง จากโครงการ “Trang Hackathon” นี้ ทาให้คนตรังเกิดความตื่นตัวใน การที่จะพัฒนาพื้นที่ที่สามอันจะเกิดจากการใช้ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนใน พื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะกับจุดประสงค์ เข้าใจเปูาหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนมากขึ้น เรียนรู้เครื่องมือและกระบวนการคิดเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมทาง สังคม ซึ่งเป็นโอกาสที่จะได้พบปะและทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านการ ประกอบการเพื่อสังคม รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายของคนท้องถิ่นที่อยากมีส่วน ร่วมในการพัฒนาจังหวัดตรัง คนตรังช่วยคนตรังสร้างเมือง โดยในอนาคตจะมีการเปิดพื้นที่ “Kid + dee” เป็นพื้นที่สาหรับคน ทั่วไปในจังหวัดตรังที่ต้องการพัฒนาตนเองและองค์กร เสริมสร้างความมั่นคงทาง สังคม รวมไปถึงคุณภาพชีวิตและการศึกษาเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เพื่อกระจายรายได้ให้กับคนในชุมชนได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง ทุกคนในเมืองตรังสามารถมีส่วนช่วยขับเคลื่อนเมืองตรังให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่าง มั่นคง ดังคากล่าวที่ว่า “คนตรังช่วยคนตรังสร้างเมือง” FURD Cities Monitor November 2018 | 14 แหล่งรวมของดีปัตตานี สายบุรีเป็นอาเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ในอดีตเคยเป็นจังหวัดสายบุรี สายบุรีเป็นเมืองน้า มีแม่น้าคั่นกลางระหว่างเมือง มีต้นทุนทางวัฒนธรรม หลากหลาย เป็นเมืองท่า มีบ้านและอาคารเก่า วัฒนธรรมโดดเด่น มีคนจีน มลายู คนไทยพุทธ มีชุมชนปากีสถาน อินเดีย มีทุนทางเศรษฐกิจ ของเด่นของปัตตานี ล้วนมาจากสายบุรี เช่น บูดู อาหารแห้ง หัตถกรรมต่าง ๆ สายบุรีมีทุนมนุษย์ที่ดี มี นักปราชญ์ นักเคลื่อนไหว นักเขียน มากมาย พื้นที่สร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ ที่ผ่านมาสายบุรีเกิดกลุ่มสายบุรี ลูกเกอร์ กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่รักเมือง ทางาน ในพื้นที่ ช่วงแรกพยายามให้ผู้คนได้รู้จักตัวตน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น รากเหง้า วัฒนธรรมของความเป็นสายบุรี เพื่อให้คนได้เริ่มพูดคุยกันหลังจากเกิดเหตุความไม่ สงบมานาน จวบจนปัจจุบันสิ่งที่ สายบุรี ลูกเกอร์ ทามากขึ้น คือ พยายามสร้าง พื้นที่สร้างสรรค์ให้กับกลุ่มเด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มาทากิจกรรมร่วมกัน จึงมีการจัด งานหลายกิจกรรม เช่น Melody of Saiburi จัดงานคราฟท์ในชื่อ งาน Hope จัด แข่งขัน Street Soccer ใช้กีฬาเป็นจุดเชื่อมระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ จัดทา อะคาเดมีให้เด็กอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เด็กได้รู้สึกมีพื้นที่ของตัวเองและทากิจกรรมได้ อย่างปลอดภัยและมีอิสระมากขึ้น Saiburi City Café สายบุรีไม่ได้คาดหวังให้เป็นเมืองท่องเที่ยว แต่คงไม่สามารถต้านกระแสได้ มีคนนอกสนใจสายบุรีจานวนมาก ซึ่งต้องมาพร้อมกับการลงทุน ที่จะสร้างปัญหา มากมาย เมืองควรจะมีการตั้งรับ ทาให้กลุ่มสายบุรี ลูกเกอร์ ที่เคยเป็นกลุ่มเล็ก ๆ คิดการใหญ่ชวนกลุ่มลูกจีน กลุ่มมุสลิม กลุ่มเยาวชน จดทะเบียนเป็น “สมาคมผู้ เฝ้ามองแห่งเมือง เพื่อสร้างสรรค์สังคม” เพื่อขับเคลื่อน ตั้งรับ วางเปูาหมายเมือง ในมิติต่าง ๆ ร่วมกัน ในอนาคตสมาคมคนสายบุรี ต้องการสร้างพื้นที่ (Space) ที่ จะเป็นร้านกาแฟ เป็นคลับ ที่รวบรวมองค์ความรู้ต่าง ๆ ทุกด้าน ในวิถีความเป็น สายบุรี เน้นอาหารท้องถิ่น เป็นศูนย์กระจายสินค้า โดยจะใช้บ้านเก่าในชุมชนจีน สร้างพื้นที่ดังกล่าว ที่คนในเมืองและคนนอกก็ได้ประโยชน์เข้ามาเรียนรู้ อีกทั้งยัง เป็นพื้นที่กลางให้คนทางานเรื่องเมืองได้มีพื้นที่แลกเปลี่ยน พูดคุย เรียกได้ว่าเป็น คลับของทุกเรื่องราวในสายบุรี เมืองแห่งพื้นที่สร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่
  • 10. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัถนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาชจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดจา บุชค้า ชุดหนังสือเมือง เอนกทรรศน์ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เศรษฐศาสตร์บนทางสายกลาง ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัถน์ หนังสือออกใหม่ สั่งฉือได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราจการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เมือง กิน คน ปศ.ดร. พิจช์ พงษ์สวัสดิ์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 11. ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864