SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 ตุลาคม 2560
สู่เมืองสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี
เรามีทางเลือกแค่ไหน?
เข้าใจเมือง ผ่านหนังสือ
i | FURD Cities Monitor October 2017
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ออกแบบและรูปเล่ม
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ภาพปก
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ภาพในเล่ม
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
http://www.freepik.com
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนน
ลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร 10900
FURD Cities Monitor April 2017 | ii
สวัสดีเดือนตุลาคม เดือนแห่งวันครบรอบการสวรรคตและเดือนแห่งงานพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอันเป็นที่รักและเทิดทูนยิ่งของชาวไทย ศูนย์ศึกษามหานคร
และเมืองขอแสดงความอาลัยและน้อมสานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้
แม้จะอยู่ในโมงยามแห่งความโศกเศร้า แต่ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองก็ยังขอมุ่งมั่นที่จะทาหน้าที่เผยแพร่
ความรู้และขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาเมืองของไทยอย่างไม่หยุดยั้ง โดย FURD CITIES MONITOR ฉบับนี้จะขอ
นาเสนอเรื่องสุขภาวะเมืองหรือ Urban Health ทั้งในด้านแนวคิด และกรณีศึกษาเรื่องสุขภาวะด้านอาหารการกิน
ของคนไทย นอกจากนั้น ความพิเศษของวาสารประจาเดือนนี้ยังอยู่ที่การแนะนาหนังสือ เมือง กิน คน ที่เขียนโดย
ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ซึ่งได้ให้แง่มุมทั้งเรื่องปัญหาและแนวทางการพัฒนาเมืองไว้อย่างทันสมัยและน่าสนใจ
ขอให้ผู้อ่านโปรดติดตาม
บรรณาธิการ
เข้าใจเมือง ผ่านหนังสือ
อาหารคนเมือง
1 | FURD Cities Monitor October 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | 2
คนเมืองทุกแห่งหนต่างปรารถนาให้เมืองมีสุข
ภาวะที่ดี ปลอดโรค ปลอดภัย หวังให้ผู้ปกครอง
เมืองไม่ทาอะไรที่กระทบรบกวนการใช้ชีวิต แต่
ก็ไม่ถึงกับละเลยเพิกเฉยต่อปัญหา หวังให้คน
ทุกคนได้รับสิทธิและผลประโยชน์อย่างเท่าเทียม
และรอบด้านเท่าที่พลเมืองของเมืองพึงได้
ฉะนั้น การบริหารจัดการหรือการออกนโยบาย
เมืองแต่ละทีจึงต้องคานึงถึง ‘คนเมือง’ เป็นที่ตั้ง
ผู้ปกครองต้องเข้าใจระบบเมือง เข้าใจสาเหตุ
และผลกระทบที่เป็นไปได้ว่าจะเกิดขึ้นในทุก
หย่อมหญ้า ไม่ควรพิจารณาผลกระทบแบบแยก
ส่วน เพราะการเข้าใจเมืองเพียงเสี้ยวเดียวนั้น
แคบเกินกว่าที่จะนาไปสร้างเป็นนโยบายการ
พัฒนาเมืองระยะยาวได้
คาถามคือ แนวคิดอะไรที่จะช่วยให้
ผู้ปกครองหรือผู้กาหนดนโยบายเมืองมองเห็น
ปัญหาอย่างลึกซึ้งและรอบด้าน คาตอบหนึ่งที่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองเลือกนามาเผยแพร่
คือ การใช้วิธีการเชิงระบบ (Systems Approach)
ที่พัฒนาขึ้นโดยสภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ
(International Council of Science: ICSU)
ศาสตร์เชิงระบบช่วยทาให้เราเข้าใจความสัมพันธ์
และความเป็นไปของสิ่งต่างๆ ในระบบที่ซับซ้อน
ซึ่งไม่สามารถเข้าใจได้ด้วยการมองแบบแยกส่วน
เพราะทุกสิ่งในระบบต่างส่งผลกระทบซึ่งกันและ
กัน อีกทั้งยังส่งผลแตกต่างกันไปตามบริบทของ
คน เวลาและสถานที่ ฉะนั้น หากเราจะขับเคลื่อน
เมืองไปสู่สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี เราก็ต้อง
เชื่อมโยงองค์ประกอบของเมืองทั้งด้านสังคม
วัฒนธรรม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และชีวกายภาพ
ในตัวมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมให้ได้ก่อน
3 | FURD Cities Monitor October 2017
มองเมืองอย่างมีระบบ
ในการพัฒนาเมืองสู่เมืองสุขภาวะ เราควร
เริ่มจากการใช้วิธีการเชิงระบบมาวิเคราะห์ภาพรวม
ของเมือง เนื่องจากภายใต้ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน เรา
ต้องเข้าใจว่าสิ่งต่างๆ ในระบบสามารถก่อให้เกิดผล
อะไรตามมาได้บ้าง พร้อมทั้งต้องอาศัยความเชื่อมโยง
ระหว่างสาขาวิชาต่างๆ เพื่อชี้ให้เห็นถึงรูปแบบของ
การเกิดปัญหา ค้นหาว่าอะไรที่ส่งเสริมให้เกิดหรือ
ขัดขวางไม่ให้เกิดสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคน
เมือง และเราจะแก้ไขที่จุดนั้นได้อย่างไร ซึ่งเราเรียก
จุดนั้นว่า “ต้นตอของเหตุ (Causes of the Causes)”
ทั้งนี้ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบต่างๆ ในเมือง นอกจากต้องมองให้
ครอบคลุมทั้งระบบแล้ว เราจะต้องมีหลักฐานทาง
วิชาการมารองรับยืนยันความสัมพันธ์นั้นเสมอ มิ
เช่นนั้น นโยบายอาจส่งผลต่อเมืองไม่เหมือนที่เรา
วิเคราะห์ไว้ อย่างไรก็ตาม นโยบายเมืองจะเป็น
นโยบายที่ดีได้ ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากผู้กาหนด
นโยบายและคนเมืองมาช่วยกันคิดอย่างเป็นระบบ
เพื่อกระตุ้นให้เขาฉุกคิดว่า นโยบายที่แทรกแซงแค่
บางส่วนของระบบที่ซับซ้อนนั้น อาจก่อให้เกิด
ผลกระทบที่ไม่คาดคิดตามมาได้
ทาความเข้าใจเมืองด้วยแผนภาพ
แผนภาพแสดงอิทธิพล (Influence Diagrams)
เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการพิจารณาความสัมพันธ์ อัน
ประกอบด้วยกลุ่มข้อความที่แสดงถึงองค์ประกอบ
ภายในเมือง และลูกศรที่แสดงถึงการเชื่อมโยงของ
สาเหตุและผลกระทบ ในที่นี้จะแสดงตัวอย่างขั้นตอน
การเขียนภายใต้โจทย์ว่า หากผู้ปกครองเมืองมุ่งใช้
นโยบายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนแล้ว จะนาไปสู่การ
สร้างสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีให้คนเมืองได้อย่างไร
ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกองค์ประกอบที่เราสนใจ
(Focus Variable)
หรือประเด็นที่เราสนใจ ในที่นี้ เราสนใจ
องค์ประกอบ ‘ความมุ่งมั่นในการพัฒนาเมือง
อย่างยั่งยืน’
ความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
FURD Cities Monitor April 2017 | 4
ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มองค์ประกอบที่ส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบที่
เราสนใจ โดยพยายามใส่องค์ประกอบให้น้อยที่สุดและใส่เฉพาะตัว
แปรที่สาคัญจริงๆ ในที่นี้ องค์ประกอบที่ส่งผลให้เกิดการพัฒนาเมือง
อย่างยั่งยืน คือ ‘ขนาดของประชากร’ และ ‘ความเข้าใจถึงปัจจัย
แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี’
ความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
ความเข้าใจถึงปัจจัยแวดล้อม
ที่มีผลต่อสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี
ขนาดของประชากร
เลือกองค์ประกอบที่เราสนใจ
Focus Variable) ที่มีบทบาทสาคัญต่อปัญหา
หรือประเด็นที่เราสนใจ ในที่นี้ เราสนใจ
องค์ประกอบ ‘ความมุ่งมั่นในการพัฒนาเมือง
ความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
5 | FURD Cities Monitor October 2017
ขั้นตอนที่ 3 ใส่องค์ประกอบที่ได้รับผลกระทบ หากองค์ประกอบที่เราสนใจมีการเปลี่ยนแปลง ในที่นี้ หาก
ผู้ปกครองเมืองมุ่งให้เกิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนแล้ว เขาก็ต้อง ‘จากัดการขยายตัวของเมือง’ ‘เพิ่ม
ประสิทธิผลของระบบขนส่ง’ ‘พัฒนาทางเท้าและทางจักรยาน’ และ ‘พัฒนาที่อยู่อาศัย’ โดยการพัฒนาทางเท้า
ทางจักรยานและที่อยู่อาศัยจะส่งผลให้คนเมืองมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีได้โดยตรง ส่วนระบบขนส่งที่มี
ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น จะทาให้คุณภาพอากาศก็จะดีขึ้น ส่งผลให้คนเมืองมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีได้เช่นกัน
Urban Health
and Wellbeing
ความเข้าใจถึงปัจจัย
แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดี
ขนาดของประชากร
ความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คุณภาพของที่อยู่อาศัย
ความมุ่งมั่นในการจากัด
การขยายตัวของเมือง
โอกาสในการเข้าถึง
การเดินและการขี่จักรยาน
คุณภาพอากาศ
ความมุ่งมั่นในการเพิ่ม
ประสิทธิผลของระบบขนส่ง
สาธารณะ
FURD Cities Monitor April 2017 | 6
ขั้นตอนที่ 4 ใส่เส้นเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบทั้งหมด โดยคิดเป็นวงจรป้อนกลับ (Feedback
Loops) ซึ่งเป็นการคิดในลักษณะเป็นวงมากกว่าเป็นเส้นตรง เพราะบางองค์ประกอบสามารถ
เป็นได้ทั้งสาเหตุและผลกระทบ เช่น ความหนาแน่นประชากรที่มากเกินไป ทาให้ผู้ปกครองเมือง
ต้องจากัดการขยายตัวของเมือง ในขณะเดียวกัน การจากัดการขยายตัวของเมือง ก็ทาให้ความ
หนาแน่นประชากรลดลง
ความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาเมืองอย่าง
ยั่งยืน
ความเข้าใจถึงปัจจัย
แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดี
ขนาดของประชากร
คุณภาพของที่อยู่อาศัย
โอกาสในการเข้าถึงการเดิน
และขี่จักรยาน
ระดับการคานึงถึงสุขภาวะ
และความเป็นอยู่ที่ดี
ความมุ่งมั่นในการจากัด
การขยายตัวของเมือง
ความมุ่งมั่นในการเพิ่ม
ประสิทธิผลของระบบขนส่ง
สาธารณะ
ความหนาแน่นประชากร
Urban Health
and Wellbeing
คุณภาพอากาศ
ผลกระทบของนโยบายและการ
วางแผนใช้ประโยชน์ที่ดิน
มูลค่าที่ดิน
ขนาดพื้นที่ทางเกษตรใน
ชานเมือง
ความอยู่รอดของพื้นที่ทาง
การเกษตรในชานเมือง ปริมาณอาหารที่ท้องถิ่นผลิตได้
การยึดมั่นในอาหารแบบดั้งเดิม
7 | FURD Cities Monitor October 2017
แรงต้านกลับของนโยบาย
จากศาสตร์เชิงระบบทาให้เราเห็นว่า นโยบายที่
พัฒนามาจากการคิดแบบแยกส่วนนั้น อาจทาให้เกิด
‘แรงต้านกลับของนโยบาย’ หรือการที่นโยบายสร้าง
ผลกระทบที่ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ยกตัวอย่างเช่น
นโยบายที่ส่งเสริมให้เมืองมีสินค้าหรือบริการที่
หลากหลายมากขึ้น ส่งผลให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคน
เมืองดีขึ้น แต่ความหลากหลายที่เพิ่มขึ้นนั้นก็สามารถ
นาไปสู่พฤติกรรมที่ทาให้สุขภาวะของคนเมืองลดลงได้
ด้วยเช่นกัน เช่น คนเมืองอาจหันไปใช้รถยนต์แทนการ
เดินหรือขี่จักรยาน คนเมืองอาจหันไปบริโภคอาหารที่มี
แคลอรี่สูงมากขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แม้การ
หลีกเลี่ยงปัญหาแรงต้านกลับของนโยบายจะเป็นเรื่องที่
ยากมาก แต่เราก็สามารถลดปัญหานี้ลงได้ด้วยการนา
วิธีการเชิงระบบมาใช้
ด้วยเหตุนี้ ศาสตร์เชิงระบบในปัจจุบันจึงถูก
พัฒนามาจนถึงจุดที่สามารถนาไปใช้สนับสนุนงานวิจัย
หรือการกาหนดนโยบายเมืองได้เลยทีเดียว เพราะเป็น
ศาสตร์ที่ช่วยให้ผู้กาหนดนโยบายสามารถหลีกเลี่ยง
ปัญหาแรงต้านกลับของนโยบาย อีกทั้งสามารถระบุจุด
คานงัด (Leverage Point) ที่ใช้แรงเพียงเล็กน้อยก็
สามารถสร้างผลกระทบที่ยิ่งใหญ่ได้ อย่างไรก็ดี
‘งานวิจัยเรื่องเมือง’ นอกจากต้องใช้เวลานาน ต้อง
อาศัยเนื้อหาที่ดีมาสนับสนุน และต้องมีแนวคิดการ
วิเคราะห์ที่ชัดเจนแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ การคานึงถึง
‘สุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง’ เป็นสาคัญ
สุขภาวะเมืองขึ้นอยู่กับสุขภาพคน
การวัดปัญหาสุขภาวะหรือภาระโรคของคนใน
เมืองหรือภูมิภาคมีหลากหลายตัวชี้วัด ไม่ว่าจะเป็นอายุ
คาดเฉลี่ย (Life Expectancy) ปีสุขภาวะที่สูญเสียปรับ
ด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ (Disability Adjusted
Life Years) และจานวนปีที่สูญเสียไปเนื่องจากการ
เสียชีวิตก่อนวัยอันควร (Years of Life Lost) ทั้งนี้ เรา
สามารถอ้างงานวิจัยที่ผ่านมา แล้วจัดอันดับหาสาเหตุ
ของโรคและโรคที่คนเป็นมากที่สุด เพื่อเปรียบเทียบ
ปัญหาด้านสุขภาวะในพื้นที่ที่ศึกษากับภูมิภาคอื่นได้
อย่างไรก็ตาม การทราบถึงสาเหตุและผลสืบเนื่องของ
โรคเพียงอย่างเดียวก็ไม่ได้ทาให้ความเป็นอยู่ของคน
เมืองดีขึ้นเสมอไป ในอีกทางหนึ่ง เราควรคานึงถึงปัจจัย
ทางเศรษฐกิจและสังคมที่อาจส่งผลต่อสุขภาวะคนเมือง
ควบคู่ไปด้วย เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างประเด็น
ทางสังคมเมืองกับจุดคานงัดที่เราสามารถใช้นโยบาย
แทรกแซงเข้าไปได้
ที่สาคัญคือ การเข้าใจภาพรวมของสุขภาวะใน
ร่างกายมนุษย์ ผู้กาหนดนโยบายต้องคานึงถึง
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ ‘สุขภาวะคน’ ทั้งทาง
กายภาพและจิตวิทยา-สังคมเป็นแกนหลัก เพราะเมืองจะ
มีสุขภาวะที่ดีได้ คนเมืองต้องมีสุขภาพที่ดี มีความ
เป็นอยู่ที่ดี มีสภาพแวดล้อมที่ดีเสียก่อน
เรียบเรียง
อ้างอิง
International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and
Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.”
FURD Cities Monitor April 2017 | 8
อาหารคนเมืองเรามีทางเลือกแค่ไหน?
อาหารคนเมือง
หากกล่าวถึงเสน่ห์ของเมืองไทย นอกจากสถานที่ท่องเที่ยวอันโด่ง
ดังและวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์แล้ว อีกสิ่งหนึ่งคงหนีไม่พ้นอาหารการกินที่มี
ให้เลือกสรรหลากหลายรสชาติ หลากหลายราคา และหลากหลายเวลา
โดยเฉพาะเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพมหานครที่เมื่อใดก็ตามที่เรารู้สึกหิว ก็
สามารถหากินได้อย่างง่ายดาย วิถีการบริโภคที่แสนสะดวกนี้ทาให้ชีวิตของ
คนเมืองดูเหมือนจะมีทางเลือกในการกินอาหารที่หลากหลาย แต่ในความ
เป็นจริงแล้วเป็นเช่นนั้นหรือไม่ หรือความเป็นเมืองต่างหากที่กาหนดอาหาร
การกินของเรา
เมื่อพิจารณาทางเลือกการกินของคนกรุงเทพฯ ทุกวันนี้ คาตอบที่
ได้นั้นมีแนวโน้มที่สอดคล้องกับสมมติฐานข้างต้นอยู่ไม่น้อย คนเมืองจานวน
มากกินอาหารทั้งสามมื้ออยู่ภายใต้โครงสร้างของวิถีชีวิตที่ถูกกาหนดไว้โดย
ความเป็นเมืองทั้งเรื่องของเวลา ที่อยู่อาศัย ไปจนถึงหน้าที่การงาน ซึ่งมี
ความรวบรัดจากัดมากกว่าชีวิตในชนบท ในครั้งนี้จะขอพูดถึง 5 ทางเลือก
อันเป็นที่นิยมคนกรุงโดยสรุป ดังนี้
11 | FURD Cities Monitor October 2017
อาหารริมทาง (Street Food)
สวรรค์ของคนเดินถนน
หลายครั้งความเป็นเมืองทาให้คนต้องใช้
ชีวิตอย่างเร่งรีบ เวลาบีบให้เราต้องหาอาหารที่เหมาะ
กับรูปแบบการใช้ชีวิต ประกอบกับการเติบโต
เชิงเดี่ยวของการสร้างที่อยู่อาศัยทั้งคอนโดและบ้านที่
ปราศจากการวางแผนจัดสรรพื้นที่อย่างรอบด้าน
Street Food จึงกลายมาเป็นแหล่งอาหารที่ตอบโจทย์
คนกรุงเทพฯ ในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี และสามารถ
พบเห็นได้ทุกที่ไม่ว่าจะเดินผ่านถนนเส้นใด
โดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าและช่วงเย็นหลังคนเลิกงาน
ทั้งยังมีให้เลือกหลากหลายประเภท รสชาติอร่อย
ราคาถูก และมีชื่อเสียงจนสานักข่าว CNN จัดอันดับ
ให้อาหารริมทางกรุงเทพฯ เป็นร้านอาหารริมทางที่ดี
ที่สุดอันดับ 1 ของโลกติดต่อกันเป็นปีที่ 2 จาก 23
เมืองทั่วโลก แต่ในขณะเดียวกัน อาหารริมทางก็ได้
สร้างผลกระทบต่อระบบสุขาภิบาลของเมืองทั้งขยะ
น้าเสีย กลิ่น และก่อให้เกิดความไม่สะดวกเนื่องจาก
โครงสร้างพื้นฐานทางเท้ากรุงเทพฯ ไม่ได้ถูก
ออกแบบมาเพื่อรองรับกิจกรรมลักษณะนี้ จึงนามาสู่
การจัดระเบียบทางเท้าของรัฐบาลซึ่งทาให้แหล่ง
อาหารที่คนเมืองนิยมฝากท้องนี้ลดจานวนลงไป
ร้านสะดวกซื้อ
แหล่งอาหารใกล้มือ 24 ชั่วโมง
ด้วยวิถีชีวิตที่เร่งรีบ สิ่งใดก็ตามที่เร็วและ
สะดวกจึงกลายเป็นสิ่งที่ดีสาหรับคนเมืองไปโดย
อัตโนมัติ ยิ่งคนกรุงเทพฯ ที่มีเวลาในการกินอาหารแต่
ละมื้อค่อนข้างจากัด ทั้งยังขาดปัจจัยอีกหลายอย่างที่
เอื้อต่อการทาอาหารกินเอง นอกจากของริมทางแล้ว
อาหารสาเร็จรูปแช่แข็งหรืออาหารพร้อมปรุงตามร้าน
สะดวกซื้อที่กระจายตัวอยู่ในทุกย่านที่มีคนพลุกพล่าน
จึงเข้ามาทาหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานของคนเมือง
อย่างยากที่จะปฏิเสธ โดยข้อมูลจากสานักงานสถิติ
แห่งชาติใน พ.ศ. 2556 พบว่าคนไทยบริโภคอาหาร
จากร้านสะดวกซื้อเป็นประจา 1-2 วันต่อสัปดาห์ และ
คาดว่าปัจจุบัน สัดส่วนดังกล่าวก็น่าจะเพิ่มสูงขึ้น
FURD Cities Monitor April 2017 | 12
ตลาดนัด จุดนัดพบของคนหิว
ตลาดนัดเป็นทางเลือกที่เกิดขึ้นมาเพื่อ
ตอบสนองวิถีชีวิตของชุมชนทั้งต่างจังหวัดและใน
เมืองมาอย่างยาวนาน โดยความพิเศษของแหล่ง
อาหารประเภทนี้อยู่ตรงการที่ไม่ได้ตั้งขายทุกวัน
เหมือนอาหารริมทาง แต่จะมีเฉพาะวันใดวันหนึ่งใน
สัปดาห์ซึ่งเป็นที่รับรู้ร่วมกันระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อจน
เป็นที่มาของคาว่าตลาดนัด สาหรับกรุงเทพฯ และ
เมืองใหญ่ เรามักพบเห็นตลาดนัดได้ตามพื้นที่ว่างใน
ชุมชน รวมถึงออฟฟิศและสถานที่ราชการที่มีแหล่ง
อาหารถาวรอยู่น้อย ที่ใดที่มีตลาดนัด ที่นั่นย่อมมี
ผู้คนมาจับจ่ายเลือกซื้อทั้งอาหารสดและอาหารปรุง
สาเร็จอย่างหนาแน่นเสมอ
รถเร่ อาหารเคลื่อนที่ของคนเมือง
การขยายตัวของเมืองในปัจจุบันมาพร้อมกับ
การขยายตัวของที่อยู่อาศัยประเภทหมู่บ้านจัดสรรและ
ห้องเช่าในตึกสูงจานวนมากเพื่อรองรับประชากรที่
หลั่งไหลเข้าเมืองมาตั้งถิ่นฐาน ทว่าการเกิดขึ้นของที่
อยู่อาศัยเหล่านี้มักขาดองค์ประกอบของชุมชนแบบ
ดั้งเดิม โดยมีแต่เพียงบ้าน ไม่มีตลาด ไม่มีแหล่งอาหาร
สาหรับคนในชุมชน รถเร่จึงเกิดขึ้นมาเพื่อทดแทนสิ่งที่
ขาดหายไป ทั้งรถขายกับข้าว ของสด รวมถึงรถเข็น
ขายอาหาร ขนม ผลไม้ ซึ่งล้วนเป็นแหล่งอาหารที่
เดินทางถึงตัวผู้บริโภคเพื่ออานวยความสะดวกให้
สามารถเลือกซื้ออาหารได้ถึงหน้าบ้าน
13 | FURD Cities Monitor October 2017
Food Delivery ส่งถึงที่ทุกเวลา
รูปแบบการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะข้อจากัดด้านเวลา และปัญหาการจราจรที่ติดขัด
ทาให้บริการจัดส่งอาหารถึงบ้านกลายมาเป็นอีกทางเลือกที่คนกรุงเทพฯ นิยมใช้โดยการสั่งอาหารผ่าน
ช่องทางออนไลน์ มีการคาดการณ์ว่าตลาดบริการจัดส่งอาหารใน พ.ศ. 2560 จะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 11-15
จากปีก่อน (ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2560) ดังจะเห็นได้ว่าทุกวันนี้มีแอพลิเคชันสั่งอาหารเกิดขึ้นมากมาย เช่น
Lineman UberEats Food Panda ฯลฯ ซึ่งเป็นตัวกลางให้บริการส่งอาหารครอบคลุมได้เกือบทุกร้านดังใน
กรุงเทพฯ ไม่จากัดเพียงฟาสฟู้ดอีกต่อไป
อาหารแบบไหนที่เราต้องการ
การทาความเข้าใจทางเลือกในการเข้าถึงอาหารทั้ง 5 แบบของคนกรุงเทพฯ นั้น อาจทาให้สรุปได้
ว่าความสะดวกได้กลายมาปัจจัยหลักที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารของคนเมืองมากกว่าปัจจัยอื่นๆ
เรามักเลือกอาหารรสชาติถูกปากและราคาถูกที่หาซื้อได้ง่ายจากแหล่งอาหารใกล้ตัวมากินเป็นประจาจน
บางครั้งก็ละเลยที่จะคิดว่าอาหารเหล่านั้นมีคุณภาพและความปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ พฤติกรรมนี้ของคน
เมืองสะท้อนผ่านผลสารวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2556 ในด้านการบริโภคอาหารที่
พบว่าประชากรในกรุงเทพฯ มีสัดส่วนการกินอาหารที่ปรุงโดยใช้น้ามัน ได้แก่ อาหารประเภทผัดและทอดสูง
กว่าภาคอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 40 ซึ่งนี่เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งของสุขภาวะด้านการกินที่ย่าแย่ของคนเมือง
เท่านั้น
นับเป็นเรื่องดีที่ปัจจุบันมีคนเมืองจานวนไม่น้อยที่เริ่มตื่นตัวและหันมาให้ความสาคัญกับการเลือก
กินอาหารที่เป็นมิตรต่อสุขภาพ ดังจะเห็นได้จากการถือกาเนิดขึ้นของทางเลือกใหม่อย่างกระแสอาหารคลีน
(Clean Food) ซึ่งเน้นการปรุงแต่งน้อย ถูกหลักโภชนาการ มีความปลอดภัย และไม่มีสารปนเปื้อนที่กาลัง
ได้รับความนิยมในหมู่คนเมืองมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการเกิดขึ้นของแนวคิดการสร้างแหล่ง
อาหารปลอดสารพิษไว้บริโภคเองอย่างสวนผักในเมือง (Urban Garden) ที่หลายพื้นที่ เช่น แปลงผักสาธิต
ชั้นดาดฟ้าของสานักงานกองทุนสนับสนุนการเสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) และสวนเกษตรดาดฟ้าของ
สานักงานเขตหลักสี่ ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความเป็นไป
ได้ว่า เราสามารถแปลงพื้นที่เหลือใช้เพียงเล็กน้อยใน
อาคารบ้านเรือนให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมได้ทั้งสิ้น
อย่างไรก็ดีกระแสการกินเพื่อสุขภาพเหล่านี้ก็
ยังนับเป็นเศษเสี้ยวที่น้อยนักเมื่อเทียบกับพฤติกรรม
การบริโภคของคนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ที่ยังไม่
สอดคล้องกับการมีสุขภาวะที่ดี อีกทั้งยังเป็นทางเลือก
ที่เข้าถึงได้ยากกว่าเมื่อเทียบกับอีก 5 ทางเลือกแรก
ด้วยอาหารคลีนยังคงมีราคาสูงกว่าอาหารปกติ และ
คนจานวนมากยังมีความเชื่ออย่างหนักแน่นว่าพื้นที่
ของเมืองนั้นไม่ได้ถูกออกแบบไว้เพื่อการผลิตในขั้น
ปฐมภูมิ คนเมืองจึงไม่มีทางออกในการผลิตอาหาร
เองดังเช่นที่คนในชนบทมี
ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามวิธี
ปรุงอาหารที่ทานเป็นประจาและภาค
FURD Cities Monitor April 2017 | 14
ความมั่นคงทางด้านอาหารของคนเมืองไม่ใช่แค่เรื่องปริมาณอาหารที่ทาให้อิ่มท้อง
อย่างเพียงพอ แต่ยังรวมไปถึงเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารที่ประชากร
บริโภคด้วย จริงอยู่ที่ปัจจุบันเมืองมีแหล่งอาหารหลากหลายให้เข้าถึง ทว่าทางเลือกเหล่านี้
ล้วนเกิดขึ้นจากการดิ้นรนปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเมืองโดยภาค
ประชาชนแต่เพียงลาพังจนหลายครั้งก็เกิดปัญหาตามมา ทั้งเรื่องการมีอยู่ของแหล่งอาหาร
เกิดขึ้นผิดที่ผิดทาง ตั้งครัวขายกันข้างถนน ปัญหาของร้านสะดวกซื้อแต่ไม่สะดวกกิน มี
อาหารมากมายแต่ไร้ที่นั่งกิน และอื่นๆ อีกนับไม่ถ้วน เหล่านี้ยากที่จะปฏิเสธได้ว่าเป็นเพราะ
รัฐไม่ได้วางแผนและควบคุมเรื่องดังกล่าวอย่างครอบคลุมควบคู่ไปกับการพัฒนาเมืองตั้งแต่
แรก เมืองของไทยซึ่งเคยได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าวอู่น้าจึงโตมาพร้อมกับปัญหาเรื่องการเข้าถึง
แหล่งอาหารที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น
ลาพังเพียงมือของประชาชนจึงอาจไม่พอ การมีแหล่งอาหารของเมืองที่เป็นธรรมต่อ
การมีสุขภาวะที่ดีได้อย่างยั่งยืนของคนเมืองนั้นจาเป็นต้องอาศัยบทบาทของรัฐและทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องในการวางแผน ตรวจสอบ และจัดสรรทางเลือกที่เหมาะสมตั้งแต่แรกเริ่ม มิใช่เพียง
แก้ปัญหาที่ปลายเหตุอย่างที่ผ่านมา การขยายตัวของเมืองจะต้องมาพร้อมกับการมีแหล่ง
อาหารที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อสัดส่วนที่อยู่อาศัยและจานวนประชากรเพื่อให้คนเมือง
สามารถบริโภคของที่ดีต่อชีวิตได้ในราคาที่สมเหตุสมผล นั่นต่างหาก น่าจะเป็นนิยามของคา
ว่าเมืองแห่งอาหารสาหรับที่แท้จริงสาหรับประเทศไทย
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
เรียบเรียง
อ้างอิง
ฐานเศรษฐกิจ. (2559). จับตาปี’60 สั่งอาหารออนไลน์หนุนตลาด Delivery โต
ร้อยละ 11-15. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://www.thansettakij.com/
content/118867
สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). ผลสารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ
ประชากร พ.ศ.2556. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://service.nso.go.th/
nso/nsopublish/service/survey/healthCare_56.pdf
ThaiPBS. (2556). คนเดินเมือง: อาหาร. ออนไลน์. สืบค้นจาก https://
www.youtube.com/watch?v=o5bMVxPIdu4
Thaipublica. (2560). เมืองใหญ่กับปัญหาความมั่นคงทางด้านอาหาร. ออนไลน์.
สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2017/09/landscape-architecture-
and-sustainability01/
เข้าใจเมือง ผ่านหนังสือเข้าใจเมือง ผ่านหนังสือ
17 | FURD Cities Monitor October 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | 18
เมืองวันนี้ดูจะมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น เราใน
ฐานะคนเมือง จะทาความเข้าใจเมืองอย่างไร จะมีส่วน
ร่วมในการกาหนดอนาคตเมืองอย่างไร จะร่วมสร้างเมือง
ให้น่าอยู่อย่างไร ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองขอแนะนา
ผู้อ่านได้รู้จักกับ หนังสือ เมือง กิน คน เขียนโดย ผศ.ดร.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาโดยตรงในด้านการ
พัฒนาเมือง จากมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก
หนังสือเล่มนี้ให้ความรู้สึกใกล้ชิดชีวิตคนเมือง
มาก สะท้อนประเด็นในชีวิตประจาวันที่คนเมืองต้อง
เผชิญ ที่คนทั่วไปหรือแม้แต่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องยังมองข้าม
อ.พิชญ์ตั้งคาถามทางวิชาการและหยิบยกประเด็นที่
น่าสนใจ 3 ด้านดังนี้
ด้านสุขภาวะเมือง (Urban Health) -
เราไม่คานึงถึงสุขภาพกันเท่าไหร่
อ.พิชญ์ไม่ได้เขียนนิยามอะไรคือสุขภาวะที่ดีใน
เมือง เพราะหลายคนมีนิยามสุขภาพอาจจะไม่เหมือนกัน
แต่อ.พิชญ์กาลังชี้ประเด็นที่ว่า ก่อนจะมีสุขภาพที่ดีนั้น
เรามี “สิทธิ์” จะมีสุขภาวะที่ดีหรือยัง และดูเหมือนว่าสิทธิ
ของคนในเมืองที่จะมีสุขภาวะที่ดีนั้นไม่เท่านั้น สุขภาวะ
เรื่องใกล้ตัวของเมืองที่ถูกมองข้ามถูกหยิบยกมา 2 เรื่อง
สาคัญ คือ
เรื่องแรก คอนโด ในวันนี้คอนโดเกิดขึ้นเต็ม
เมือง แต่ดูเหมือนว่าคอนโดไม่ได้คานึงความเป็นอยู่ของ
คนในคอนโดสักเท่าไหร่ คอนโดขายโฆษณาเพียงแค่
ความสะดวกสบายในการอยู่ แต่สาธารณูปโภคอย่างอื่นที่
เหมาะสมกับการใช้ชีวิต เช่น พื้นที่ในการเลี้ยงลูก
โรงเรียนอนุบาล โรงพยาบาล ไม่เคยถูกพูดถึงในการทา
คอนโดเลย ที่สาคัญคือ คอนโดไม่สนใจให้มีพื้นที่ขาย
อาหารในคอนโด ไม่เคยคานึงว่าแหล่งที่คอนโดตั้งอยู่นั้น
มีแหล่งอาหารที่เพียงพอต่อคนในคอนโดหรือไม่ ประเด็น
เหล่านี้เป็นเรื่องสาคัญ เพราะสุดท้ายแล้วคนเมืองมักจะ
ไม่ค่อยมีทางเลือกทางด้านอาหาร นอกจากพึ่ง Super-
marker เท่านั้น
เรื่องที่สอง ความมั่นคงทางอาหารของคน
เมือง หากดูเผินๆ กรุงเทพเป็นเมืองที่น่าเที่ยว มี
อาหารถูกและน่ากินเต็มไปหมด แต่กลับละเลยประเด็น
ของคุณค่าทางอาหารและความหลากหลาย อาหาร
Street food แม้จะมีอาหารที่ถูก แต่ดูแล้วไม่ใช่ของที่ดี
ต่อสุขภาพเท่าไหร่นัก หรือผักผลไม้บางอย่างก็มีราคา
แพงจนไม่สามารถซื้อทานได้ เรื่องอาหารนั้น พิชญ์ชี้ว่า
เมืองในต่างประเทศให้ความสาคัญมาก เช่น ส่งเสริมให้
คนปลูกผักเองในที่เล็กๆ หาช่องทางให้คนได้นาผักที่ปลูก
เองมาขาย กล่าวได้ว่าความมั่นคงทางอาหารของ
กรุงเทพนั้น ยังไม่ถูกตระหนักเพียงพอ อาหารแม้จะถูก
แต่ก็ยังไม่ใช่อาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพนั่นเอง
19 | FURD Cities Monitor October 2017
นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมเมือง
(Urban Ecology) -
ภูมิทัศน์กับนิเวศวิทยาไม่ใช่เรื่องเดียวกัน
เรื่องสิ่งแวดล้อม อ.พิชญ์มองว่าเมืองจะดี คนจะ
มีชีวิตทีดี สุขภาพดี ไม่ควรพึ่งแต่หมอและการดูแล
ตัวเอง แต่เราต้องดูแลสิ่งแวดล้อมของเมืองด้วย ต้อง
ออกแบบสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้คนมีชีวิตที่ดี แต่เรามักจะ
เจอปรากฏการณ์การย้ายหาบเร่แผงลอย การจับ
ตัวเงินตัวทองออกจากสวนลุม อ.พิชญ์ชี้ว่า ภาครัฐ
หรือคนเมืองอาจเข้าใจว่าสิ่งแวดล้อมคือการจัดภูมิ
ทัศน์เมืองให้สวยงาม สบายตา แต่จริงๆ แล้ว
สิ่งแวดล้อมแบบนิเวศวิทยา (Ecological system) กับ
ภูมิทัศน์เมือง (Urban landscape) นั้นไม่ใช่เรื่อง
เดียวกัน สิ่งแวดล้อมในฐานะนิเวศวิทยาหมายถึง
ความสมดุลทางธรรมชาติหรือการครบองค์ประกอบ
ของระบบนิเวศ แต่ภูมิทัศน์เมืองหมายถึงความ
สวยงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่ทุกวันนี้เวลา
พูดถึงสิ่งแวดล้อมกลายเป็นเรื่องของความสวยงามไป
เกือบทั้งหมด ดังนั้น เราต้องทาความเข้าใจให้ดีว่า
เมืองเป็ นพื้นที่ที่มีระบบนิ เวศที่มีพลวัตและ
ซับซ้อน (City as Complex and Dynamic Ecolog-
ical System) ที่มีผสานเอาคน สัตว์ สิ่งของไว้ใน
ระบบเดียวกัน สัมพันธ์กัน คนเมืองต้องเข้าใจเรื่อง
ระบบนิเวศให้มากขึ้น ท้ายที่สุดแล้วภาครัฐควรเปิด
โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรร่วม (Common Pool Resource Manage-
ment) หรือไม่ เป็นคาถามที่เราต้องคิดกันต่อ
นโยบายการจัดการเมือง
(Urban Management) -
ผังเมืองไทย ผังเมืองใคร
อ.พิชญ์เสนอไว้หลายประเด็นกับนโยบายการ
จัดการปัญหาที่เกิดขึ้นในเมือง แต่ที่น่าสนใจคือ การตั้ง
คาถามกับผังเมืองของไทย ทุกคนให้ความสาคัญว่าการ
วางผังเมืองเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาประเทศ แต่
คาถามของอ.พิชญ์ก็คือว่า ผังเมืองที่ว่านั้นเป็นผังเมือง
ของใครกัน จริงๆ แล้วผังเมืองไม่ใช่เพียงแค่เรื่องการ
กาหนดใช้ที่ดิน แต่เป็นเรื่องของอานาจและการต่อรอง
ของคนในท้องถิ่นที่มีสิทธิ์จะกาหนดผังเมืองเพื่อการ
พัฒนา ผังเมืองไม่ควรเป็นเรื่องของรัฐบาลกลาง ผังเมือง
ต้องมาจากการมีส่วนร่วมกาหนดจากคนท้องถิ่น เพราะ
ผังเมืองไม่ใช่แค่เรื่องกายภาพ แต่ผังเมืองเป็นเรื่องการ
บริหารจัดการชีวิตของผู้คน ที่สะท้อนความเป็นสาธารณะ
ทุกคนควรมีส่วนร่วมในการกาหนดและแก้ไขด้วยกัน
นั่นเอง แต่กลายเป็นว่าผังเมืองทุกวันนี้ไม่รู้ว่าเป็นผัง
เมืองของใคร ใครกาหนดและได้ประโยชน์กันแน่
FURD Cities Monitor April 2017 | 20
ท้ายที่สุด หัวใจสาคัญของการพัฒนาเมือง ใน
ความเห็นของพิชญ์นั้น คือ สิทธิของเมือง (Right to the
city) คือ สิทธิในการต่อรองเรียกร้องให้เรามีชีวิตที่ดี เมือง
เป็นพื้นที่ของการใช้อานาจ ระหว่างคนกลุ่มต่างๆ ในสังคม
ที่ต่อรอง ต่อสู้ เบียดขับ เมืองเป็นพื้นที่สถาปนาอานาจของ
คนบางกลุ่มที่ใช้เมืองในการเอื้อประโยชน์ให้ตนเอง กีดกัดใน
คนบางกลุ่มไม่มีโอกาสที่จะมีชีวิตที่ดีในเมือง คนหลายกลุ่ม
กาลังเรียกร้องหาการแบ่งปันอานาจ (Power sharing) ซึ่ง
ต้องขบคิดอีกมากว่าจะแบ่งปันกันอย่างไร สิ่งเหล่านี้ เรียก
ได้ว่าเป็นการเมืองของเมือง (Urban Politics)
ในวันที่โลกกาลังเข้าสู่ความเป็นเมือง เมืองของไทย
กาลังเบ่งบาน ฉะนั้นเราควรสนใจการเมืองในระดับเมืองให้
มากขึ้น ควรต้องทาเข้าใจคุณลักษณะของเฉพาะของแต่ละ
พื้นที่ รูปแบบวิวัฒนาการของเมือง ซึ่งจะนาไปสู่ความเข้าใจ
ในความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นในเมือง เข้าใจปฏิบัติการ
อานาจที่เกิดขึ้นในพื้นที่มากขึ้น เพื่อนาไปสู่การออกแบบ
เมือง การกาหนดนโยบาย กาหนดโครงการระดับเมืองที่ควร
สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความสัมพันธ์ของคนได้
เรียบเรียง
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
เอนกทรรศน์
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เศรษฐศาสตร์บนทางสายกลาง
ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
หนังสือออกใหม่
สั่งซือได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เมือง กิน คน
ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

More Related Content

Similar to FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)

FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD_RSU
 
การกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯ
การกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯการกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯ
การกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯSarit Tiyawongsuwan
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7mrpainaty
 

Similar to FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017) (19)

FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city st...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
การกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯ
การกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯการกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯ
การกำหนดวิทัศน์ทัศน์ นโยบาย แผนงาน และโครงการฯ
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 
2562 final-project 7
2562 final-project 72562 final-project 7
2562 final-project 7
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)

  • 1. ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 ตุลาคม 2560 สู่เมืองสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี เรามีทางเลือกแค่ไหน? เข้าใจเมือง ผ่านหนังสือ
  • 2. i | FURD Cities Monitor October 2017 บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ออกแบบและรูปเล่ม จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ภาพปก จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ภาพในเล่ม จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ http://www.freepik.com เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนน ลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 FURD Cities Monitor April 2017 | ii สวัสดีเดือนตุลาคม เดือนแห่งวันครบรอบการสวรรคตและเดือนแห่งงานพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอันเป็นที่รักและเทิดทูนยิ่งของชาวไทย ศูนย์ศึกษามหานคร และเมืองขอแสดงความอาลัยและน้อมสานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้ แม้จะอยู่ในโมงยามแห่งความโศกเศร้า แต่ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองก็ยังขอมุ่งมั่นที่จะทาหน้าที่เผยแพร่ ความรู้และขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาเมืองของไทยอย่างไม่หยุดยั้ง โดย FURD CITIES MONITOR ฉบับนี้จะขอ นาเสนอเรื่องสุขภาวะเมืองหรือ Urban Health ทั้งในด้านแนวคิด และกรณีศึกษาเรื่องสุขภาวะด้านอาหารการกิน ของคนไทย นอกจากนั้น ความพิเศษของวาสารประจาเดือนนี้ยังอยู่ที่การแนะนาหนังสือ เมือง กิน คน ที่เขียนโดย ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ซึ่งได้ให้แง่มุมทั้งเรื่องปัญหาและแนวทางการพัฒนาเมืองไว้อย่างทันสมัยและน่าสนใจ ขอให้ผู้อ่านโปรดติดตาม บรรณาธิการ เข้าใจเมือง ผ่านหนังสือ อาหารคนเมือง
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor October 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | 2 คนเมืองทุกแห่งหนต่างปรารถนาให้เมืองมีสุข ภาวะที่ดี ปลอดโรค ปลอดภัย หวังให้ผู้ปกครอง เมืองไม่ทาอะไรที่กระทบรบกวนการใช้ชีวิต แต่ ก็ไม่ถึงกับละเลยเพิกเฉยต่อปัญหา หวังให้คน ทุกคนได้รับสิทธิและผลประโยชน์อย่างเท่าเทียม และรอบด้านเท่าที่พลเมืองของเมืองพึงได้ ฉะนั้น การบริหารจัดการหรือการออกนโยบาย เมืองแต่ละทีจึงต้องคานึงถึง ‘คนเมือง’ เป็นที่ตั้ง ผู้ปกครองต้องเข้าใจระบบเมือง เข้าใจสาเหตุ และผลกระทบที่เป็นไปได้ว่าจะเกิดขึ้นในทุก หย่อมหญ้า ไม่ควรพิจารณาผลกระทบแบบแยก ส่วน เพราะการเข้าใจเมืองเพียงเสี้ยวเดียวนั้น แคบเกินกว่าที่จะนาไปสร้างเป็นนโยบายการ พัฒนาเมืองระยะยาวได้ คาถามคือ แนวคิดอะไรที่จะช่วยให้ ผู้ปกครองหรือผู้กาหนดนโยบายเมืองมองเห็น ปัญหาอย่างลึกซึ้งและรอบด้าน คาตอบหนึ่งที่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองเลือกนามาเผยแพร่ คือ การใช้วิธีการเชิงระบบ (Systems Approach) ที่พัฒนาขึ้นโดยสภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Council of Science: ICSU) ศาสตร์เชิงระบบช่วยทาให้เราเข้าใจความสัมพันธ์ และความเป็นไปของสิ่งต่างๆ ในระบบที่ซับซ้อน ซึ่งไม่สามารถเข้าใจได้ด้วยการมองแบบแยกส่วน เพราะทุกสิ่งในระบบต่างส่งผลกระทบซึ่งกันและ กัน อีกทั้งยังส่งผลแตกต่างกันไปตามบริบทของ คน เวลาและสถานที่ ฉะนั้น หากเราจะขับเคลื่อน เมืองไปสู่สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี เราก็ต้อง เชื่อมโยงองค์ประกอบของเมืองทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และชีวกายภาพ ในตัวมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมให้ได้ก่อน
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor October 2017 มองเมืองอย่างมีระบบ ในการพัฒนาเมืองสู่เมืองสุขภาวะ เราควร เริ่มจากการใช้วิธีการเชิงระบบมาวิเคราะห์ภาพรวม ของเมือง เนื่องจากภายใต้ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน เรา ต้องเข้าใจว่าสิ่งต่างๆ ในระบบสามารถก่อให้เกิดผล อะไรตามมาได้บ้าง พร้อมทั้งต้องอาศัยความเชื่อมโยง ระหว่างสาขาวิชาต่างๆ เพื่อชี้ให้เห็นถึงรูปแบบของ การเกิดปัญหา ค้นหาว่าอะไรที่ส่งเสริมให้เกิดหรือ ขัดขวางไม่ให้เกิดสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคน เมือง และเราจะแก้ไขที่จุดนั้นได้อย่างไร ซึ่งเราเรียก จุดนั้นว่า “ต้นตอของเหตุ (Causes of the Causes)” ทั้งนี้ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบต่างๆ ในเมือง นอกจากต้องมองให้ ครอบคลุมทั้งระบบแล้ว เราจะต้องมีหลักฐานทาง วิชาการมารองรับยืนยันความสัมพันธ์นั้นเสมอ มิ เช่นนั้น นโยบายอาจส่งผลต่อเมืองไม่เหมือนที่เรา วิเคราะห์ไว้ อย่างไรก็ตาม นโยบายเมืองจะเป็น นโยบายที่ดีได้ ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากผู้กาหนด นโยบายและคนเมืองมาช่วยกันคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อกระตุ้นให้เขาฉุกคิดว่า นโยบายที่แทรกแซงแค่ บางส่วนของระบบที่ซับซ้อนนั้น อาจก่อให้เกิด ผลกระทบที่ไม่คาดคิดตามมาได้ ทาความเข้าใจเมืองด้วยแผนภาพ แผนภาพแสดงอิทธิพล (Influence Diagrams) เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการพิจารณาความสัมพันธ์ อัน ประกอบด้วยกลุ่มข้อความที่แสดงถึงองค์ประกอบ ภายในเมือง และลูกศรที่แสดงถึงการเชื่อมโยงของ สาเหตุและผลกระทบ ในที่นี้จะแสดงตัวอย่างขั้นตอน การเขียนภายใต้โจทย์ว่า หากผู้ปกครองเมืองมุ่งใช้ นโยบายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนแล้ว จะนาไปสู่การ สร้างสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีให้คนเมืองได้อย่างไร ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกองค์ประกอบที่เราสนใจ (Focus Variable) หรือประเด็นที่เราสนใจ ในที่นี้ เราสนใจ องค์ประกอบ ‘ความมุ่งมั่นในการพัฒนาเมือง อย่างยั่งยืน’ ความมุ่งมั่นใน การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD Cities Monitor April 2017 | 4 ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มองค์ประกอบที่ส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบที่ เราสนใจ โดยพยายามใส่องค์ประกอบให้น้อยที่สุดและใส่เฉพาะตัว แปรที่สาคัญจริงๆ ในที่นี้ องค์ประกอบที่ส่งผลให้เกิดการพัฒนาเมือง อย่างยั่งยืน คือ ‘ขนาดของประชากร’ และ ‘ความเข้าใจถึงปัจจัย แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี’ ความมุ่งมั่นใน การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ความเข้าใจถึงปัจจัยแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี ขนาดของประชากร เลือกองค์ประกอบที่เราสนใจ Focus Variable) ที่มีบทบาทสาคัญต่อปัญหา หรือประเด็นที่เราสนใจ ในที่นี้ เราสนใจ องค์ประกอบ ‘ความมุ่งมั่นในการพัฒนาเมือง ความมุ่งมั่นใน การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor October 2017 ขั้นตอนที่ 3 ใส่องค์ประกอบที่ได้รับผลกระทบ หากองค์ประกอบที่เราสนใจมีการเปลี่ยนแปลง ในที่นี้ หาก ผู้ปกครองเมืองมุ่งให้เกิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนแล้ว เขาก็ต้อง ‘จากัดการขยายตัวของเมือง’ ‘เพิ่ม ประสิทธิผลของระบบขนส่ง’ ‘พัฒนาทางเท้าและทางจักรยาน’ และ ‘พัฒนาที่อยู่อาศัย’ โดยการพัฒนาทางเท้า ทางจักรยานและที่อยู่อาศัยจะส่งผลให้คนเมืองมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีได้โดยตรง ส่วนระบบขนส่งที่มี ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น จะทาให้คุณภาพอากาศก็จะดีขึ้น ส่งผลให้คนเมืองมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีได้เช่นกัน Urban Health and Wellbeing ความเข้าใจถึงปัจจัย แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี ขนาดของประชากร ความมุ่งมั่นใน การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน คุณภาพของที่อยู่อาศัย ความมุ่งมั่นในการจากัด การขยายตัวของเมือง โอกาสในการเข้าถึง การเดินและการขี่จักรยาน คุณภาพอากาศ ความมุ่งมั่นในการเพิ่ม ประสิทธิผลของระบบขนส่ง สาธารณะ FURD Cities Monitor April 2017 | 6 ขั้นตอนที่ 4 ใส่เส้นเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบทั้งหมด โดยคิดเป็นวงจรป้อนกลับ (Feedback Loops) ซึ่งเป็นการคิดในลักษณะเป็นวงมากกว่าเป็นเส้นตรง เพราะบางองค์ประกอบสามารถ เป็นได้ทั้งสาเหตุและผลกระทบ เช่น ความหนาแน่นประชากรที่มากเกินไป ทาให้ผู้ปกครองเมือง ต้องจากัดการขยายตัวของเมือง ในขณะเดียวกัน การจากัดการขยายตัวของเมือง ก็ทาให้ความ หนาแน่นประชากรลดลง ความมุ่งมั่นใน การพัฒนาเมืองอย่าง ยั่งยืน ความเข้าใจถึงปัจจัย แวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี ขนาดของประชากร คุณภาพของที่อยู่อาศัย โอกาสในการเข้าถึงการเดิน และขี่จักรยาน ระดับการคานึงถึงสุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดี ความมุ่งมั่นในการจากัด การขยายตัวของเมือง ความมุ่งมั่นในการเพิ่ม ประสิทธิผลของระบบขนส่ง สาธารณะ ความหนาแน่นประชากร Urban Health and Wellbeing คุณภาพอากาศ ผลกระทบของนโยบายและการ วางแผนใช้ประโยชน์ที่ดิน มูลค่าที่ดิน ขนาดพื้นที่ทางเกษตรใน ชานเมือง ความอยู่รอดของพื้นที่ทาง การเกษตรในชานเมือง ปริมาณอาหารที่ท้องถิ่นผลิตได้ การยึดมั่นในอาหารแบบดั้งเดิม
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor October 2017 แรงต้านกลับของนโยบาย จากศาสตร์เชิงระบบทาให้เราเห็นว่า นโยบายที่ พัฒนามาจากการคิดแบบแยกส่วนนั้น อาจทาให้เกิด ‘แรงต้านกลับของนโยบาย’ หรือการที่นโยบายสร้าง ผลกระทบที่ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ยกตัวอย่างเช่น นโยบายที่ส่งเสริมให้เมืองมีสินค้าหรือบริการที่ หลากหลายมากขึ้น ส่งผลให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคน เมืองดีขึ้น แต่ความหลากหลายที่เพิ่มขึ้นนั้นก็สามารถ นาไปสู่พฤติกรรมที่ทาให้สุขภาวะของคนเมืองลดลงได้ ด้วยเช่นกัน เช่น คนเมืองอาจหันไปใช้รถยนต์แทนการ เดินหรือขี่จักรยาน คนเมืองอาจหันไปบริโภคอาหารที่มี แคลอรี่สูงมากขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แม้การ หลีกเลี่ยงปัญหาแรงต้านกลับของนโยบายจะเป็นเรื่องที่ ยากมาก แต่เราก็สามารถลดปัญหานี้ลงได้ด้วยการนา วิธีการเชิงระบบมาใช้ ด้วยเหตุนี้ ศาสตร์เชิงระบบในปัจจุบันจึงถูก พัฒนามาจนถึงจุดที่สามารถนาไปใช้สนับสนุนงานวิจัย หรือการกาหนดนโยบายเมืองได้เลยทีเดียว เพราะเป็น ศาสตร์ที่ช่วยให้ผู้กาหนดนโยบายสามารถหลีกเลี่ยง ปัญหาแรงต้านกลับของนโยบาย อีกทั้งสามารถระบุจุด คานงัด (Leverage Point) ที่ใช้แรงเพียงเล็กน้อยก็ สามารถสร้างผลกระทบที่ยิ่งใหญ่ได้ อย่างไรก็ดี ‘งานวิจัยเรื่องเมือง’ นอกจากต้องใช้เวลานาน ต้อง อาศัยเนื้อหาที่ดีมาสนับสนุน และต้องมีแนวคิดการ วิเคราะห์ที่ชัดเจนแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ การคานึงถึง ‘สุขภาวะกับความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง’ เป็นสาคัญ สุขภาวะเมืองขึ้นอยู่กับสุขภาพคน การวัดปัญหาสุขภาวะหรือภาระโรคของคนใน เมืองหรือภูมิภาคมีหลากหลายตัวชี้วัด ไม่ว่าจะเป็นอายุ คาดเฉลี่ย (Life Expectancy) ปีสุขภาวะที่สูญเสียปรับ ด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ (Disability Adjusted Life Years) และจานวนปีที่สูญเสียไปเนื่องจากการ เสียชีวิตก่อนวัยอันควร (Years of Life Lost) ทั้งนี้ เรา สามารถอ้างงานวิจัยที่ผ่านมา แล้วจัดอันดับหาสาเหตุ ของโรคและโรคที่คนเป็นมากที่สุด เพื่อเปรียบเทียบ ปัญหาด้านสุขภาวะในพื้นที่ที่ศึกษากับภูมิภาคอื่นได้ อย่างไรก็ตาม การทราบถึงสาเหตุและผลสืบเนื่องของ โรคเพียงอย่างเดียวก็ไม่ได้ทาให้ความเป็นอยู่ของคน เมืองดีขึ้นเสมอไป ในอีกทางหนึ่ง เราควรคานึงถึงปัจจัย ทางเศรษฐกิจและสังคมที่อาจส่งผลต่อสุขภาวะคนเมือง ควบคู่ไปด้วย เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างประเด็น ทางสังคมเมืองกับจุดคานงัดที่เราสามารถใช้นโยบาย แทรกแซงเข้าไปได้ ที่สาคัญคือ การเข้าใจภาพรวมของสุขภาวะใน ร่างกายมนุษย์ ผู้กาหนดนโยบายต้องคานึงถึง องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ ‘สุขภาวะคน’ ทั้งทาง กายภาพและจิตวิทยา-สังคมเป็นแกนหลัก เพราะเมืองจะ มีสุขภาวะที่ดีได้ คนเมืองต้องมีสุขภาพที่ดี มีความ เป็นอยู่ที่ดี มีสภาพแวดล้อมที่ดีเสียก่อน เรียบเรียง อ้างอิง International Council of Science Unions. 2011. “Science Plan on Urban Health and Wellbeing in the Changing Urban Environment: A Systems Approach.” FURD Cities Monitor April 2017 | 8
  • 7. อาหารคนเมืองเรามีทางเลือกแค่ไหน? อาหารคนเมือง หากกล่าวถึงเสน่ห์ของเมืองไทย นอกจากสถานที่ท่องเที่ยวอันโด่ง ดังและวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์แล้ว อีกสิ่งหนึ่งคงหนีไม่พ้นอาหารการกินที่มี ให้เลือกสรรหลากหลายรสชาติ หลากหลายราคา และหลากหลายเวลา โดยเฉพาะเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพมหานครที่เมื่อใดก็ตามที่เรารู้สึกหิว ก็ สามารถหากินได้อย่างง่ายดาย วิถีการบริโภคที่แสนสะดวกนี้ทาให้ชีวิตของ คนเมืองดูเหมือนจะมีทางเลือกในการกินอาหารที่หลากหลาย แต่ในความ เป็นจริงแล้วเป็นเช่นนั้นหรือไม่ หรือความเป็นเมืองต่างหากที่กาหนดอาหาร การกินของเรา เมื่อพิจารณาทางเลือกการกินของคนกรุงเทพฯ ทุกวันนี้ คาตอบที่ ได้นั้นมีแนวโน้มที่สอดคล้องกับสมมติฐานข้างต้นอยู่ไม่น้อย คนเมืองจานวน มากกินอาหารทั้งสามมื้ออยู่ภายใต้โครงสร้างของวิถีชีวิตที่ถูกกาหนดไว้โดย ความเป็นเมืองทั้งเรื่องของเวลา ที่อยู่อาศัย ไปจนถึงหน้าที่การงาน ซึ่งมี ความรวบรัดจากัดมากกว่าชีวิตในชนบท ในครั้งนี้จะขอพูดถึง 5 ทางเลือก อันเป็นที่นิยมคนกรุงโดยสรุป ดังนี้
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor October 2017 อาหารริมทาง (Street Food) สวรรค์ของคนเดินถนน หลายครั้งความเป็นเมืองทาให้คนต้องใช้ ชีวิตอย่างเร่งรีบ เวลาบีบให้เราต้องหาอาหารที่เหมาะ กับรูปแบบการใช้ชีวิต ประกอบกับการเติบโต เชิงเดี่ยวของการสร้างที่อยู่อาศัยทั้งคอนโดและบ้านที่ ปราศจากการวางแผนจัดสรรพื้นที่อย่างรอบด้าน Street Food จึงกลายมาเป็นแหล่งอาหารที่ตอบโจทย์ คนกรุงเทพฯ ในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี และสามารถ พบเห็นได้ทุกที่ไม่ว่าจะเดินผ่านถนนเส้นใด โดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าและช่วงเย็นหลังคนเลิกงาน ทั้งยังมีให้เลือกหลากหลายประเภท รสชาติอร่อย ราคาถูก และมีชื่อเสียงจนสานักข่าว CNN จัดอันดับ ให้อาหารริมทางกรุงเทพฯ เป็นร้านอาหารริมทางที่ดี ที่สุดอันดับ 1 ของโลกติดต่อกันเป็นปีที่ 2 จาก 23 เมืองทั่วโลก แต่ในขณะเดียวกัน อาหารริมทางก็ได้ สร้างผลกระทบต่อระบบสุขาภิบาลของเมืองทั้งขยะ น้าเสีย กลิ่น และก่อให้เกิดความไม่สะดวกเนื่องจาก โครงสร้างพื้นฐานทางเท้ากรุงเทพฯ ไม่ได้ถูก ออกแบบมาเพื่อรองรับกิจกรรมลักษณะนี้ จึงนามาสู่ การจัดระเบียบทางเท้าของรัฐบาลซึ่งทาให้แหล่ง อาหารที่คนเมืองนิยมฝากท้องนี้ลดจานวนลงไป ร้านสะดวกซื้อ แหล่งอาหารใกล้มือ 24 ชั่วโมง ด้วยวิถีชีวิตที่เร่งรีบ สิ่งใดก็ตามที่เร็วและ สะดวกจึงกลายเป็นสิ่งที่ดีสาหรับคนเมืองไปโดย อัตโนมัติ ยิ่งคนกรุงเทพฯ ที่มีเวลาในการกินอาหารแต่ ละมื้อค่อนข้างจากัด ทั้งยังขาดปัจจัยอีกหลายอย่างที่ เอื้อต่อการทาอาหารกินเอง นอกจากของริมทางแล้ว อาหารสาเร็จรูปแช่แข็งหรืออาหารพร้อมปรุงตามร้าน สะดวกซื้อที่กระจายตัวอยู่ในทุกย่านที่มีคนพลุกพล่าน จึงเข้ามาทาหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานของคนเมือง อย่างยากที่จะปฏิเสธ โดยข้อมูลจากสานักงานสถิติ แห่งชาติใน พ.ศ. 2556 พบว่าคนไทยบริโภคอาหาร จากร้านสะดวกซื้อเป็นประจา 1-2 วันต่อสัปดาห์ และ คาดว่าปัจจุบัน สัดส่วนดังกล่าวก็น่าจะเพิ่มสูงขึ้น FURD Cities Monitor April 2017 | 12 ตลาดนัด จุดนัดพบของคนหิว ตลาดนัดเป็นทางเลือกที่เกิดขึ้นมาเพื่อ ตอบสนองวิถีชีวิตของชุมชนทั้งต่างจังหวัดและใน เมืองมาอย่างยาวนาน โดยความพิเศษของแหล่ง อาหารประเภทนี้อยู่ตรงการที่ไม่ได้ตั้งขายทุกวัน เหมือนอาหารริมทาง แต่จะมีเฉพาะวันใดวันหนึ่งใน สัปดาห์ซึ่งเป็นที่รับรู้ร่วมกันระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อจน เป็นที่มาของคาว่าตลาดนัด สาหรับกรุงเทพฯ และ เมืองใหญ่ เรามักพบเห็นตลาดนัดได้ตามพื้นที่ว่างใน ชุมชน รวมถึงออฟฟิศและสถานที่ราชการที่มีแหล่ง อาหารถาวรอยู่น้อย ที่ใดที่มีตลาดนัด ที่นั่นย่อมมี ผู้คนมาจับจ่ายเลือกซื้อทั้งอาหารสดและอาหารปรุง สาเร็จอย่างหนาแน่นเสมอ รถเร่ อาหารเคลื่อนที่ของคนเมือง การขยายตัวของเมืองในปัจจุบันมาพร้อมกับ การขยายตัวของที่อยู่อาศัยประเภทหมู่บ้านจัดสรรและ ห้องเช่าในตึกสูงจานวนมากเพื่อรองรับประชากรที่ หลั่งไหลเข้าเมืองมาตั้งถิ่นฐาน ทว่าการเกิดขึ้นของที่ อยู่อาศัยเหล่านี้มักขาดองค์ประกอบของชุมชนแบบ ดั้งเดิม โดยมีแต่เพียงบ้าน ไม่มีตลาด ไม่มีแหล่งอาหาร สาหรับคนในชุมชน รถเร่จึงเกิดขึ้นมาเพื่อทดแทนสิ่งที่ ขาดหายไป ทั้งรถขายกับข้าว ของสด รวมถึงรถเข็น ขายอาหาร ขนม ผลไม้ ซึ่งล้วนเป็นแหล่งอาหารที่ เดินทางถึงตัวผู้บริโภคเพื่ออานวยความสะดวกให้ สามารถเลือกซื้ออาหารได้ถึงหน้าบ้าน
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor October 2017 Food Delivery ส่งถึงที่ทุกเวลา รูปแบบการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะข้อจากัดด้านเวลา และปัญหาการจราจรที่ติดขัด ทาให้บริการจัดส่งอาหารถึงบ้านกลายมาเป็นอีกทางเลือกที่คนกรุงเทพฯ นิยมใช้โดยการสั่งอาหารผ่าน ช่องทางออนไลน์ มีการคาดการณ์ว่าตลาดบริการจัดส่งอาหารใน พ.ศ. 2560 จะเติบโตขึ้นถึงร้อยละ 11-15 จากปีก่อน (ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2560) ดังจะเห็นได้ว่าทุกวันนี้มีแอพลิเคชันสั่งอาหารเกิดขึ้นมากมาย เช่น Lineman UberEats Food Panda ฯลฯ ซึ่งเป็นตัวกลางให้บริการส่งอาหารครอบคลุมได้เกือบทุกร้านดังใน กรุงเทพฯ ไม่จากัดเพียงฟาสฟู้ดอีกต่อไป อาหารแบบไหนที่เราต้องการ การทาความเข้าใจทางเลือกในการเข้าถึงอาหารทั้ง 5 แบบของคนกรุงเทพฯ นั้น อาจทาให้สรุปได้ ว่าความสะดวกได้กลายมาปัจจัยหลักที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารของคนเมืองมากกว่าปัจจัยอื่นๆ เรามักเลือกอาหารรสชาติถูกปากและราคาถูกที่หาซื้อได้ง่ายจากแหล่งอาหารใกล้ตัวมากินเป็นประจาจน บางครั้งก็ละเลยที่จะคิดว่าอาหารเหล่านั้นมีคุณภาพและความปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ พฤติกรรมนี้ของคน เมืองสะท้อนผ่านผลสารวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2556 ในด้านการบริโภคอาหารที่ พบว่าประชากรในกรุงเทพฯ มีสัดส่วนการกินอาหารที่ปรุงโดยใช้น้ามัน ได้แก่ อาหารประเภทผัดและทอดสูง กว่าภาคอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 40 ซึ่งนี่เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งของสุขภาวะด้านการกินที่ย่าแย่ของคนเมือง เท่านั้น นับเป็นเรื่องดีที่ปัจจุบันมีคนเมืองจานวนไม่น้อยที่เริ่มตื่นตัวและหันมาให้ความสาคัญกับการเลือก กินอาหารที่เป็นมิตรต่อสุขภาพ ดังจะเห็นได้จากการถือกาเนิดขึ้นของทางเลือกใหม่อย่างกระแสอาหารคลีน (Clean Food) ซึ่งเน้นการปรุงแต่งน้อย ถูกหลักโภชนาการ มีความปลอดภัย และไม่มีสารปนเปื้อนที่กาลัง ได้รับความนิยมในหมู่คนเมืองมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการเกิดขึ้นของแนวคิดการสร้างแหล่ง อาหารปลอดสารพิษไว้บริโภคเองอย่างสวนผักในเมือง (Urban Garden) ที่หลายพื้นที่ เช่น แปลงผักสาธิต ชั้นดาดฟ้าของสานักงานกองทุนสนับสนุนการเสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) และสวนเกษตรดาดฟ้าของ สานักงานเขตหลักสี่ ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความเป็นไป ได้ว่า เราสามารถแปลงพื้นที่เหลือใช้เพียงเล็กน้อยใน อาคารบ้านเรือนให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมได้ทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีกระแสการกินเพื่อสุขภาพเหล่านี้ก็ ยังนับเป็นเศษเสี้ยวที่น้อยนักเมื่อเทียบกับพฤติกรรม การบริโภคของคนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ที่ยังไม่ สอดคล้องกับการมีสุขภาวะที่ดี อีกทั้งยังเป็นทางเลือก ที่เข้าถึงได้ยากกว่าเมื่อเทียบกับอีก 5 ทางเลือกแรก ด้วยอาหารคลีนยังคงมีราคาสูงกว่าอาหารปกติ และ คนจานวนมากยังมีความเชื่ออย่างหนักแน่นว่าพื้นที่ ของเมืองนั้นไม่ได้ถูกออกแบบไว้เพื่อการผลิตในขั้น ปฐมภูมิ คนเมืองจึงไม่มีทางออกในการผลิตอาหาร เองดังเช่นที่คนในชนบทมี ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามวิธี ปรุงอาหารที่ทานเป็นประจาและภาค FURD Cities Monitor April 2017 | 14 ความมั่นคงทางด้านอาหารของคนเมืองไม่ใช่แค่เรื่องปริมาณอาหารที่ทาให้อิ่มท้อง อย่างเพียงพอ แต่ยังรวมไปถึงเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารที่ประชากร บริโภคด้วย จริงอยู่ที่ปัจจุบันเมืองมีแหล่งอาหารหลากหลายให้เข้าถึง ทว่าทางเลือกเหล่านี้ ล้วนเกิดขึ้นจากการดิ้นรนปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเมืองโดยภาค ประชาชนแต่เพียงลาพังจนหลายครั้งก็เกิดปัญหาตามมา ทั้งเรื่องการมีอยู่ของแหล่งอาหาร เกิดขึ้นผิดที่ผิดทาง ตั้งครัวขายกันข้างถนน ปัญหาของร้านสะดวกซื้อแต่ไม่สะดวกกิน มี อาหารมากมายแต่ไร้ที่นั่งกิน และอื่นๆ อีกนับไม่ถ้วน เหล่านี้ยากที่จะปฏิเสธได้ว่าเป็นเพราะ รัฐไม่ได้วางแผนและควบคุมเรื่องดังกล่าวอย่างครอบคลุมควบคู่ไปกับการพัฒนาเมืองตั้งแต่ แรก เมืองของไทยซึ่งเคยได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าวอู่น้าจึงโตมาพร้อมกับปัญหาเรื่องการเข้าถึง แหล่งอาหารที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น ลาพังเพียงมือของประชาชนจึงอาจไม่พอ การมีแหล่งอาหารของเมืองที่เป็นธรรมต่อ การมีสุขภาวะที่ดีได้อย่างยั่งยืนของคนเมืองนั้นจาเป็นต้องอาศัยบทบาทของรัฐและทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องในการวางแผน ตรวจสอบ และจัดสรรทางเลือกที่เหมาะสมตั้งแต่แรกเริ่ม มิใช่เพียง แก้ปัญหาที่ปลายเหตุอย่างที่ผ่านมา การขยายตัวของเมืองจะต้องมาพร้อมกับการมีแหล่ง อาหารที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อสัดส่วนที่อยู่อาศัยและจานวนประชากรเพื่อให้คนเมือง สามารถบริโภคของที่ดีต่อชีวิตได้ในราคาที่สมเหตุสมผล นั่นต่างหาก น่าจะเป็นนิยามของคา ว่าเมืองแห่งอาหารสาหรับที่แท้จริงสาหรับประเทศไทย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ เรียบเรียง อ้างอิง ฐานเศรษฐกิจ. (2559). จับตาปี’60 สั่งอาหารออนไลน์หนุนตลาด Delivery โต ร้อยละ 11-15. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://www.thansettakij.com/ content/118867 สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). ผลสารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของ ประชากร พ.ศ.2556. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://service.nso.go.th/ nso/nsopublish/service/survey/healthCare_56.pdf ThaiPBS. (2556). คนเดินเมือง: อาหาร. ออนไลน์. สืบค้นจาก https:// www.youtube.com/watch?v=o5bMVxPIdu4 Thaipublica. (2560). เมืองใหญ่กับปัญหาความมั่นคงทางด้านอาหาร. ออนไลน์. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2017/09/landscape-architecture- and-sustainability01/
  • 11. 17 | FURD Cities Monitor October 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | 18 เมืองวันนี้ดูจะมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น เราใน ฐานะคนเมือง จะทาความเข้าใจเมืองอย่างไร จะมีส่วน ร่วมในการกาหนดอนาคตเมืองอย่างไร จะร่วมสร้างเมือง ให้น่าอยู่อย่างไร ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองขอแนะนา ผู้อ่านได้รู้จักกับ หนังสือ เมือง กิน คน เขียนโดย ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาโดยตรงในด้านการ พัฒนาเมือง จากมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก หนังสือเล่มนี้ให้ความรู้สึกใกล้ชิดชีวิตคนเมือง มาก สะท้อนประเด็นในชีวิตประจาวันที่คนเมืองต้อง เผชิญ ที่คนทั่วไปหรือแม้แต่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องยังมองข้าม อ.พิชญ์ตั้งคาถามทางวิชาการและหยิบยกประเด็นที่ น่าสนใจ 3 ด้านดังนี้ ด้านสุขภาวะเมือง (Urban Health) - เราไม่คานึงถึงสุขภาพกันเท่าไหร่ อ.พิชญ์ไม่ได้เขียนนิยามอะไรคือสุขภาวะที่ดีใน เมือง เพราะหลายคนมีนิยามสุขภาพอาจจะไม่เหมือนกัน แต่อ.พิชญ์กาลังชี้ประเด็นที่ว่า ก่อนจะมีสุขภาพที่ดีนั้น เรามี “สิทธิ์” จะมีสุขภาวะที่ดีหรือยัง และดูเหมือนว่าสิทธิ ของคนในเมืองที่จะมีสุขภาวะที่ดีนั้นไม่เท่านั้น สุขภาวะ เรื่องใกล้ตัวของเมืองที่ถูกมองข้ามถูกหยิบยกมา 2 เรื่อง สาคัญ คือ เรื่องแรก คอนโด ในวันนี้คอนโดเกิดขึ้นเต็ม เมือง แต่ดูเหมือนว่าคอนโดไม่ได้คานึงความเป็นอยู่ของ คนในคอนโดสักเท่าไหร่ คอนโดขายโฆษณาเพียงแค่ ความสะดวกสบายในการอยู่ แต่สาธารณูปโภคอย่างอื่นที่ เหมาะสมกับการใช้ชีวิต เช่น พื้นที่ในการเลี้ยงลูก โรงเรียนอนุบาล โรงพยาบาล ไม่เคยถูกพูดถึงในการทา คอนโดเลย ที่สาคัญคือ คอนโดไม่สนใจให้มีพื้นที่ขาย อาหารในคอนโด ไม่เคยคานึงว่าแหล่งที่คอนโดตั้งอยู่นั้น มีแหล่งอาหารที่เพียงพอต่อคนในคอนโดหรือไม่ ประเด็น เหล่านี้เป็นเรื่องสาคัญ เพราะสุดท้ายแล้วคนเมืองมักจะ ไม่ค่อยมีทางเลือกทางด้านอาหาร นอกจากพึ่ง Super- marker เท่านั้น เรื่องที่สอง ความมั่นคงทางอาหารของคน เมือง หากดูเผินๆ กรุงเทพเป็นเมืองที่น่าเที่ยว มี อาหารถูกและน่ากินเต็มไปหมด แต่กลับละเลยประเด็น ของคุณค่าทางอาหารและความหลากหลาย อาหาร Street food แม้จะมีอาหารที่ถูก แต่ดูแล้วไม่ใช่ของที่ดี ต่อสุขภาพเท่าไหร่นัก หรือผักผลไม้บางอย่างก็มีราคา แพงจนไม่สามารถซื้อทานได้ เรื่องอาหารนั้น พิชญ์ชี้ว่า เมืองในต่างประเทศให้ความสาคัญมาก เช่น ส่งเสริมให้ คนปลูกผักเองในที่เล็กๆ หาช่องทางให้คนได้นาผักที่ปลูก เองมาขาย กล่าวได้ว่าความมั่นคงทางอาหารของ กรุงเทพนั้น ยังไม่ถูกตระหนักเพียงพอ อาหารแม้จะถูก แต่ก็ยังไม่ใช่อาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพนั่นเอง
  • 12. 19 | FURD Cities Monitor October 2017 นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมเมือง (Urban Ecology) - ภูมิทัศน์กับนิเวศวิทยาไม่ใช่เรื่องเดียวกัน เรื่องสิ่งแวดล้อม อ.พิชญ์มองว่าเมืองจะดี คนจะ มีชีวิตทีดี สุขภาพดี ไม่ควรพึ่งแต่หมอและการดูแล ตัวเอง แต่เราต้องดูแลสิ่งแวดล้อมของเมืองด้วย ต้อง ออกแบบสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้คนมีชีวิตที่ดี แต่เรามักจะ เจอปรากฏการณ์การย้ายหาบเร่แผงลอย การจับ ตัวเงินตัวทองออกจากสวนลุม อ.พิชญ์ชี้ว่า ภาครัฐ หรือคนเมืองอาจเข้าใจว่าสิ่งแวดล้อมคือการจัดภูมิ ทัศน์เมืองให้สวยงาม สบายตา แต่จริงๆ แล้ว สิ่งแวดล้อมแบบนิเวศวิทยา (Ecological system) กับ ภูมิทัศน์เมือง (Urban landscape) นั้นไม่ใช่เรื่อง เดียวกัน สิ่งแวดล้อมในฐานะนิเวศวิทยาหมายถึง ความสมดุลทางธรรมชาติหรือการครบองค์ประกอบ ของระบบนิเวศ แต่ภูมิทัศน์เมืองหมายถึงความ สวยงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่ทุกวันนี้เวลา พูดถึงสิ่งแวดล้อมกลายเป็นเรื่องของความสวยงามไป เกือบทั้งหมด ดังนั้น เราต้องทาความเข้าใจให้ดีว่า เมืองเป็ นพื้นที่ที่มีระบบนิ เวศที่มีพลวัตและ ซับซ้อน (City as Complex and Dynamic Ecolog- ical System) ที่มีผสานเอาคน สัตว์ สิ่งของไว้ใน ระบบเดียวกัน สัมพันธ์กัน คนเมืองต้องเข้าใจเรื่อง ระบบนิเวศให้มากขึ้น ท้ายที่สุดแล้วภาครัฐควรเปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรร่วม (Common Pool Resource Manage- ment) หรือไม่ เป็นคาถามที่เราต้องคิดกันต่อ นโยบายการจัดการเมือง (Urban Management) - ผังเมืองไทย ผังเมืองใคร อ.พิชญ์เสนอไว้หลายประเด็นกับนโยบายการ จัดการปัญหาที่เกิดขึ้นในเมือง แต่ที่น่าสนใจคือ การตั้ง คาถามกับผังเมืองของไทย ทุกคนให้ความสาคัญว่าการ วางผังเมืองเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาประเทศ แต่ คาถามของอ.พิชญ์ก็คือว่า ผังเมืองที่ว่านั้นเป็นผังเมือง ของใครกัน จริงๆ แล้วผังเมืองไม่ใช่เพียงแค่เรื่องการ กาหนดใช้ที่ดิน แต่เป็นเรื่องของอานาจและการต่อรอง ของคนในท้องถิ่นที่มีสิทธิ์จะกาหนดผังเมืองเพื่อการ พัฒนา ผังเมืองไม่ควรเป็นเรื่องของรัฐบาลกลาง ผังเมือง ต้องมาจากการมีส่วนร่วมกาหนดจากคนท้องถิ่น เพราะ ผังเมืองไม่ใช่แค่เรื่องกายภาพ แต่ผังเมืองเป็นเรื่องการ บริหารจัดการชีวิตของผู้คน ที่สะท้อนความเป็นสาธารณะ ทุกคนควรมีส่วนร่วมในการกาหนดและแก้ไขด้วยกัน นั่นเอง แต่กลายเป็นว่าผังเมืองทุกวันนี้ไม่รู้ว่าเป็นผัง เมืองของใคร ใครกาหนดและได้ประโยชน์กันแน่ FURD Cities Monitor April 2017 | 20 ท้ายที่สุด หัวใจสาคัญของการพัฒนาเมือง ใน ความเห็นของพิชญ์นั้น คือ สิทธิของเมือง (Right to the city) คือ สิทธิในการต่อรองเรียกร้องให้เรามีชีวิตที่ดี เมือง เป็นพื้นที่ของการใช้อานาจ ระหว่างคนกลุ่มต่างๆ ในสังคม ที่ต่อรอง ต่อสู้ เบียดขับ เมืองเป็นพื้นที่สถาปนาอานาจของ คนบางกลุ่มที่ใช้เมืองในการเอื้อประโยชน์ให้ตนเอง กีดกัดใน คนบางกลุ่มไม่มีโอกาสที่จะมีชีวิตที่ดีในเมือง คนหลายกลุ่ม กาลังเรียกร้องหาการแบ่งปันอานาจ (Power sharing) ซึ่ง ต้องขบคิดอีกมากว่าจะแบ่งปันกันอย่างไร สิ่งเหล่านี้ เรียก ได้ว่าเป็นการเมืองของเมือง (Urban Politics) ในวันที่โลกกาลังเข้าสู่ความเป็นเมือง เมืองของไทย กาลังเบ่งบาน ฉะนั้นเราควรสนใจการเมืองในระดับเมืองให้ มากขึ้น ควรต้องทาเข้าใจคุณลักษณะของเฉพาะของแต่ละ พื้นที่ รูปแบบวิวัฒนาการของเมือง ซึ่งจะนาไปสู่ความเข้าใจ ในความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นในเมือง เข้าใจปฏิบัติการ อานาจที่เกิดขึ้นในพื้นที่มากขึ้น เพื่อนาไปสู่การออกแบบ เมือง การกาหนดนโยบาย กาหนดโครงการระดับเมืองที่ควร สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความสัมพันธ์ของคนได้ เรียบเรียง
  • 13. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง เอนกทรรศน์ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เศรษฐศาสตร์บนทางสายกลาง ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ หนังสือออกใหม่ สั่งซือได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เมือง กิน คน ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 14. 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864