SlideShare a Scribd company logo
1 of 130
Download to read offline
1
รายงานฉบับสมบูรณ์
อนาคตของเมืองเชียงใหม่ :
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาโดยภาคประชาสังคม
สามารถ สุวรรณรัตน์
2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
สารบัญ 2
สารบัญตาราง 4
สารบัญรูป 5
สารบัญแผนที่ 7
สารบัญแผนภูมิ 8
สารบัญแผนผัง 9
บทสรุปผู้บริหาร 11
เกริ่นนา 19
บทที่ 1 23
1.1 พัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ 24
1.2 อัตลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ และมโนทัศน์ตัวตน ”คนเมือง” เชียงใหม่ 34
1.3 สภาพปัญหาของเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน 57
บทที่ 2 66
2.1 พัฒนาการ และปัจจัยที่ทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ 67
โดยภาคประชาสังคม
บทที่ 3 92
3.1 ภาคีคนฮักเมืองเชียงใหม่ 92
3.2 มูลนิธิสถาบันพัฒนาเมือง 94
3.3 โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา 95
3.4 ภาคีฟื้นบ้าน ย่าน เวียงเชียงใหม่ 97
3.5 เครือข่ายชุมชนเมืองรักษ์เชียงใหม่ 98
3.6 ชมรมชาวนิมมานเหมินท์ 99
3.7 กลุ่มสถาปนิก คน.ใจ.บ้าน 100
3.8 กลุ่มเครือข่ายเชียงใหม่เขียว สวย หอม 102
3.9 กลุ่มละครกั๊บไฟ 103
3.10 การพิจารณา แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือ แผนพัฒนาเทศบาล 107
นครเชียงใหม่ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงใหม่
3
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
บทที่ 4 112
4.1 เป้าหมายของการดาเนินงาน 112
4.2 ความสอดคล้องกับประเด็นความเร่งด่วนในการพัฒนาเมือง 114
4.3 รูปแบบการดาเนินงาน และกลไก 115
4.4 ผลสัมฤทธิ์การยกระดับสู่วาระของเมือง และความยั่งยืน 119
บทที่ 5 121
5.1 ทางเลือกและแนวทางการพัฒนาเมืองเชียงใหม่โดยาภาคประชาชน 122
5.2 ข้อเสนอแนะอนาคตเมืองเชียงใหม่ในการขับเคลื่อนการพัฒนา 123
โดยภาคประชาสังคม
บรรณานุกรม 127
4
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ก. แผนการดาเนินงานตลอดโครงการวิจัย 21
1.1 แสดงความคิดเห็นของคนเชียงใหม่ต่อตัวตน “คนเมือง” 55
1.2 ปริมาณขยะจากชุมชนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 64
2.1 สรุปพัฒนาการการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม 87
3.1 เป้าหมายการดาเนินงานกรณีศึกษากลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมเมือง 105
เชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2588
3.2 ยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 107
(พ.ศ.2557-2560)
3.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ประเด็นยุทธศาสตร์ 108
การพัฒนา 5 ประเด็น แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ 4 ปี (พ.ศ.2558-2562)
3.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่ 109
(พ.ศ. 2558-2560)
5
สารบัญรูป (1)
รูปที่ หน้า
1.1 แสดงพัฒนาการสัณฐานเมืองเก่า 24
1.2 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่ 25
1.3 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่
และการใช้พื้นที่ในเขตเมือง (พ.ศ.1835-1839) 25
1.4 แสดงความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
และสังคมของเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.1839-2317) 27
1.5 แสดงที่ตั้งของกลุ่มคนในเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2317-2400) 28
1.6 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่
ในช่วงก่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 1 30
1.7 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 1-3 30
1.8 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 4-6 31
1.9 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 7-11 33
1.10 แผนที่เมืองเก่าเมืองเชียงใหม่ 36
1.11 ประตูท่าแพ 36
1.12 แจ่งศรีภูมิ (ป้อม) 36
1.13 ข่วง (ลาน) อนุสาวรีย์สาม 36
1.14 คูเมืองเชียงใหม่ 36
1.15 พื้นที่สีเขียวริมคูเมือง 36
1.16 สวนบวกหาด 36
1.17 วัดเก่าในเขตเมืองเก่า 37
1.18 บ้านเก่า 37
1.19 ตลาดเก่า 37
1.20 คลองแม่ข่า 37
1.21 คันดิน (กาแพงดิน) ชั้นนอก 37
1.22 อัตลักษณ์ด้านกายภาพของเมืองเชียงใหม่ 44
1.23 พัฒนาการของมโนทัศน์ตัวตน “คนเมือง” เชียงใหม่ 56
1.24 การเปลี่ยนแปลงของความร้อนในเขตเมืองเชียงใหม่ 61
2.1 การสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ นาโดยครูบาเจ้าศรีวิชัย พ.ศ. 2477-78 69
6
สารบัญรูป (2)
รูปที่ หน้า
2.2 บัตรเรียกร้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาค ที่จังหวัดเชียงใหม่ 70
2.3 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
(พ.ศ.2470-2520) 74
2.4-2.6 ภาพบรรยากาศการเดินขบวนคัดค้านการสร้างกระเช้าไฟฟ้า
โดยกลุ่มพลเมืองชาวเชียงใหม่ ในวันที่ 24 พฤษภาคม 2529 76
2.7-2.9 ภาพบรรยากาศกิจกรรมการคัดค้านการสร้างคอนโดมีเนียม
ของชมรมเพื่อเชียงใหม่ 76
2.10 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
(พ.ศ.2530-2540) 78
2.11 ภาพอาคารศาลาบาตร ภายในวัดเกต อาคารเก่าหลังแรกที่ได้การบูรณะ 80
2.12 ภาพอุโบสถเงินวัดศรีสุพรรณ 80
2.13 ภาพสล่าช่างเงินวัดศรีสุพรรณ 80
2.14 ภาพการคัดค้านการขยายถนนในพื้นที่วัดเกต 82
2.15 ภาพความขัดแย้งกลุ่มเสื้อเหลือง-แดง เชียงใหม่ 82
2.16 ภาพการประชุมภาคีคนฮักดอยหลวงเชียงดาว 82
2.17 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
(พ.ศ.2540-2550) 83
2.18 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
(พ.ศ.2550-2558(ปัจจุบัน)) 86
3.1-3.3 ภาพหนังสือไม่รักไม่บอก 94
3.4-3.6 ภาพบรรยากาศงานวันเด็กในสถาบันพัฒนาเมืองเชียงใหม่ 95
3.7-3.9 ภาพการเยี่ยมชมจากคณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านปลาดาว 95
อาเภอแม่แตง จานวน 63 คน
3.10-3.11 ภาพบรรยากาศกิจกรรมเสวนาหัวข้อ “จากคุ้มสู่คอก จากคอกสู่?” 95
3.12-3.14 ภาพบรรยากาศการเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ ประวัติ ตานาน 96
ความเชื่อ ประเพณียี่เป็ง
3.15-3.16 ภาพบรรยากาศการเรียนรู้จากผู้ที่สนใจ 96
3.17-3.18 ตัวอย่างโปสเตอร์เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ 97
3.19-3.20 กิจกรรมฟ้อนเจิงฟ้อนดาบ 98
3.21-3.22 กิจกรรมห้องสมุดฟื้นบ้าน ย่าน เวียง 98
7
สารบัญรูป (3)
รูปที่ หน้า
3.23-3.25 ภาพบรรยากาศงานไหว้สาพญามังราย ณ ข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ 99
ในวันที่ 12 เมษายน58
3.26 -3.28 ภาพบรรยากาศการอบรมนักเล่าเรื่องเมืองเก่า 99
3.29 -3.31 ภาพบรรยากาศการ อบรมศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนา 99
3.32-3.34 ภาพบรรยากาศการประชุม ประเด็น'จราจร' 100
และ 'มลภาวะทางเสียง' ตั้งแต่ทีมตารวจทุกคนนาโดย
3.35-3.37 งานออกแบบ และการมีส่วนร่วมของชุมชน 102
โครงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมริมคลองแม่ข่า ลาสาขา
3.38-3.39 งานฟื้นฟูชุมชนในเมืองเก่า โครงการฟื้นบ้าน ย่าน เวียงเชียงใหม่ 102
3.40 -3.42 ภาพบรรยากาศการทางานของหมอต้นไม้ 103
3.43 -3.44 โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมเวิร์กช็อปต่างๆ 103
ของเครือข่ายเขียวสวยหอม
3.45 ทีมอาสาสมัครกรีนเรนเจอร์ส่งผักปลอดสารและไข่สดอินทรีย์ 103
3.46 ภาพบรรยากาศการเรียนรู้ละครชุมชนเรื่องนกน้อยหัดบิน 104
3.47–3.48 ภาพบรรยากาศเทศกาลละคร ศิลปะ และวัฒนธรรม”ACT festival 104
8
สารบัญแผนที่
แผนที่ที่ หน้า
ก. แผนที่พื้นที่ศึกษา 22
1.1 ตาแหน่งเมืองเก่าขนาดเล็ก (เวียง) ในปริมณฑลเมืองเชียงใหม่ 39
1.2 จินตภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตเมืองเชียงใหม่ปัจจุบัน 45
1.3 ตาแหน่งอาคารสูงในเมืองเชียงใหม่ 63
9
สารบัญแผนภูมิ
แผนภูมิที่ หน้า
1.1 สถิติรถยนต์ใหม่ (ป้ายแดง) พ.ศ.2551-2555 59
1.2 สถิติจานวนรถจดทะเบียนสะสม พ.ศ.2551-2555 59
10
สารบัญแผนผัง
แผนผังที่ หน้า
4.1 เป้าหมายการดาเนินงานของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ 112
ปี พ.ศ.2558
4.2 เป้าหมายการดาเนินงานขององค์กรภาคประชาสังคมภายในเมืองเชียงใหม่ 123
ทั้ง 3 ระยะ
4.3 กลุ่มประเด็นการดาเนินงานขององค์ภาคประชาสังคมภายในเมืองเชียงใหม่ 114
ทั้ง 3 ระยะ
5.1 ผังการทางานองค์กรภาคประชาสังคม และกลไกกลาง 124
11
บทสรุปผู้บริหาร
พัฒนาการการความเป็นเมืองเชียงใหม่
โดยภาพรวมความเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทสู่สังคมเมืองของเมืองในเขตภาคเหนือตอนบน
มีลักษณะคล้ายคลึงกัน คือเป็นผลมาจากการปรับเปลี่ยนโยกย้ายฐานอานาจการปกครองเดิมสู่อานาจ
ทางเศรษฐกิจใหม่ จากเจ้าผู้ครองนครสู่ชนชั้นสูง ไปสู่กลุ่มนายทุน ภายใต้ฉากหลังของการปรับปรุง
รูปแบบและโครงสร้างการปกครองหัวเมืองประเทศราช สู่จังหวัดหนึ่งในสยาม และประเทศไทย
ตามลาดับ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับเมืองอื่นๆตามภูมิภาคทั่วประเทศ
เชียงใหม่ ในฐานะราชธานีแห่งอาณาจักรล้านนา และหนึ่งในหัวเมืองสาคัญทางเหนือของสยาม
คือตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมชนบทสู่การเป็นสังคมเมืองที่ชัดเจน ตามร่องรอยความ
เปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่ปรากฏในประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ในห้วง 100 ปี ที่ผ่าน อาทิ การ
เปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจจากสังคมเกษตรกรรมที่มุ่งผลิตเพื่อบริโภคภายในพื้นที่ สู่การผลิตเพื่อ
จาหน่ายและส่งขายกับเมืองอื่นเป็นสาคัญ การเปลี่ยนแปลงสกุลเงิน และรูปแบบการเก็บภาษีที่เคยใช้
จ่ายด้วยแรงงาน และทรัพยากรที่ผลิตได้เปลี่ยนเป็นเงินตรา ที่มาพร้อมกับความรุ่งเรืองของอุตสาหกรรม
การค้าไม้กับต่างชาติที่ช่วยดึงดูดผู้คน แรงงานต่างชาติและการพัฒนาในรูปแบบอื่นๆ การพัฒนา
โครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ทั้งระบบราง และระบบถนน ยังผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ
ในทางกายภาพที่เห็นเด่นชัดได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จากพื้นที่เกษตรในเขตปริมณฑลเมือง
เก่าปรับเปลี่ยนเป็นย่านการค้า และชุมชนใหม่ๆ ตามแนวถนนที่เชื่อมโยงระหว่างเมืองกับสถานีรถไฟ
สถานีขนส่ง และถนนในแนวรัศมีที่พุ่งออกจากเมือง พร้อมไปกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมทั้งระบบ
เศรษฐกิจ ที่เมืองต้องพึ่งพาระบบการค้า และการนาเข้าทรัพยากรจากภายนอกมากขึ้น ความต้องการ
แรงงานในภาคธุรกิจมากขึ้น นามาสู่การหลั่งไหลของผู้คนจากชนบทในอาเภอรอบนอกเข้ามาหางานทา
ในเขตเมือง เริ่มจากการทางานเป็นแรงงานชั่วคราวในช่วงเวลาว่างหลังฤดูเก็บเกี่ยว เปลี่ยนเป็นแรงงาน
ประจาในเขตเมือง เป็นผลทาให้ความต้องการที่อยู่อาศัยในพื้นที่มีเพิ่มขึ้น ซึ่งกลายเป็นปัจจัยเร่งสาคัญที่
ทาให้เกิดการพัฒนาที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย และการเปลี่ยนโฉมหน้าของเมืองในอดีต สู่การเป็นเมือง
ใหญ่ที่ทันสมัย ตามนโยบายการพัฒนาที่มั่งหวังให้เชียงใหม่เป็นเมืองหลัก และศูนย์กลางของภูมิภาค
ภาคเหนือตอนบน
อัตลักษณ์ของเมือง และ”คนเมือง” เชียงใหม่
แม้รูปแบบการพัฒนาเมืองของเมืองเชียงใหม่อาจไม่แตกต่างจากเมืองอื่นๆ ตามภูมิภาคของ
ประเทศไทย แต่ภายใต้กระแสความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เมืองเชียงใหม่กลับมีความโดดเด่นที่ได้รับ
การศึกษา ได้รับการกล่าวถึงอยู่เสมอ และเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการกาหนดแนวทางการ
12
พัฒนาเมือง และการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อการพัฒนาเมืองอย่างมีนัยยะสาคัญอยู่ 2 ประเด็น
ได้แก่ 1) อัตลักษณ์ทางกายภาพของเมืองเก่า ย่านเก่า และย่านชุมชนในพื้นที่ขยายตัว
2) ความรู้สึกร่วมต่อตัวตน “คนเมือง” เชียงใหม่ ที่มีความเข้มแข็ง ทั้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และ
ปฏิสัมพันธ์ต่อสังคมและเมืองโดยภาพรวม
จากประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 719 ปี (เมืองเชียงใหม่สร้างขึ้นในปีพ.ศ.1839) ปัจจุบันเมือง
เชียงใหม่ยังคงหลงเหลือแหล่งโบราณสถานและโบราณคดีที่แสดงออกถึงคุณลักษณะของการเป็นเมือง
เก่าอย่างครบถ้วนคือ การมีคูน้า คันดิน กาแพงเมือง และประตูเมือง ที่ยังคงสภาพบางส่วนให้เห็น
รูปทรงของเมืองในลักษณะสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส มีมุมเมือง (แจ่ง) หรือป้อมทั้งสี่มุม และประตูเมือง 5
ประตู รวมไปถึงการมีเมืองบริวารขนาดเล็ก และแหล่งโบราณคดีสาคัญรายรอบปริมณฑลเมือง ที่ยัง
ปรากฏร่องรอยขอบเขตให้เห็นชัดเจน เช่น เวียงกุมกาม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ห่างจากเมือง
เก่าเชียงใหม่เพียง 5 กม. เวียงเจ็ดริน เมืองหน้าด่านทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากเมืองเก่าราว 2 กม.
เวียงสวนดอก เป็นเวียงศาสนาสาหรับพระสงฆ์อยู่ห่างจากเมืองเก่าราว 1 กม.ทางทิศตะวันตก และเวียง
เฉียงโฉม (ปัจจุบันไม่ปรากฏแนวคูน้า คันดินแล้ว เหลือเพียงวัดเฉียงโฉมซึ่งสันนิษฐานกันว่า เป็นวัดที่
ตั้งอยู่ศูนย์กลางเวียง) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของห่างจากเมืองเก่าราว 1 กม. และหนองน้าโบราณขนาด
ใหญ่ หนองบัวเจ็ดกอ ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองใกล้แจ่งศรีภูมิ ซึ่งปัจจุบันได้ตื้นเขิน
เนื่องจากการทมดินเพื่อปรับพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัย และสร้างถนน นอกจากนี้ภายในเมืองเก่าเชียงใหม่
ยังคงหลงเหลือวัดโบราณอยู่ถึง 38 วัดในพื้นที่เมืองเก่าที่มีขนาดเพียง 3.2 ตร.กม.
ในพื้นที่รอบเขตปริมณฑลเมืองเก่ายังปรากฏย่านเก่า และชุมชนดั้งเดิมที่มีประวัติศาสตร์
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง และมีคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ร่วมสมัย และความผูกพันทางใจของผู้คน
ในย่าน เช่น ย่านชุมชนเก่าในเขตกาแพงเมืองชั้นนอก ย่านชุมชนเก่าริมน้า อย่างย่านกาดหลวง และ
ย่านวัดเกต รวมถึงย่านอาคารพาณิชย์ริมถนน เช่น ย่านช้างม่อย ย่านท่าแพ ย่านสันป่าข่อย และย่าน
สถานีรถไฟ เป็นต้น ย่านเก่าเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงทาการค้า และมีผู้อยู่อาศัย แต่ในปัจจุบันมีสภาพซบ
เซาลงไปและไม่คึกคักอย่างเช่นในอดีต เนื่องจากตลาดสด ห้างสรรพสินค้า ต่างทยอยกันเปิดจานวนมาก
ในส่วนของย่านชุมชนขยายตัวแถบชานเมือง จุดตัดของถนนรัศมี และถนนวงแหวนรอบเมือง
นอกจากลักษณะความเป็นเมืองใหม่ที่ก่อร่างสร้างตัวบนฐานกายภาพของเมืองเก่าที่ยังมีความ
สมบูรณ์ และมีความโดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ของเมืองที่สาคัญแล้ว ความรู้สึกร่วมของคนในสังคมถึงตัวตน
“คนเมือง” เชียงใหม่ ก็เป็นอีกประเด็นที่ผูกโยงกับการพัฒนาเมืองอย่างเหนียวแน่น และเป็นที่น่าสังเกต
อย่างยิ่งว่า ภายใต้ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มวัฒนธรรมที่ถูกกวาดต้อน หรือถูกดึงดูด
ให้เข้ามาอยู่อาศัยในเขตเมือง นับจากครั้งการปลดแอกจากการเป็นเมืองขึ้นของพม่า ราวปีพ.ศ. 2310
โดยการนาของพระยากาวิละ ผู้ทรงริเริ่มการฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ที่ในสภาพทรุดโทรมจากภัยสงคราม
ด้วยแนวคิด “เก็บผักใส่ซ้า เก็บค้าใส่เมือง” หรือการกวาดต้อนเอากลุ่มคนที่อยู่รายรอบเมืองเชียงใหม่
หรือเมืองใกล้เคียงอย่างเข้ามารวมไว้ในเมืองเชียงใหม่ การอพยพเข้ามาตามแรงดึงดูดทางเศรษฐกิจ
13
การค้าของกลุ่มพ่อค้าชาวจีน ชาวอินเดีย ชาวปากีสถาน ตามเส้นทางการค้าทางน้า การอพยพเข้ามา
เป็นแรงงานกับอุตสาหกรรมการค้าไม้ของกลุ่มคนพม่า มอญ ฯลฯ ความหลากหลายดังกล่าวกลับถูก
หล่อหลอมให้คนเชียงใหม่โดยทั่วไปต่างมีสานึก ความเป็นกลุ่มก้อนภายใต้มโนทัศน์ “คนเมือง” ร่วมกัน
อย่างเหนียวแน่น ผ่านการแสดงออกทางภาษา วิถีชีวิต และวัฒนธรรม มีสานึกรักท้องถิ่น มีความห่วง
แหนเมืองเก่า และมรดกทางวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการแสดงออกตามวาระโอกาสที่ตนสามารถ
เข้าไปมีส่วนร่วมได้ คือมโนทัศน์และสานึกรู้ที่กลายเป็นแรงขับเคลื่อนสาคัญในการแก้ไขปัญหา และการ
พัฒนาเมืองของภาคประชาชน ทั้งผ่านระบบการเมืองเช่น การเลือกตั้ง การแสดงออกทางการเมืองอย่าง
กลุ่มคนเสื้อแดงเชียงใหม่ 51 หรือกลุ่มอื่นๆ รวมถึงการรวมตัวในฐานะภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
เพื่อเรียกร้องหรือคัดค้านการพัฒนาที่ไม่เหมาะสม ปรากฏให้เห็นเด่นชัดตามช่วงเวลาตั้งแต่ช่วงปลายปี
พ.ศ.2400 จนถึงปัจจุบัน
สภาพปัญหาของเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน
ปัจจุบันเมืองเชียงใหม่กาลังประสบปัญหาสาคัญ และเป็นปัญหาที่อยู่ในความสนใจของภาค
ประชาสังคมได้แก่ ปัญหาการจราจร ด้วยข้อจากัดของการเป็นเมืองเก่า และย่านเก่าที่มีถนนที่แคบ มี
โครงข่ายเชื่อมต่อกันไม่สมบูรณ์ และการมีจุดตัดกระแสจราจรจานวนมาก ถนนหลายจุดมีสภาพเป็นขอ
ขวด จึงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาทั้งการจราจรติดขัด และอุบัติเหตุตามจุดเสี่ยงต่างๆ
ปัญหามลพิษทางอากาศ ในเมืองเชียงใหม่ ด้วยสภาพที่ตั้งที่มีลักษณะเป็นเมืองในหุบเขา ทา
ให้มลพิษทางอากาศจะวนเวียนปกคลุมอยู่ในเมืองตลอดเวลา ผนวกกับปัญหาต่อเนื่องที่เกิดจากปัญหา
การจราจรติดขัดซึ่งผลิตควันพิษจานวนมหาศาล การก่อสร้างอาคารสูงที่ไม่มีระเบียบกีดขวางทิศทางลม
ทาให้การระบายอากาศของเมืองไม่ดี รวมไปถึงการเกิดภาวะหมอกควันปกคลุมเมืองในช่วงฤดูแล้งเหตุ
จากการเผาเศษวัสดุทางการเกษตร และไฟป่าในช่วงฤดูแล้ง ทาให้สุขภาพคนในเมืองเชียงใหม่ย่าแย่
และเป็นวิกฤตปัญหาที่เกิดขึ้นทุกปี
ปัญหาโดมความร้อนในเขตเมือง ผลจากการขยายตัวของเมืองและการปรับเปลี่ยนพื้นที่สี
เขียวเป็นไปเป็นพื้นที่ปลูกสร้างอาคาร ถนน และสิ่งปลุกสร้างอื่นๆ ส่งผลให้อุณหภูมิผิวพื้นของพื้นที่ใน
เขตเมืองสูงกว่าพื้นที่รอบนอกโดยเฉลี่ยถึง 1-2 องศา และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นทุกปี
ปัญหาอาคารสูง ผลกระทบจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 และฉบับที่ 5
ซึ่งกาหนดให้เชียงใหม่เป็นเมืองหลักของภาคเหนือ เป็นเหตุให้เกิดแรงดึงดูดการอพยพเข้าเมือง
ประกอบกับที่ดินในเขตเมือง และปริมณฑลมีราคาสูงขึ้น และนักลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์จึงหันมาให้
ความสนใจในการสร้างอาคารสูง พร้อมไปกับกระแสความต้องการที่พัก และบ้านแห่งที่ 2 หรือ 3 ใน
เชียงใหม่ของคนกรุงเทพฯ หลังเหตุน้าท่วมใหญ่พ.ศ.2554 ยิ่งส่งผลให้เกิดการขยายตัวของโครงการ
อสังหาริมทรัพย์เพิ่มมากขึ้น การสร้างอาคารสูงนอกจากจะบดบังทัศนียภาพของเมืองแล้ว ยังส่งผลให้
เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเขตเมืองทวีความรุนแรงขึ้น
14
ปัญหาขยะ จากการประมวลข้อมูลทางสถิติพบว่าในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่มีปริมาณขยะ
เฉลี่ยต่อวันอยู่ที่ประมาณ 300 ตันต่อวัน (สวท.เชียงใหม่, 2557) ซึ่งเป็นขยะปริมาณมากและในบาง
ช่วงเวลา ระบบการจัดการขยะที่มีอยู่สามารถไม่รองรับและจัดการได้เท่าทัน จึงทาให้เกิดปัญหาขยะล้น
เมืองอยู่บ่อยครั้ง รวมถึงเกิดปัญหา “ขยะพเนจร” คือ การลักลอบนาขยะจากในเมืองไปทิ้งตามป่า พื้นที่
ดอย และในเขตอาเภอรอบนอก
พัฒนาการภาคประชาสังคมกับการพัฒนาเมืองเชียงใหม่
จากการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ พบว่าหลายต่อ
หลายครั้งมีการอ้างอิงถึงจุดเริ่มต้นการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมที่มีลักษณะเป็นรูปธรรม และ
สร้างแรงกระเพื่อมต่อสังคมโดยรวม จนกลายสภาพเป็นวาทกรรม ที่หยิบมาใช้และกล่าวถึงในเชิง
สัญลักษณ์อยู่บ่อยครั้ง คือ เหตุการณ์ครั้งการสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ ในปีพ.ศ. 2477-78 โดยมีครูบาเจ้า
ศรีวิชัยเป็นประธานพร้อมด้วยพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าปกครองเมืองเชียงใหม่ และหลวงศรีประกาศ ผู้ว่า
ราชการคนแรกของจังหวัดเชียงใหม่ การสร้างถนนขึ้นดอยในระยะทาง 11 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาเพียง
5 เดือนเศษ โดยไม่ใช้งบประมาณของรัฐ และไม่มีเครื่องมือหนัก แต่อาศัยการระดมแรงงานผู้คนจากทุก
สาระทิศที่การร่วมมือของประชาชนในครั้งนั้นประสบความสาเร็จลงได้อย่างน่าชื่นชม แม้ภายหลังจะมี
การจับกุมครูบาศรีวิชัย ในข้อหาปลุกระดมมวลชนให้บุกรุกพื้นที่ป่าสงวนฯ และตั้งตนเป็นผู้วิเศษเรี่ยไร
เงินชาวบ้าน จนเกิดการรวมตัวของภาคประชาชนเดินขบวนเรียกร้อง และการปล่อยตัวครูบาฯใน
ท้ายที่สุด
การรวมตัวของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ที่มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม และส่งผลต่อการ
พัฒนาเมืองในช่วงถัดมาได้แก่ การเรียกร้องมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างปี 2493-2503 โดยกลุ่มชน
ชั้นกลางผู้มีการศึกษา เช่น กลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น กลุ่มนักหนังสือพิมพ์ และกลุ่มทุนตระกูลนิมมาน
เหมินท์ ก่อนจะขยายตัวอย่างรวดเร็วไปสู่ประชาชนคนทั่วไปด้วย การพิมพ์เอกสารเผยแพร่ปลุกระดม
ให้คนเชียงใหม่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในกันเรียกร้อง จนเกิดเป็นกระแสสังคม และได้รับการสนองตอบจากรัฐ
ส่วนกลางในรูปแบบนโยบายเร่งด่วน จนเป็นที่มาของการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปี 2503 และ
เปิดทาการเรียนการสอนในปี 2507 ตามลาดับ
ในห้วงวิกฤตการณ์เมืองไทยในปี 2516-19 ภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่มีการขับเคลื่อนด้าน
การเมืองอย่างชัดเจน เหตุการณ์คล้ายคลึงกับการลอมปราบกลุ่มนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็
เกิดขึ้นกับนักศึกษา และประชาชนที่ต้องการเรียกร้องประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน แม้เหตุการณ์ไม่ใหญ่โต
เท่ากับที่ลานโพธิ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และท้องสนามหลวง แต่ก็ความรุนแรงถึงขั้นมีผู้เสียชีวิต ซึ่ง
ถือว่าเป็นข่าวดังไปทั่วเมือง นอกจากกลุ่มการเมืองที่มีความเคลื่อนไหวในช่วงดังกล่าว พื้นที่ในจังหวัด
เชียงใหม่ยังมีการรวมตัวของคนหนุ่มสาว ในนาม‘กลุ่มหนุ่มสาวเชียงใหม่’ ราวปี 2515 เป็นการรวมตัว
15
เพื่อกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา โดยอาศัยฐานศรัทธาวัดภาย
กลุ่มชุมชนของคนในหนุ่มสาว เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายภาคประชาชนในระดับจังหวัด และยังคง
ดาเนินงานด้านศาสนาและวัฒนธรรมจนถึงปัจจุบัน
อีกหนึ่งปรากฏการณ์ในช่วงปี พ.ศ.2500-20 คือการรวมกลุ่มของนักวิชาการ ผู้มีการศึกษา ที่มี
ความสนใจด้านล้านนาคดี นาโดยนายไกรศรี นิมมานเหมินท์ ผู้ริเริ่มก่อตั้ง ‘ชมรมจิ๊นลาบ’ เพื่อเป็น
กลุ่มชุมนุมกันของผู้ที่สนใจเรื่องราวดังกล่าว โดยมีนักวิชาการ และบุคคลสาคัญเข้าร่วม อาทิ นายทิว
วิชัยขัทคะ นายมณี พะยอมยงค์ นายดิษฐ์ ตันไพบูลย์ นายอุดม รุ่งเรืองศรี นายสิงฆะ วรรณศัย เป็นต้น
ต่อมาชมรมดังกล่าวได้เปลี่ยนชื่อเป็น ‘ชมรมล้านนาคดี’ มีบทบาทสาคัญในการกระตุ้นสังคมคน
เชียงใหม่ให้หันกลับมาให้ความสาคัญกับคุณค่า และมรดกของเมืองเชียงใหม่ รวมถึงวางรากฐานล้านนา
คดีศึกษาให้กว้างสู่การโลกการศึกษาสมัยใหม่
เหตุการณ์การรวมตัวครั้งสาคัญในลาดับต่อมาของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ เกิดขึ้นราว
พ.ศ.2529 ด้วยความกังวลของคนเชียงใหม่หลากหลายกลุ่มที่มีต่อโครงการกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอยสุเทพ
ของรัฐส่วนกลาง ตามแผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองเชียงใหม่ ความรู้สึกไม่เห็นด้วยต่อ
โครงการดังกล่าวของกลุ่มนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และพลเมืองโดยทั่วไปนาไปสู่การ
รวมกลุ่มก้อนมวลชน โดยการนาของ อ.ศิริชัย นฤมิตรเรขการ สถาปนิก และอาจารย์สาขา
สถาปัตยกรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายวรศักดิ์นิมานันท์ อดีตนักการเมืองท้องถิ่น
และเจ้าคุณโพธิรังสี รองเจ้าคณะจังหวัด และเจ้าอาวาสวัดพันตองขณะนั้น ได้รวบรวมผู้คนเดินขบวน
ประท้วงคัดค้านโครงการดังกล่าวจนเป็นผลสาเร็จ และโครงการได้ถูกระงับการดาเนินการในท้ายที่สุด
ความสาเร็จในคัดค้านโครงการของรัฐในครั้งนั้น คือ ต้นกาเนิดของการรวมตัวกลุ่มองค์กรภาค
ประชาสังคมที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองเชียงใหม่กว่า 10 ปีอย่าง ‘ชมรมเพื่อ
เชียงใหม่’ ชมรมฯได้เป็นแกนหลักสาคัญในการคัดค้านการสร้างคอนโดสูงบริเวณพื้นที่ริมน้าปิง โดย
อาศัยแนวทางการทางานในรูปแบบเดิม คือ การเป็นจิตอาสา และอาศัยการสร้างกิจกรรมให้คนได้เข้ามา
มีส่วนร่วม เช่น การเดินขบวนรณรงค์ การปราศรัย การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และพิธีกรรม
สาปแช่งตามความเชื่อของคนล้านนา เป็นต้น
นอกจากการก่อตั้งชมรมเพื่อเชียงใหม่แล้ว ในระยะเวลาไล่เลี่ย ได้เกิดกลุ่มองค์กรภาคประชา
สังคมที่มีความสนใจประเด็นเรื่องการพัฒนาเมืองเกิดขึ้นอีกจานวนหนึ่ง อาทิ ‘ศูนย์ศึกษาปัญหาเมือง
เชียงใหม่’ โดยกลุ่มนักวิชาการ นาโดยดร.ธเนศ เจริญเมือง ‘ชมรมจักรยานวันอาทิตย์’โดยการนา
ของ พ.ต.ต.อนุ เนินหาด ซึ่งดารงตาแหน่งรองสารวัตรจราจรฝ่ายเหนือขณะนั้น พร้อมไปกับการเกิดขึ้น
ของเวทีภาคประสังคมเมืองเชียงใหม่ในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง เช่น การคัดค้าน
การขยายถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ทับโบราณสถานวัดเจ็ดยอด การเตรียมความพร้อมและการจัดงานสมโภช
อายุเมืองเชียงใหม่ครบ 700 ปี ความพยายามในการจัดตั้ง ‘ประชาสังคมเชียงใหม่’ และ‘สภาเวียง
16
พิงค์’ ในนัยยะของการเป็นพื้นที่กลางให้เกิดการพูดคุยปรึกษาหารือระหว่างกลุ่มภาคประชาสังคม และ
ภาคส่วนอื่นๆในประเด็นการพัฒนาเมือง (ซึ่งภายหลังสลายตัวไปด้วยความไม่พร้อมหลายๆด้าน)
ทศวรรษ 2540 การขับเคลื่อนขององค์กรภาคประชาชนเมืองเชียงใหม่ มีแนวโน้มคึกคักขึ้นด้วย
แรงส่งของงานฉลองสมโภชอายุเมืองเชียงใหม่ 700 ปี ประเด็นการดาเนินงานที่เห็นเด่นชัดมีอยู่ด้วยกัน
2 กลุ่ม คือ 1. ประเด็นว่าด้วยการอนุรักษ์ และสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมล้านนา ซึ่งมีการทางาน
ร่วมกันของเครือข่ายนักวิชาการ นักพัฒนาเอกชน เครือข่ายครูภูมิปัญญา จนสามารถคับเคลื่อนการ
จัดตั้ง‘โฮงเฮียนสืบสานล้านนา’ ในปี 2545 นอกจากเคลื่อนตัวของกลุ่มนักวิชาการแล้ว ในกลุ่ม
ชาวบ้านในเขตเมืองเชียงใหม่ ก็มีการจัดตั้งกลุ่มอย่าง ‘กลุ่มอนุรักษ์วัดเกต’ ในราวปีพ.ศ. 2542 เพื่อ
ดาเนินการอนุรักษ์อาคารที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม อีกกลุ่มคือ ‘ชมรมหัตถศิลป์ วัดศรีสุพรรณ’
เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มบ้านช่างโลหะดุนลายย่านวัวลาย ในประเด็นที่ 2. การเคลื่อนไหวของกลุ่ม
ภาคประชาสังคมในประเด็นการคัดค้านโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยภาครัฐ อาทิ การสร้างทาง
ยกระดับบริเวณทางแยกถนนมหิดล โครงการสร้างอาคารเทศบาลนครเชียงใหม่ซึ่งมีความสูงถึง 22.9
เมตร บนพื้นที่ติดริมฝั่งแม่น้าปิง และโครงการสร้างกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอยหลวงเชียงดาว รวมถึงการ
คัดค้านการขยายถนนตามร่างประกาศผังเมืองปี 2550 เป็นต้น ในช่วงท้ายของทศวรรษปี 2540 ได้มี
การก่อตั้ง ‘ภาคีคนฮักเจียงใหม่’ ขึ้นในปีพ.ศ.2548 เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายภาคประชาสังคมในการ
ขับเคลื่อนการคัดค้านโครงการขนาดใหญ่ของรัฐที่มีการวางแผนไว้วางจะดาเนินการก่อสร้างในอนาคต
อาทิ โครงการไนท์ซาฟารี โครงการกระเช้าลอยฟ้า และโครงการเมกะโปรเจคอื่นๆ นอกจากนี้ยังมี
ปัญหาเรื่องความขัดแย้งในทางความคิดทางการเมืองของคนในพื้นที่ จนบางปลายไปสู่การใช้ความ
รุนแรงระหว่างภาคประชาชน 2 กลุ่มคือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง และกลุ่มคนเสื้อแดง อันเป็นชนวนเหตุให้
เกิดความขัดแย้งร้าวลึกในกลุ่มภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ และความเคลื่อนไหวในเรื่องการพัฒนา
เมืองที่เคยคึกคักเป็นอันต้องซบเซา และยุติบทบาทลงเพราะความเปราะบางของสถานการณ์บ้านเมือง
และการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายของคนในพื้นที่
ปี 2550-ปัจจุบัน ด้วยมูลเหตุความขัดแย้งทางการเมืองทั้งในระดับท้องถิ่น และในระดับประเทศ
นามาสู่ภาวการณ์เปลี่ยนถ่ายจากการดาเนินกิจกรรมในลักษณะการขับเคลื่อนร่วมกันเป็นเครือข่าย
ขนาดใหญ่ กลุ่มภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ได้หันกลับไปจับประเด็นเฉพาะทางอย่างประเด็นการ
อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม การดูแลรักษาชุมชนขนาดเล็ก การณรงค์เรื่องสิ่งแวดล้อม และพื้นที่สีเขียว
ในเขตเมือง พร้อมไปกับการเกิดขึ้นของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมรุ่นใหม่ อาทิ เครือข่ายเชียงใหม่
เขียว สวย หอม, ชมรมชาวนิมมานเหมินท์, กลุ่มสถาปนิกคนใจบ้าน,สถาบันการจัดการทาง
สังคม, โครงการฟื้นบ้าน ย่าน เวียงเชียงใหม่, และ เครือข่ายชุมชนเมืองรักษ์เชียงใหม่ โดยกลุ่ม
องค์กรภาคประชาสังคมทั้งหมดอาศัยพื้นฐานการทางานแบบจิตอาสา และส่วนใหญ่รับเงินอุดหนุนจาก
หน่วยงานองค์กรภาครัฐ ทั้งส่วนกลาง และส่วนท้องถิ่น
17
ทางเลือกในการพัฒนาเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
จากการศึกษาพบว่า รูปแบบพัฒนาการ และการเคลื่อนตัวของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
มีการส่งทอดต่องานกันในแต่ละช่วงเวลา ผ่านบทบาทการนาขบวนโดยกลุ่มคนในสังคมที่มีบทบาทและ
สถานะแตกต่างกันไปในช่วงแรกของการพัฒนาเมือง (ระยะที่ 1 ปีพ.ศ. 2470-2520) คือ กลุ่มชนชั้นนา
อาทิ นักการเมืองท้องถิ่น พ่อค้า คหบดีผู้มีการศึกษา และกลุ่มทุนของชั้นนาในสังคม โดยมีเป้าหมาย
เพื่อการพัฒนาความเจริญ และโอกาสให้แก่เมืองเชียงใหม่ และฐานความสนใจในประเด็นด้านวิชาการที่
เกี่ยวข้องกับเมือง สู่ระยะที่ 2 (พ.ศ.2520-49) เป็นการนาของขบวนภาคประชาสังคมโดยกลุ่มปัญญาชน
ผู้มีการศึกษา และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายในการผลักดันองค์ความรู้ด้านวิชาการ
ให้มีบทบาทในการตัดสินใจ ออกแบบ และกาหนดความเปลี่ยนแปลงของเมือง รวมไปถึงการจัดการ
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเมืองอย่างไร้ทิศทาง และการอนุรักษ์คุณค่าของเมืองในด้านประวัติศาสนา
และมรดกทางวัฒนธรรม ระยะที่ 3 (พ.ศ.2550- ปัจจุบัน) เป็นการนาขบวนโดยกลุ่มภาคประชาสังคมที่
ไม่อาจมองหาหัวขบวนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ 2 ระยะแรก ซึ่งหมายถึงคนทั่วไปในเมือง ไม่ว่าจะเป็น
ชาวบ้านในชุมชนขนาดเล็ก นักวิชาการ พระสงฆ์ หรือแม้แต่กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ที่มีความสนใจใน
เรื่องการพัฒนาเมือง สามารถลุกขึ้นมามีบทบาทสาคัญในการเป็นผู้นาในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง
ในประเด็นที่ตนเองสนใจ ซึ่งมีความหลากหลายและเฉพาะทางมาขึ้น อย่างไรก็ดีการดาเนินงานยังคง
เน้นย้าการร่วมไม้ร่วมมือ การมีส่วนร่วม การต่อรองทางอานาจ ที่มุ่งไปสู่การพัฒนาเมืองพร้อมไปกับ
ความพยายามสร้างแนวระนาบที่เท่าเทียม และเลื่อนไหลเชื่อมต่อหากัน เท่าทันกันในทุกประเด็น เป็น
การพึงพาอาศัยกันมากกว่าการเรียกร้อง หรือคัดค้านดังเช่นแต่ก่อน ทาให้บทบาทและหน้าที่ตามที่
สังคมให้กรอบเอาไว้ จึงเริ่มเห็นกลุ่มคนที่ทาหน้าที่หรือมีบทบาทรับผิดชอบเช่น เจ้าหน้าที่รัฐ เริ่มเข้ามา
มีส่วนร่วมในฐานะปัจเจกในการเข้าร่วมกิจกรรม ตามแรงขับความสนใจส่วนบุคคล อันนาไปสู่การ
รวมกลุ่มในฐานะปัจเจกบุคคลกับปัจเจกบุคคลที่มีอุดมการณ์ และความคิดเห็นร่วมกันที่เริ่มชัดเจน และมี
พลังมากขึ้น ยังผลให้เมืองเชียงใหม่ปัจจุบันเต็มไปด้วยกลุ่มพลเมืองอาสา (Active Citizen) ตั้งแต่ระดับ
ชุมชนขนาดเล็กไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกันผ่าน ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการ
ร่วมงานกันตามวาระโอกาสซึ่งมีไม่บ่อยครั้งนัก สายสัมพันธ์ และการรวมตัวกันได้ตามวาระและประเด็น
ถือได้ว่าเป็นผลดีต่อการทางานเคลื่อนไหวการพัฒนาเมืองในระดับหนึ่ง เหตุด้วยกลุ่มภาคประชาสังคม
ส่วนใหญ่สามารถติดต่อประสานงาน และแสวงหาความร่วมมือ และการสนับสนุนได้อย่างรวดเร็ว และ
คล่องตัว จึงเป็นผลดียิ่งต่อการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า รวมไปถึงโอกาส และความเป็นไปได้ในการ
กาหนดนโยบายการพัฒนาเมืองต่อไปในอนาคต
จากภาวการณ์ดังที่กล่าวมาข้างต้น สิ่งที่ขาดพร่องไปในการดาเนินงานขับเคลื่อนภาคประชา
สังคมกับการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ปัจจุบัน คือ โอกาส และพื้นที่กลางในเชื่อมร้อยกลุ่มคนพลเมืองอาสา
และองค์กรหลากหลายขนาดที่มีอยู่ทั่วไปด้วยให้เกิดเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง การทางานในลักษณะ
ประเด็นเฉพาะทาง หรือปลีกย่อยในชุมชน หรือในมุมของตนเองนั้นมีข้อดีอยู่คือ ความเข้มแข็งทั้งใน
18
เรื่องคุณภาพงาน และการสร้างเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมาย เพียงแต่ประเด็นพัฒนาในภาพรวมของเมือง
เชียงใหม่ยังคงไม่ถูกขับเคลื่อน หรือลงมือทา ดังนั้นหากจะพิจารณาเรื่องการพัฒนาเมืองเชียงใหม่
โดยตั้งเอาการขับเคลื่อนการพัฒนาโดยภาคประชาสังคมเป็นโจทย์หลัก ทางเลือกของการ
พัฒนาเมือง ก็คงมีอยู่เพียงทางเลือกเดียว คือ การพัฒนาพื้นที่กลางในการทางานในระนาบที่
เท่าเทียมกัน และการพัฒนากลไกการทางานร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับงานการพัฒนา
เมือง ให้เกิดขึ้นจริง และเข้มแข็ง ปราศจากปัญหาเรื่องผลประโยชน์ และการเมือง พื้นที่กลางใน
การทางานดังกล่าวควรประกอบขึ้นจากกลไกที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการทั้ง คณะทางาน,
ทุน, รูปแบบการทางาน, การเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ และขยายขีดความสามารถของสมาชิก
พร้อมไปกับการตระหนักถึง ทิศทางการทางานในอนาคต ผ่านการวางแผน และการดาเนินงาน
ด้านการพัฒนาเมืองอย่างมีวาระ ภายใต้ความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน และทุกฝ่ายต่างมีบทบาท
ในการกาหนดวิสัยทัศน์ และการปฏิบัติการพัฒนาเมืองในระดับภาพรวมของเมืองเชียงใหม่
19
เกริ่นนา
ที่มาและความสาคัญ
จากนโยบายการพัฒนาประเทศนับจากการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ พ.ศ. 2504
เมืองหลักในภูมิภาคต่างถูกผลักดันให้ได้รับการพัฒนา ทั้งด้านกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ
เมืองเชียงใหม่ คือ หนึ่งในเมืองหลักของภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายดังกล่าวโดยตรง
และกาลังจะต้องเผชิญหน้ากับก้าวย่างสาคัญของการพัฒนาในระดับภูมิภาค จากนโยบายเพื่อมุ่งขยาย
ความร่วมมือกับเมืองอื่นๆในประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้จากนโยบาย และ
โครงการพัฒนา อาทิ การเปิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน (AEC) การพัฒนา
โครงข่ายการคมนาคมภายในภูมิภาคเพื่อรองรับโลจิสติกส์ที่ถูกกาหนดตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ
ใต้ และความเปลี่ยนแปลงของสังคมอันเกิดจากการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีการ
ติดต่อสื่อสาร
บทบาทหน้าที่ของเมืองหลักในภูมิภาคอย่างเมืองเชียงใหม่จึงมีความสาคัญ และมีทวีความ
ซับซ้อนยิ่งขึ้น สอดคล้องกับการพัฒนากลไกของรัฐในเรื่องการกระจายอานาจ บทบาทขององค์การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น และความเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคม ที่เริ่มปรากฏรูปรอยการดาเนินงาน และ
ผลสัมฤทธิ์ทั้งด้านนโยบาย และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม อย่างที่ไม่เคย
เป็นมาก่อน
อย่างไรก็ดี ความเจริญและบทบาทจากการกระจายอานาจสู่ส่วนท้องถิ่นที่เริ่มเห็นผลมากยิ่งขึ้น
ยังคงเป็นคาถามที่น่าสนใจ ถึงความเหมาะสมในเรื่องของสมดุลระหว่างการพัฒนา กับการอนุรักษ์ดูแล
รักษาต้นทุนของเมืองให้คงอยู่ เป็นคาถามที่เมืองเชียงใหม่ และคนเชียงใหม่ในทุกภาคส่วนต่างพยายาม
ค้นหา ในภาวะที่เมืองถูกพัฒนาอย่างรวดเร็วและรุนแรง จนหลายฝ่ายที่คลุกคลีและเฝ้าสังเกตการเติบโต
ของเมืองถึงกับมีมุมมองว่า เมืองเชียงใหม่ได้เดินทางมาถึงจุดที่การพัฒนาและความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
“แบบรั้งไม่หยุด ฉุดไม่อยู่” ตัวอย่างการเติบโตและพัฒนาเมืองที่เห็นเด่นชัด เช่น การเติบโตของธุรกิจ
อสังหาริมทรัพย์ ทั้งโครงการบ้านจัดสรร และคอนโดมิเนียมตามแนวรัศมีถนนรอบตัวเมือง การผุดขึ้น
ของห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ในทุกทิศทุกทาง การอพยพย้ายพื้นที่ของผู้คนที่มองหาที่อยู่อาศัยใน
ลักษณะบ้านหลังที่สอง การหลั่งไหลของแรงงานต่างชาติ รวมถึงคลื่นนักท่องเที่ยวเอเชียที่ทายอดสูงขึ้น
ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา
แม้ความเปลี่ยนแปลงบางอย่างดังที่กล่าวมา อาจส่งผลกระทบทางบวกแก่ภาพรวมทาง
เศรษฐกิจของจังหวัด แต่ในขณะเดี่ยวกันผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และ
การเป็นอยู่ของผู้คนในเขตเมือง เช่น ปรากฏการณ์การจราจรติดขัดเป็นเวลานานในชั่วโมงเร่งด่วน
ปัญหาเรื่องการกาจัดขยะ สภาพแวดล้อมโดยรวมของเมืองแย่ลง และการสูญเสียอัตลักษณ์ วิถีชีวิต สาย
สัมพันธ์ทางสังคมไปกับความเป็นเมืองใหญ่ ฯลฯ ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ส่งผลกระทบอย่างกว้างขว้างแก่
20
คุณภาพชีวิตของคนเชียงใหม่ โดยเฉพาะพื้นที่เมืองเก่าเชียงใหม่ และปริมณฑล ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มี
ความสาคัญด้วยคุณค่า และความหมายในด้านคุณค่าทางประวัติศาสตร์ คุณค่าทางมรดกทางวัฒนธรรม
ที่สืบถอดกันมาแต่อดีต คุณค่าในด้านการเป็นที่อยู่อาศัย และศูนย์กลางธุรกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเพื่อที่จะศึกษาและประมวลพัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่
เพื่อทาความเข้าใจพื้นที่ทั้งในเชิงคุณค่าทางกายภาพ คุณค่าในด้านสังคม และเศรษฐกิจในเชิงบทบาท
หน้าที่ของเมือง และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามมาอันเนื่องมาจากนโยบาย และการพัฒนาที่ส่งผล
กระทบต่อประชาชนที่อยู่อาศัยในเมือง การศึกษาครั้งนี้ยังมุ่งที่จะรวบรวม และสังเคราะห์สภาวะการ
พัฒนาการรวมตัว การขับเคลื่อน และก่อร่างสร้างแนวคิดการพัฒนา และกระบวนการดูแลเมืองโดยภาค
ประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ เพื่อนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางพัฒนาเมืองเชียงใหม่ใน
อนาคตโดยการผลักดันจากภาคประชาสังคมต่อไป
วัตถุประสงค์
1) ศึกษา และประมวลพัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่แต่ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน
เพื่อสังเคราะห์ และสรุปความเปลี่ยนแปลง ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเมือง และผู้ที่อยู่อาศัย
2) ศึกษาพัฒนาการภาคประชาสังคมกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองเชียงใหม่
3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาเมืองโดยการขับเคลื่อนการพัฒนาโดยภาคประชาสังคม
ระยะเวลา
ระยะเวลาดาเนินการ 5 เดือน (24 พฤศจิกายน 2557 ถึง 24 เมษายน 2558)
21
ตารางที่ ก. แผนการดาเนินงาน
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ได้กาหนดขอบเขตการวิจัยไว้ดังนี้
ขอบเขตด้านกายภาพ คือ พื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ 40.21 ตร.กม.
ครอบคุลมพื้นที่ทั้งหมด 15 ตาบล มีจานวนครัวเรือนทั้งหมด 81,025 หลังคาเรือน และเทศบาลตาบล
ช้างเผือก รวมถึงบางส่วนของพื้นที่เทศบาลตาบลสุเทพ และเทศบาลตาบลป่าแดด
ขอบเขตด้านเนื้อหา คือ มุ่งศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการความเป็นเมืองของพื้นที่
เมืองเชียงใหม่ ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ได้ให้นิยามคาว่าพื้นที่เมืองเชียงใหม่ หมายถึง พื้นที่ในเขตเทศบาล
นครเชียงใหม่ และพื้นปริมณฑลเมือง
ผลการวิจัยในช่วง 2 เดือนแรก ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาตามวัตถุประสงค์งานวิจัย โดยการทบทวน
วรรณกรรม และการเก็บข้อมูลภาคสนามในประเด็นต่อไปนี้
1) การพัฒนาความเป็นเมืองของเชียงใหม่จากอดีตที่ผ่านมา (จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
แห่งชาติ ฉบับที่ 1 / 2504 จนถึงปัจจุบัน)
2) อัตลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ และมโนทัศน์ตัวตน”คนเมือง” เชียงใหม่
3) สภาพปัญหาของเชียงใหม่ในปัจจุบัน
แผนการดาเนินงานวิจัย
เดือน
ธ.ค. 57 ม.ค.58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย.58
1. การทบทวนเอกสาร ผลการศึกษาและกาหนด
แผนการวิจัย เพื่อศึกษาการพัฒนาความเป็นเมือง
ของเชียงใหม่
2. สารวจเก็บข้อมูลภาคสนาม
สิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม และ
หลักฐานการพัฒนาเมืองเชียงใหม่
3 สัมภาษณ์หน่วยงาน องค์กร
หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง
เชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่
4. การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
5. จัดทาร่างรายงานวิจัย
6. การจัดทา และส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
22
4) แผนการดาเนินงานในขั้นตอนต่อไป
แผนที่ ก. พื้นที่ศึกษา ขนาด 93.08 ตร.กม. (58,178 ไร่)
(เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลตาบลช้างเผือก บางส่วนของเทศบาลตาบลสุเทพ และเทศบาลตาบลป่าแดด)
แผนที่ที่ ก พื้นที่ศึกษา
23
บทที่ 1
พัฒนาการเมือง สภาพปัจจุบัน และตัวตนคนเมืองเชียงใหม่
1.1 พัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่
จากการทบทวนวรรณกรรม เพื่อการศึกษา ค้นคว้า และการทาความเข้าใจในประเด็นการพัฒนา
เมืองเชียงใหม่จากอดีตจนถึงปัจจุบัน นักวิจัยพบว่า ประเด็นพัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่
มีการศึกษาไว้อย่างครอบคลุม และรอบด้าน โดยนักวิชาการท้องถิ่นซึ่งมีบทบาทต่อการพัฒนาเมือง
เชียงใหม่ในห้วงเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ผลการศึกษาส่วนใหญ่ แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้วยปัจจัย
สาคัญ 2 อย่าง 1.ความสัมพันธ์ของอานาจทางการเมือง ที่มีผลต่อการกาหนดนโยบายอันจะนาไปสู่การ
เปลี่ยนแปลงของเมือง และ 2.ผลพวงจากโครงการพัฒนาที่กระตุ้นให้เกิดความเป็นเมือง และการ
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางกายภาพของเมือง ทั้งที่เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นเอง ปราศจากการควบคุมใน
ระยะต้น และเริ่มถูกจากัด และควบคุมด้วยมาตรการกลไกทางกฎหมาย
ความเปลี่ยนแปลงอันมีต้นเหตุจากปัจจัยข้างต้น แสดงผลลัพธ์ให้เห็นทั้งในด้านกายภาพ และ
สังคม ปรากฏการณ์ที่เห็นเด่นชัดในด้านกายภาพเมือง ได้แก่ การตั้งถิ่นฐานใหม่ รูปแบบการตั้งย่าน
ชุมชน และเมืองตามองค์ความรู้ ความเชื่อ และวัตถุประสงค์ตามยุคสมัย การสร้าง และการปรับปรุง
ลักษณะกายภาพเดิมตามนโยบายของผู้นา และการขยายตัวของการใช้ที่ดินรูปแบบต่างๆตามนโยบาย
การพัฒนาเมือง
ในด้านสังคม ได้แก่ การย้ายถิ่นของกลุ่มคน การแต่งงานข้ามชาติพันธุ์ หรือระหว่างคนต่างพื้นที่
ต่างวัฒนธรรมอันนาไปสู่การปะทะสังสรรค์ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม การเกิดขึ้น
และเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลต่อวิถีชีวิต ความคิด และมโนทัศน์ของคนในเมือง
ต่อคุณค่าและความหมายของชีวิต และสิ่งรอบๆตัว
จากการประมวล และสังเคราะห์ เนื้อหาว่าด้วย พัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่
ผู้วิจัยพบว่าเมืองเชียงใหม่มีพัฒนาการความเป็นเมือง ซึ่งสามารถถูกแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลา ดังนี้
1.1 ช่วงที่ 1 : ก่อตั้งเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.1835-1839)
ตามตานานการสร้างเมืองเชียงใหม่ พระญามังราย ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย ทรง
สร้างเมืองเชียงใหม่ให้เป็นราชธานีในปี พ.ศ.1839 พัฒนาการที่สาคัญของความเป็นเมืองของเมือง
เชียงใหม่ในช่วงการก่อตั้งเมืองอยู่ที่การวางบทบาทของเมืองในฐานะราชธานีใหม่ ให้เป็นทั้งศูนย์กลาง
ทั้งในด้านการปกครอง และการค้า ปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของเมืองเชียงใหม่ คือ
การมีชัยภูมิที่ดี มีลักษณะสอดคล้องกับความเชื่อ และคุณลักษณะทางกายภาพที่โดดเด่น ซึ่งช่วย
ส่งเสริมการพัฒนาเมืองในยุคต่อมา อาทิ ทาเลที่ตั้งอยู่บนที่ราบขนาดใหญ่ ทาให้เมืองสามารถขยายตัว
24
ได้ง่ายในอนาคต ตัวเมืองอยู่บนที่ดอนไม่มีปัญหาเรื่องน้าท่วม มีลักษณะลาดเทจากตะวันตก ไป
ตะวันออก มีลาห้วยและคลองหลายสายเป็นพื้นที่รับน้า เพราะตั้งอยู่ระหว่างภูเขา(ดอยสุเทพ) และแม่น้า
สายใหญ่(แม่น้าปิง) เอื้อประโยชน์ทั้งในเรื่องการจัดสรรทรัพยากร น้า ป่า การเกษตร รวมถึงเอื้อ
ประโยชน์ในด้านการคมนาคม และความมั่นคงในเชิงยุทธศาสตร์การทหาร การจัดการที่ดินในเขตเมือง
ถูกวางไว้อย่างเป็นระบบตามความเชื่อเรื่องทิศมงคล ความเชื่อเรื่องเมืองเป็นสิ่งมีชีวิต และการป้องกัน
เมือง เช่น ในเขตเมืองเชียงใหม่ที่มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าตามคติการสร้างเมืองที่ได้รับอิทธิพล
จากอินเดียและเขมร ภายในเขตกาแพงเมืองเป็นพื้นที่ประทับของกษัตริย์ และข้าราชบริพารใกล้ชิด
รวมถึงตลาดการค้าที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ข่วง(ลานโล่งสาธารณะ) ไม่ไกลจากที่ประทับ ส่วนภายนอกซึ่งเป็น
พื้นที่ต่ากว่า ถูกจัดวางให้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของไพร่ และพื้นที่ทาการเกษตร เป็นต้น
รูปที่ 1.1 แสดงพัฒนาการสัณฐานเมืองเก่า
25
รูปที่ 1.2 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่
รูปที่ 1.3 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่ และการใช้พื้นที่ในเขตเมือง (พ.ศ.1835-1839)
26
1.2 ช่วงที่ 2 : เมืองเชียงใหม่ในราชวงศ์มังราย และภายใต้การปกครองของพม่า
(พ.ศ.1839-2317)
หลังจากการตั้งเมือง เมืองเชียงใหม่ได้รับการพัฒนา และเสื่อมถอยตามยุคสมัย ยุคที่รุ่งเรื่อง
ที่สุด คือ รัชสมัยของพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ.1985-2030)ด้วยพระราชอาณาจักรของพระองค์ขยาย
ออกไปจนถึงเมืองทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนปัจจุบัน บางส่วนในลาว และพม่า อีกทั้งยังมี
การสังคยานาพระไตรปิฎกครั้งที่ 8 ที่วัดเจ็ดยอด ความรุ่งเรืองของศาสนาเป็นตัวสะท้อนแสดงออกถึง
ภาวะอยู่ดีกินดีของคนในเมือง และในยุคสมัยของพระองค์ได้มีการสร้างกาแพงเมืองชั้นนอกเพื่อป้องกัน
ศัตรู เป็นหลักฐานอนุมานได้ว่า พื้นที่อยู่อาศัยที่มีความสาคัญและมีบทบาทกับเมืองได้ขยายตัวออกไป
จากเขตเมืองเก่า และเป็นส่วนที่ควรได้รับการปกป้องจากภัยสงคราม
หลังจากรัชสมัยของพระญาติโลกราชความเข้มแข็งของราชวงศ์มังรายในการดูแล
ราชอาณาจักรเริ่มเสื่อมถอยลงตามลาดับ ทาให้เมืองเชียงใหม่ถูกตีแตกด้วยทัพพม่า นาโดยพระเจ้า
บุเรงนองในราวปี พ.ศ.2101 การเข้าครองเมืองเชียงใหม่ของพม่าครั้งนั้นยังส่งผลให้เกิดความ
เปลี่ยนแปลง และการซึมซับรับเอาวัฒนธรรมของพม่าไว้หลากหลายอย่าง อาทิ มีการสร้างเจดีย์รูปแบบ
ผสมศิลปะพุกามและศิลปะล้านนาไว้เป็นจานวนมากทั้งในเขตเมือง และศาสนาสถานสาคัญทั่วจังหวัด
การรับเอางานพุทธศิลป์แบบพุกามเข้าประดับตกแต่งวัดวา รวมไปถึงรูปแบบของภาษา และวัฒนธรรม
อาหาร
รูปที่ 1.4 แสดงความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และสังคมของเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.1839-2317)
27
1.3 ช่วงที่ 3 : หลังการเป็นเอกราชจากพม่า ยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง (พ.ศ.2317-2400)
หลังจากการรบขับไล่พม่าออกจากเมืองร่วมกับกรุงธนบุรี เมืองเชียงใหม่มีสภาพทรุดโทรม
เสียหายอย่างหนักยากต่อการฟื้นฟู เมืองจึงถูกละทิ้งปล่อยให้ดารงอยู่ตามสภาพ จนในรัชสมัยสมเด็จ
พระเจ้าพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขึ้นครองราชย์ ได้ดาเนินการปกครองเชียงใหม่ในฐานะหัวเมืองประเทศราช
และมอบหมายให้พระยากาวิละเจ้าเมืองลาปางไปครองเมืองเชียงใหม่ราวปี พ.ศ.2325 ในฐานะเจ้าผู้
ครองนคร พระยากาวิละได้ดารินโยบาย “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” โดยการยกทัพไปตีหัวเมืองทาง
เหนือในเขตสิบสองปันนา และกวาดต้อนผู้คนมาเทครัวเพื่อการฟื้นฟูเมือง เกิดการตั้งถิ่นฐานของคน
กลุ่มใหม่ในพื้นที่เขตเมืองเก่าชั้นนอก และพื้นที่โดยรอบเขตเมือง โดยคัดเลือกให้ชุมชนที่มีองค์ความรู้
เชิงช่างได้อยู่ใกล้ๆแนวกาแพงเมืองเผื่อความสะดวกในการใช้สอย กลุ่มคนดังกล่าวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท
ได้แก่ ไทลื้อ ไทขึน ไทยอง ที่แม้จะอพยพมาจากบ้านเกิดแต่ก็ยังคงรักษาภูมิปัญญาและองค์ความรู้เชิง
ช่าง และตั้งชื่อหมู่บ้านตามชื่อหมู่บ้านเดิม เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เมืองเชียงใหม่ เกิดคุณลักษณะ
ของการเป็นเมืองที่มีความหลากหลาย และรุ่มรวยทางวัฒนธรรม ความเชื่อ และองค์ความรู้ งานช่าง
ที่มาพร้อมกับกลุ่มคนเหล่านี้กลายเป็นต้นทุนด้านหัตถกรรม และการท่องเที่ยวในยุคปัจจุบัน
รูปที่ 1.5 แสดงที่ตั้งของกลุ่มคนในเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2317-2400)
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม

More Related Content

What's hot

รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าโครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าChotiwat Lertpasnawat
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาSophinyaDara
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาYui Yuyee
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์chaiwat vichianchai
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"Jaru O-not
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 

What's hot (20)

รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าโครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
 
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 

Viewers also liked

เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวผลกระทบทางการท่องเที่ยว
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวM0857559979
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญKrudoremon
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง kasetpcc
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาThawiwat Khongtor
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 

Viewers also liked (20)

เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมPPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
PPT อนาคตเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวผลกระทบทางการท่องเที่ยว
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว
 
Tqa panisara
Tqa panisaraTqa panisara
Tqa panisara
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
Test
TestTest
Test
 
T006
T006T006
T006
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม

  • 2. 2 สารบัญ เรื่อง หน้า สารบัญ 2 สารบัญตาราง 4 สารบัญรูป 5 สารบัญแผนที่ 7 สารบัญแผนภูมิ 8 สารบัญแผนผัง 9 บทสรุปผู้บริหาร 11 เกริ่นนา 19 บทที่ 1 23 1.1 พัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ 24 1.2 อัตลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ และมโนทัศน์ตัวตน ”คนเมือง” เชียงใหม่ 34 1.3 สภาพปัญหาของเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน 57 บทที่ 2 66 2.1 พัฒนาการ และปัจจัยที่ทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ 67 โดยภาคประชาสังคม บทที่ 3 92 3.1 ภาคีคนฮักเมืองเชียงใหม่ 92 3.2 มูลนิธิสถาบันพัฒนาเมือง 94 3.3 โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา 95 3.4 ภาคีฟื้นบ้าน ย่าน เวียงเชียงใหม่ 97 3.5 เครือข่ายชุมชนเมืองรักษ์เชียงใหม่ 98 3.6 ชมรมชาวนิมมานเหมินท์ 99 3.7 กลุ่มสถาปนิก คน.ใจ.บ้าน 100 3.8 กลุ่มเครือข่ายเชียงใหม่เขียว สวย หอม 102 3.9 กลุ่มละครกั๊บไฟ 103 3.10 การพิจารณา แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือ แผนพัฒนาเทศบาล 107 นครเชียงใหม่ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงใหม่
  • 3. 3 สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ 4 112 4.1 เป้าหมายของการดาเนินงาน 112 4.2 ความสอดคล้องกับประเด็นความเร่งด่วนในการพัฒนาเมือง 114 4.3 รูปแบบการดาเนินงาน และกลไก 115 4.4 ผลสัมฤทธิ์การยกระดับสู่วาระของเมือง และความยั่งยืน 119 บทที่ 5 121 5.1 ทางเลือกและแนวทางการพัฒนาเมืองเชียงใหม่โดยาภาคประชาชน 122 5.2 ข้อเสนอแนะอนาคตเมืองเชียงใหม่ในการขับเคลื่อนการพัฒนา 123 โดยภาคประชาสังคม บรรณานุกรม 127
  • 4. 4 สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ก. แผนการดาเนินงานตลอดโครงการวิจัย 21 1.1 แสดงความคิดเห็นของคนเชียงใหม่ต่อตัวตน “คนเมือง” 55 1.2 ปริมาณขยะจากชุมชนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 64 2.1 สรุปพัฒนาการการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม 87 3.1 เป้าหมายการดาเนินงานกรณีศึกษากลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมเมือง 105 เชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2588 3.2 ยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 107 (พ.ศ.2557-2560) 3.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ประเด็นยุทธศาสตร์ 108 การพัฒนา 5 ประเด็น แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ 4 ปี (พ.ศ.2558-2562) 3.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่ 109 (พ.ศ. 2558-2560)
  • 5. 5 สารบัญรูป (1) รูปที่ หน้า 1.1 แสดงพัฒนาการสัณฐานเมืองเก่า 24 1.2 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่ 25 1.3 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่ และการใช้พื้นที่ในเขตเมือง (พ.ศ.1835-1839) 25 1.4 แสดงความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และสังคมของเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.1839-2317) 27 1.5 แสดงที่ตั้งของกลุ่มคนในเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2317-2400) 28 1.6 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่ ในช่วงก่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 1 30 1.7 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 1-3 30 1.8 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 4-6 31 1.9 แสดงสภาวการณ์ของเมืองเชียงใหม่ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 7-11 33 1.10 แผนที่เมืองเก่าเมืองเชียงใหม่ 36 1.11 ประตูท่าแพ 36 1.12 แจ่งศรีภูมิ (ป้อม) 36 1.13 ข่วง (ลาน) อนุสาวรีย์สาม 36 1.14 คูเมืองเชียงใหม่ 36 1.15 พื้นที่สีเขียวริมคูเมือง 36 1.16 สวนบวกหาด 36 1.17 วัดเก่าในเขตเมืองเก่า 37 1.18 บ้านเก่า 37 1.19 ตลาดเก่า 37 1.20 คลองแม่ข่า 37 1.21 คันดิน (กาแพงดิน) ชั้นนอก 37 1.22 อัตลักษณ์ด้านกายภาพของเมืองเชียงใหม่ 44 1.23 พัฒนาการของมโนทัศน์ตัวตน “คนเมือง” เชียงใหม่ 56 1.24 การเปลี่ยนแปลงของความร้อนในเขตเมืองเชียงใหม่ 61 2.1 การสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ นาโดยครูบาเจ้าศรีวิชัย พ.ศ. 2477-78 69
  • 6. 6 สารบัญรูป (2) รูปที่ หน้า 2.2 บัตรเรียกร้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาค ที่จังหวัดเชียงใหม่ 70 2.3 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2470-2520) 74 2.4-2.6 ภาพบรรยากาศการเดินขบวนคัดค้านการสร้างกระเช้าไฟฟ้า โดยกลุ่มพลเมืองชาวเชียงใหม่ ในวันที่ 24 พฤษภาคม 2529 76 2.7-2.9 ภาพบรรยากาศกิจกรรมการคัดค้านการสร้างคอนโดมีเนียม ของชมรมเพื่อเชียงใหม่ 76 2.10 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2530-2540) 78 2.11 ภาพอาคารศาลาบาตร ภายในวัดเกต อาคารเก่าหลังแรกที่ได้การบูรณะ 80 2.12 ภาพอุโบสถเงินวัดศรีสุพรรณ 80 2.13 ภาพสล่าช่างเงินวัดศรีสุพรรณ 80 2.14 ภาพการคัดค้านการขยายถนนในพื้นที่วัดเกต 82 2.15 ภาพความขัดแย้งกลุ่มเสื้อเหลือง-แดง เชียงใหม่ 82 2.16 ภาพการประชุมภาคีคนฮักดอยหลวงเชียงดาว 82 2.17 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2540-2550) 83 2.18 สรุปพัฒนาการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2550-2558(ปัจจุบัน)) 86 3.1-3.3 ภาพหนังสือไม่รักไม่บอก 94 3.4-3.6 ภาพบรรยากาศงานวันเด็กในสถาบันพัฒนาเมืองเชียงใหม่ 95 3.7-3.9 ภาพการเยี่ยมชมจากคณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านปลาดาว 95 อาเภอแม่แตง จานวน 63 คน 3.10-3.11 ภาพบรรยากาศกิจกรรมเสวนาหัวข้อ “จากคุ้มสู่คอก จากคอกสู่?” 95 3.12-3.14 ภาพบรรยากาศการเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ ประวัติ ตานาน 96 ความเชื่อ ประเพณียี่เป็ง 3.15-3.16 ภาพบรรยากาศการเรียนรู้จากผู้ที่สนใจ 96 3.17-3.18 ตัวอย่างโปสเตอร์เชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ 97 3.19-3.20 กิจกรรมฟ้อนเจิงฟ้อนดาบ 98 3.21-3.22 กิจกรรมห้องสมุดฟื้นบ้าน ย่าน เวียง 98
  • 7. 7 สารบัญรูป (3) รูปที่ หน้า 3.23-3.25 ภาพบรรยากาศงานไหว้สาพญามังราย ณ ข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ 99 ในวันที่ 12 เมษายน58 3.26 -3.28 ภาพบรรยากาศการอบรมนักเล่าเรื่องเมืองเก่า 99 3.29 -3.31 ภาพบรรยากาศการ อบรมศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนา 99 3.32-3.34 ภาพบรรยากาศการประชุม ประเด็น'จราจร' 100 และ 'มลภาวะทางเสียง' ตั้งแต่ทีมตารวจทุกคนนาโดย 3.35-3.37 งานออกแบบ และการมีส่วนร่วมของชุมชน 102 โครงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมริมคลองแม่ข่า ลาสาขา 3.38-3.39 งานฟื้นฟูชุมชนในเมืองเก่า โครงการฟื้นบ้าน ย่าน เวียงเชียงใหม่ 102 3.40 -3.42 ภาพบรรยากาศการทางานของหมอต้นไม้ 103 3.43 -3.44 โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมเวิร์กช็อปต่างๆ 103 ของเครือข่ายเขียวสวยหอม 3.45 ทีมอาสาสมัครกรีนเรนเจอร์ส่งผักปลอดสารและไข่สดอินทรีย์ 103 3.46 ภาพบรรยากาศการเรียนรู้ละครชุมชนเรื่องนกน้อยหัดบิน 104 3.47–3.48 ภาพบรรยากาศเทศกาลละคร ศิลปะ และวัฒนธรรม”ACT festival 104
  • 8. 8 สารบัญแผนที่ แผนที่ที่ หน้า ก. แผนที่พื้นที่ศึกษา 22 1.1 ตาแหน่งเมืองเก่าขนาดเล็ก (เวียง) ในปริมณฑลเมืองเชียงใหม่ 39 1.2 จินตภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตเมืองเชียงใหม่ปัจจุบัน 45 1.3 ตาแหน่งอาคารสูงในเมืองเชียงใหม่ 63
  • 9. 9 สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หน้า 1.1 สถิติรถยนต์ใหม่ (ป้ายแดง) พ.ศ.2551-2555 59 1.2 สถิติจานวนรถจดทะเบียนสะสม พ.ศ.2551-2555 59
  • 10. 10 สารบัญแผนผัง แผนผังที่ หน้า 4.1 เป้าหมายการดาเนินงานของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ 112 ปี พ.ศ.2558 4.2 เป้าหมายการดาเนินงานขององค์กรภาคประชาสังคมภายในเมืองเชียงใหม่ 123 ทั้ง 3 ระยะ 4.3 กลุ่มประเด็นการดาเนินงานขององค์ภาคประชาสังคมภายในเมืองเชียงใหม่ 114 ทั้ง 3 ระยะ 5.1 ผังการทางานองค์กรภาคประชาสังคม และกลไกกลาง 124
  • 11. 11 บทสรุปผู้บริหาร พัฒนาการการความเป็นเมืองเชียงใหม่ โดยภาพรวมความเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทสู่สังคมเมืองของเมืองในเขตภาคเหนือตอนบน มีลักษณะคล้ายคลึงกัน คือเป็นผลมาจากการปรับเปลี่ยนโยกย้ายฐานอานาจการปกครองเดิมสู่อานาจ ทางเศรษฐกิจใหม่ จากเจ้าผู้ครองนครสู่ชนชั้นสูง ไปสู่กลุ่มนายทุน ภายใต้ฉากหลังของการปรับปรุง รูปแบบและโครงสร้างการปกครองหัวเมืองประเทศราช สู่จังหวัดหนึ่งในสยาม และประเทศไทย ตามลาดับ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับเมืองอื่นๆตามภูมิภาคทั่วประเทศ เชียงใหม่ ในฐานะราชธานีแห่งอาณาจักรล้านนา และหนึ่งในหัวเมืองสาคัญทางเหนือของสยาม คือตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมชนบทสู่การเป็นสังคมเมืองที่ชัดเจน ตามร่องรอยความ เปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่ปรากฏในประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ในห้วง 100 ปี ที่ผ่าน อาทิ การ เปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจจากสังคมเกษตรกรรมที่มุ่งผลิตเพื่อบริโภคภายในพื้นที่ สู่การผลิตเพื่อ จาหน่ายและส่งขายกับเมืองอื่นเป็นสาคัญ การเปลี่ยนแปลงสกุลเงิน และรูปแบบการเก็บภาษีที่เคยใช้ จ่ายด้วยแรงงาน และทรัพยากรที่ผลิตได้เปลี่ยนเป็นเงินตรา ที่มาพร้อมกับความรุ่งเรืองของอุตสาหกรรม การค้าไม้กับต่างชาติที่ช่วยดึงดูดผู้คน แรงงานต่างชาติและการพัฒนาในรูปแบบอื่นๆ การพัฒนา โครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ทั้งระบบราง และระบบถนน ยังผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ ในทางกายภาพที่เห็นเด่นชัดได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จากพื้นที่เกษตรในเขตปริมณฑลเมือง เก่าปรับเปลี่ยนเป็นย่านการค้า และชุมชนใหม่ๆ ตามแนวถนนที่เชื่อมโยงระหว่างเมืองกับสถานีรถไฟ สถานีขนส่ง และถนนในแนวรัศมีที่พุ่งออกจากเมือง พร้อมไปกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมทั้งระบบ เศรษฐกิจ ที่เมืองต้องพึ่งพาระบบการค้า และการนาเข้าทรัพยากรจากภายนอกมากขึ้น ความต้องการ แรงงานในภาคธุรกิจมากขึ้น นามาสู่การหลั่งไหลของผู้คนจากชนบทในอาเภอรอบนอกเข้ามาหางานทา ในเขตเมือง เริ่มจากการทางานเป็นแรงงานชั่วคราวในช่วงเวลาว่างหลังฤดูเก็บเกี่ยว เปลี่ยนเป็นแรงงาน ประจาในเขตเมือง เป็นผลทาให้ความต้องการที่อยู่อาศัยในพื้นที่มีเพิ่มขึ้น ซึ่งกลายเป็นปัจจัยเร่งสาคัญที่ ทาให้เกิดการพัฒนาที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย และการเปลี่ยนโฉมหน้าของเมืองในอดีต สู่การเป็นเมือง ใหญ่ที่ทันสมัย ตามนโยบายการพัฒนาที่มั่งหวังให้เชียงใหม่เป็นเมืองหลัก และศูนย์กลางของภูมิภาค ภาคเหนือตอนบน อัตลักษณ์ของเมือง และ”คนเมือง” เชียงใหม่ แม้รูปแบบการพัฒนาเมืองของเมืองเชียงใหม่อาจไม่แตกต่างจากเมืองอื่นๆ ตามภูมิภาคของ ประเทศไทย แต่ภายใต้กระแสความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เมืองเชียงใหม่กลับมีความโดดเด่นที่ได้รับ การศึกษา ได้รับการกล่าวถึงอยู่เสมอ และเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการกาหนดแนวทางการ
  • 12. 12 พัฒนาเมือง และการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อการพัฒนาเมืองอย่างมีนัยยะสาคัญอยู่ 2 ประเด็น ได้แก่ 1) อัตลักษณ์ทางกายภาพของเมืองเก่า ย่านเก่า และย่านชุมชนในพื้นที่ขยายตัว 2) ความรู้สึกร่วมต่อตัวตน “คนเมือง” เชียงใหม่ ที่มีความเข้มแข็ง ทั้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และ ปฏิสัมพันธ์ต่อสังคมและเมืองโดยภาพรวม จากประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 719 ปี (เมืองเชียงใหม่สร้างขึ้นในปีพ.ศ.1839) ปัจจุบันเมือง เชียงใหม่ยังคงหลงเหลือแหล่งโบราณสถานและโบราณคดีที่แสดงออกถึงคุณลักษณะของการเป็นเมือง เก่าอย่างครบถ้วนคือ การมีคูน้า คันดิน กาแพงเมือง และประตูเมือง ที่ยังคงสภาพบางส่วนให้เห็น รูปทรงของเมืองในลักษณะสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส มีมุมเมือง (แจ่ง) หรือป้อมทั้งสี่มุม และประตูเมือง 5 ประตู รวมไปถึงการมีเมืองบริวารขนาดเล็ก และแหล่งโบราณคดีสาคัญรายรอบปริมณฑลเมือง ที่ยัง ปรากฏร่องรอยขอบเขตให้เห็นชัดเจน เช่น เวียงกุมกาม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ห่างจากเมือง เก่าเชียงใหม่เพียง 5 กม. เวียงเจ็ดริน เมืองหน้าด่านทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากเมืองเก่าราว 2 กม. เวียงสวนดอก เป็นเวียงศาสนาสาหรับพระสงฆ์อยู่ห่างจากเมืองเก่าราว 1 กม.ทางทิศตะวันตก และเวียง เฉียงโฉม (ปัจจุบันไม่ปรากฏแนวคูน้า คันดินแล้ว เหลือเพียงวัดเฉียงโฉมซึ่งสันนิษฐานกันว่า เป็นวัดที่ ตั้งอยู่ศูนย์กลางเวียง) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของห่างจากเมืองเก่าราว 1 กม. และหนองน้าโบราณขนาด ใหญ่ หนองบัวเจ็ดกอ ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองใกล้แจ่งศรีภูมิ ซึ่งปัจจุบันได้ตื้นเขิน เนื่องจากการทมดินเพื่อปรับพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัย และสร้างถนน นอกจากนี้ภายในเมืองเก่าเชียงใหม่ ยังคงหลงเหลือวัดโบราณอยู่ถึง 38 วัดในพื้นที่เมืองเก่าที่มีขนาดเพียง 3.2 ตร.กม. ในพื้นที่รอบเขตปริมณฑลเมืองเก่ายังปรากฏย่านเก่า และชุมชนดั้งเดิมที่มีประวัติศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง และมีคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ร่วมสมัย และความผูกพันทางใจของผู้คน ในย่าน เช่น ย่านชุมชนเก่าในเขตกาแพงเมืองชั้นนอก ย่านชุมชนเก่าริมน้า อย่างย่านกาดหลวง และ ย่านวัดเกต รวมถึงย่านอาคารพาณิชย์ริมถนน เช่น ย่านช้างม่อย ย่านท่าแพ ย่านสันป่าข่อย และย่าน สถานีรถไฟ เป็นต้น ย่านเก่าเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงทาการค้า และมีผู้อยู่อาศัย แต่ในปัจจุบันมีสภาพซบ เซาลงไปและไม่คึกคักอย่างเช่นในอดีต เนื่องจากตลาดสด ห้างสรรพสินค้า ต่างทยอยกันเปิดจานวนมาก ในส่วนของย่านชุมชนขยายตัวแถบชานเมือง จุดตัดของถนนรัศมี และถนนวงแหวนรอบเมือง นอกจากลักษณะความเป็นเมืองใหม่ที่ก่อร่างสร้างตัวบนฐานกายภาพของเมืองเก่าที่ยังมีความ สมบูรณ์ และมีความโดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ของเมืองที่สาคัญแล้ว ความรู้สึกร่วมของคนในสังคมถึงตัวตน “คนเมือง” เชียงใหม่ ก็เป็นอีกประเด็นที่ผูกโยงกับการพัฒนาเมืองอย่างเหนียวแน่น และเป็นที่น่าสังเกต อย่างยิ่งว่า ภายใต้ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มวัฒนธรรมที่ถูกกวาดต้อน หรือถูกดึงดูด ให้เข้ามาอยู่อาศัยในเขตเมือง นับจากครั้งการปลดแอกจากการเป็นเมืองขึ้นของพม่า ราวปีพ.ศ. 2310 โดยการนาของพระยากาวิละ ผู้ทรงริเริ่มการฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ที่ในสภาพทรุดโทรมจากภัยสงคราม ด้วยแนวคิด “เก็บผักใส่ซ้า เก็บค้าใส่เมือง” หรือการกวาดต้อนเอากลุ่มคนที่อยู่รายรอบเมืองเชียงใหม่ หรือเมืองใกล้เคียงอย่างเข้ามารวมไว้ในเมืองเชียงใหม่ การอพยพเข้ามาตามแรงดึงดูดทางเศรษฐกิจ
  • 13. 13 การค้าของกลุ่มพ่อค้าชาวจีน ชาวอินเดีย ชาวปากีสถาน ตามเส้นทางการค้าทางน้า การอพยพเข้ามา เป็นแรงงานกับอุตสาหกรรมการค้าไม้ของกลุ่มคนพม่า มอญ ฯลฯ ความหลากหลายดังกล่าวกลับถูก หล่อหลอมให้คนเชียงใหม่โดยทั่วไปต่างมีสานึก ความเป็นกลุ่มก้อนภายใต้มโนทัศน์ “คนเมือง” ร่วมกัน อย่างเหนียวแน่น ผ่านการแสดงออกทางภาษา วิถีชีวิต และวัฒนธรรม มีสานึกรักท้องถิ่น มีความห่วง แหนเมืองเก่า และมรดกทางวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการแสดงออกตามวาระโอกาสที่ตนสามารถ เข้าไปมีส่วนร่วมได้ คือมโนทัศน์และสานึกรู้ที่กลายเป็นแรงขับเคลื่อนสาคัญในการแก้ไขปัญหา และการ พัฒนาเมืองของภาคประชาชน ทั้งผ่านระบบการเมืองเช่น การเลือกตั้ง การแสดงออกทางการเมืองอย่าง กลุ่มคนเสื้อแดงเชียงใหม่ 51 หรือกลุ่มอื่นๆ รวมถึงการรวมตัวในฐานะภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ เพื่อเรียกร้องหรือคัดค้านการพัฒนาที่ไม่เหมาะสม ปรากฏให้เห็นเด่นชัดตามช่วงเวลาตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ.2400 จนถึงปัจจุบัน สภาพปัญหาของเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน ปัจจุบันเมืองเชียงใหม่กาลังประสบปัญหาสาคัญ และเป็นปัญหาที่อยู่ในความสนใจของภาค ประชาสังคมได้แก่ ปัญหาการจราจร ด้วยข้อจากัดของการเป็นเมืองเก่า และย่านเก่าที่มีถนนที่แคบ มี โครงข่ายเชื่อมต่อกันไม่สมบูรณ์ และการมีจุดตัดกระแสจราจรจานวนมาก ถนนหลายจุดมีสภาพเป็นขอ ขวด จึงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาทั้งการจราจรติดขัด และอุบัติเหตุตามจุดเสี่ยงต่างๆ ปัญหามลพิษทางอากาศ ในเมืองเชียงใหม่ ด้วยสภาพที่ตั้งที่มีลักษณะเป็นเมืองในหุบเขา ทา ให้มลพิษทางอากาศจะวนเวียนปกคลุมอยู่ในเมืองตลอดเวลา ผนวกกับปัญหาต่อเนื่องที่เกิดจากปัญหา การจราจรติดขัดซึ่งผลิตควันพิษจานวนมหาศาล การก่อสร้างอาคารสูงที่ไม่มีระเบียบกีดขวางทิศทางลม ทาให้การระบายอากาศของเมืองไม่ดี รวมไปถึงการเกิดภาวะหมอกควันปกคลุมเมืองในช่วงฤดูแล้งเหตุ จากการเผาเศษวัสดุทางการเกษตร และไฟป่าในช่วงฤดูแล้ง ทาให้สุขภาพคนในเมืองเชียงใหม่ย่าแย่ และเป็นวิกฤตปัญหาที่เกิดขึ้นทุกปี ปัญหาโดมความร้อนในเขตเมือง ผลจากการขยายตัวของเมืองและการปรับเปลี่ยนพื้นที่สี เขียวเป็นไปเป็นพื้นที่ปลูกสร้างอาคาร ถนน และสิ่งปลุกสร้างอื่นๆ ส่งผลให้อุณหภูมิผิวพื้นของพื้นที่ใน เขตเมืองสูงกว่าพื้นที่รอบนอกโดยเฉลี่ยถึง 1-2 องศา และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นทุกปี ปัญหาอาคารสูง ผลกระทบจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 และฉบับที่ 5 ซึ่งกาหนดให้เชียงใหม่เป็นเมืองหลักของภาคเหนือ เป็นเหตุให้เกิดแรงดึงดูดการอพยพเข้าเมือง ประกอบกับที่ดินในเขตเมือง และปริมณฑลมีราคาสูงขึ้น และนักลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์จึงหันมาให้ ความสนใจในการสร้างอาคารสูง พร้อมไปกับกระแสความต้องการที่พัก และบ้านแห่งที่ 2 หรือ 3 ใน เชียงใหม่ของคนกรุงเทพฯ หลังเหตุน้าท่วมใหญ่พ.ศ.2554 ยิ่งส่งผลให้เกิดการขยายตัวของโครงการ อสังหาริมทรัพย์เพิ่มมากขึ้น การสร้างอาคารสูงนอกจากจะบดบังทัศนียภาพของเมืองแล้ว ยังส่งผลให้ เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเขตเมืองทวีความรุนแรงขึ้น
  • 14. 14 ปัญหาขยะ จากการประมวลข้อมูลทางสถิติพบว่าในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่มีปริมาณขยะ เฉลี่ยต่อวันอยู่ที่ประมาณ 300 ตันต่อวัน (สวท.เชียงใหม่, 2557) ซึ่งเป็นขยะปริมาณมากและในบาง ช่วงเวลา ระบบการจัดการขยะที่มีอยู่สามารถไม่รองรับและจัดการได้เท่าทัน จึงทาให้เกิดปัญหาขยะล้น เมืองอยู่บ่อยครั้ง รวมถึงเกิดปัญหา “ขยะพเนจร” คือ การลักลอบนาขยะจากในเมืองไปทิ้งตามป่า พื้นที่ ดอย และในเขตอาเภอรอบนอก พัฒนาการภาคประชาสังคมกับการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ จากการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ พบว่าหลายต่อ หลายครั้งมีการอ้างอิงถึงจุดเริ่มต้นการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมที่มีลักษณะเป็นรูปธรรม และ สร้างแรงกระเพื่อมต่อสังคมโดยรวม จนกลายสภาพเป็นวาทกรรม ที่หยิบมาใช้และกล่าวถึงในเชิง สัญลักษณ์อยู่บ่อยครั้ง คือ เหตุการณ์ครั้งการสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ ในปีพ.ศ. 2477-78 โดยมีครูบาเจ้า ศรีวิชัยเป็นประธานพร้อมด้วยพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าปกครองเมืองเชียงใหม่ และหลวงศรีประกาศ ผู้ว่า ราชการคนแรกของจังหวัดเชียงใหม่ การสร้างถนนขึ้นดอยในระยะทาง 11 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาเพียง 5 เดือนเศษ โดยไม่ใช้งบประมาณของรัฐ และไม่มีเครื่องมือหนัก แต่อาศัยการระดมแรงงานผู้คนจากทุก สาระทิศที่การร่วมมือของประชาชนในครั้งนั้นประสบความสาเร็จลงได้อย่างน่าชื่นชม แม้ภายหลังจะมี การจับกุมครูบาศรีวิชัย ในข้อหาปลุกระดมมวลชนให้บุกรุกพื้นที่ป่าสงวนฯ และตั้งตนเป็นผู้วิเศษเรี่ยไร เงินชาวบ้าน จนเกิดการรวมตัวของภาคประชาชนเดินขบวนเรียกร้อง และการปล่อยตัวครูบาฯใน ท้ายที่สุด การรวมตัวของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ที่มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม และส่งผลต่อการ พัฒนาเมืองในช่วงถัดมาได้แก่ การเรียกร้องมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างปี 2493-2503 โดยกลุ่มชน ชั้นกลางผู้มีการศึกษา เช่น กลุ่มนักการเมืองท้องถิ่น กลุ่มนักหนังสือพิมพ์ และกลุ่มทุนตระกูลนิมมาน เหมินท์ ก่อนจะขยายตัวอย่างรวดเร็วไปสู่ประชาชนคนทั่วไปด้วย การพิมพ์เอกสารเผยแพร่ปลุกระดม ให้คนเชียงใหม่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในกันเรียกร้อง จนเกิดเป็นกระแสสังคม และได้รับการสนองตอบจากรัฐ ส่วนกลางในรูปแบบนโยบายเร่งด่วน จนเป็นที่มาของการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปี 2503 และ เปิดทาการเรียนการสอนในปี 2507 ตามลาดับ ในห้วงวิกฤตการณ์เมืองไทยในปี 2516-19 ภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่มีการขับเคลื่อนด้าน การเมืองอย่างชัดเจน เหตุการณ์คล้ายคลึงกับการลอมปราบกลุ่มนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็ เกิดขึ้นกับนักศึกษา และประชาชนที่ต้องการเรียกร้องประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน แม้เหตุการณ์ไม่ใหญ่โต เท่ากับที่ลานโพธิ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และท้องสนามหลวง แต่ก็ความรุนแรงถึงขั้นมีผู้เสียชีวิต ซึ่ง ถือว่าเป็นข่าวดังไปทั่วเมือง นอกจากกลุ่มการเมืองที่มีความเคลื่อนไหวในช่วงดังกล่าว พื้นที่ในจังหวัด เชียงใหม่ยังมีการรวมตัวของคนหนุ่มสาว ในนาม‘กลุ่มหนุ่มสาวเชียงใหม่’ ราวปี 2515 เป็นการรวมตัว
  • 15. 15 เพื่อกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา โดยอาศัยฐานศรัทธาวัดภาย กลุ่มชุมชนของคนในหนุ่มสาว เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายภาคประชาชนในระดับจังหวัด และยังคง ดาเนินงานด้านศาสนาและวัฒนธรรมจนถึงปัจจุบัน อีกหนึ่งปรากฏการณ์ในช่วงปี พ.ศ.2500-20 คือการรวมกลุ่มของนักวิชาการ ผู้มีการศึกษา ที่มี ความสนใจด้านล้านนาคดี นาโดยนายไกรศรี นิมมานเหมินท์ ผู้ริเริ่มก่อตั้ง ‘ชมรมจิ๊นลาบ’ เพื่อเป็น กลุ่มชุมนุมกันของผู้ที่สนใจเรื่องราวดังกล่าว โดยมีนักวิชาการ และบุคคลสาคัญเข้าร่วม อาทิ นายทิว วิชัยขัทคะ นายมณี พะยอมยงค์ นายดิษฐ์ ตันไพบูลย์ นายอุดม รุ่งเรืองศรี นายสิงฆะ วรรณศัย เป็นต้น ต่อมาชมรมดังกล่าวได้เปลี่ยนชื่อเป็น ‘ชมรมล้านนาคดี’ มีบทบาทสาคัญในการกระตุ้นสังคมคน เชียงใหม่ให้หันกลับมาให้ความสาคัญกับคุณค่า และมรดกของเมืองเชียงใหม่ รวมถึงวางรากฐานล้านนา คดีศึกษาให้กว้างสู่การโลกการศึกษาสมัยใหม่ เหตุการณ์การรวมตัวครั้งสาคัญในลาดับต่อมาของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ เกิดขึ้นราว พ.ศ.2529 ด้วยความกังวลของคนเชียงใหม่หลากหลายกลุ่มที่มีต่อโครงการกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอยสุเทพ ของรัฐส่วนกลาง ตามแผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองเชียงใหม่ ความรู้สึกไม่เห็นด้วยต่อ โครงการดังกล่าวของกลุ่มนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และพลเมืองโดยทั่วไปนาไปสู่การ รวมกลุ่มก้อนมวลชน โดยการนาของ อ.ศิริชัย นฤมิตรเรขการ สถาปนิก และอาจารย์สาขา สถาปัตยกรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายวรศักดิ์นิมานันท์ อดีตนักการเมืองท้องถิ่น และเจ้าคุณโพธิรังสี รองเจ้าคณะจังหวัด และเจ้าอาวาสวัดพันตองขณะนั้น ได้รวบรวมผู้คนเดินขบวน ประท้วงคัดค้านโครงการดังกล่าวจนเป็นผลสาเร็จ และโครงการได้ถูกระงับการดาเนินการในท้ายที่สุด ความสาเร็จในคัดค้านโครงการของรัฐในครั้งนั้น คือ ต้นกาเนิดของการรวมตัวกลุ่มองค์กรภาค ประชาสังคมที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองเชียงใหม่กว่า 10 ปีอย่าง ‘ชมรมเพื่อ เชียงใหม่’ ชมรมฯได้เป็นแกนหลักสาคัญในการคัดค้านการสร้างคอนโดสูงบริเวณพื้นที่ริมน้าปิง โดย อาศัยแนวทางการทางานในรูปแบบเดิม คือ การเป็นจิตอาสา และอาศัยการสร้างกิจกรรมให้คนได้เข้ามา มีส่วนร่วม เช่น การเดินขบวนรณรงค์ การปราศรัย การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และพิธีกรรม สาปแช่งตามความเชื่อของคนล้านนา เป็นต้น นอกจากการก่อตั้งชมรมเพื่อเชียงใหม่แล้ว ในระยะเวลาไล่เลี่ย ได้เกิดกลุ่มองค์กรภาคประชา สังคมที่มีความสนใจประเด็นเรื่องการพัฒนาเมืองเกิดขึ้นอีกจานวนหนึ่ง อาทิ ‘ศูนย์ศึกษาปัญหาเมือง เชียงใหม่’ โดยกลุ่มนักวิชาการ นาโดยดร.ธเนศ เจริญเมือง ‘ชมรมจักรยานวันอาทิตย์’โดยการนา ของ พ.ต.ต.อนุ เนินหาด ซึ่งดารงตาแหน่งรองสารวัตรจราจรฝ่ายเหนือขณะนั้น พร้อมไปกับการเกิดขึ้น ของเวทีภาคประสังคมเมืองเชียงใหม่ในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง เช่น การคัดค้าน การขยายถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ทับโบราณสถานวัดเจ็ดยอด การเตรียมความพร้อมและการจัดงานสมโภช อายุเมืองเชียงใหม่ครบ 700 ปี ความพยายามในการจัดตั้ง ‘ประชาสังคมเชียงใหม่’ และ‘สภาเวียง
  • 16. 16 พิงค์’ ในนัยยะของการเป็นพื้นที่กลางให้เกิดการพูดคุยปรึกษาหารือระหว่างกลุ่มภาคประชาสังคม และ ภาคส่วนอื่นๆในประเด็นการพัฒนาเมือง (ซึ่งภายหลังสลายตัวไปด้วยความไม่พร้อมหลายๆด้าน) ทศวรรษ 2540 การขับเคลื่อนขององค์กรภาคประชาชนเมืองเชียงใหม่ มีแนวโน้มคึกคักขึ้นด้วย แรงส่งของงานฉลองสมโภชอายุเมืองเชียงใหม่ 700 ปี ประเด็นการดาเนินงานที่เห็นเด่นชัดมีอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่ม คือ 1. ประเด็นว่าด้วยการอนุรักษ์ และสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมล้านนา ซึ่งมีการทางาน ร่วมกันของเครือข่ายนักวิชาการ นักพัฒนาเอกชน เครือข่ายครูภูมิปัญญา จนสามารถคับเคลื่อนการ จัดตั้ง‘โฮงเฮียนสืบสานล้านนา’ ในปี 2545 นอกจากเคลื่อนตัวของกลุ่มนักวิชาการแล้ว ในกลุ่ม ชาวบ้านในเขตเมืองเชียงใหม่ ก็มีการจัดตั้งกลุ่มอย่าง ‘กลุ่มอนุรักษ์วัดเกต’ ในราวปีพ.ศ. 2542 เพื่อ ดาเนินการอนุรักษ์อาคารที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม อีกกลุ่มคือ ‘ชมรมหัตถศิลป์ วัดศรีสุพรรณ’ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มบ้านช่างโลหะดุนลายย่านวัวลาย ในประเด็นที่ 2. การเคลื่อนไหวของกลุ่ม ภาคประชาสังคมในประเด็นการคัดค้านโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยภาครัฐ อาทิ การสร้างทาง ยกระดับบริเวณทางแยกถนนมหิดล โครงการสร้างอาคารเทศบาลนครเชียงใหม่ซึ่งมีความสูงถึง 22.9 เมตร บนพื้นที่ติดริมฝั่งแม่น้าปิง และโครงการสร้างกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอยหลวงเชียงดาว รวมถึงการ คัดค้านการขยายถนนตามร่างประกาศผังเมืองปี 2550 เป็นต้น ในช่วงท้ายของทศวรรษปี 2540 ได้มี การก่อตั้ง ‘ภาคีคนฮักเจียงใหม่’ ขึ้นในปีพ.ศ.2548 เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายภาคประชาสังคมในการ ขับเคลื่อนการคัดค้านโครงการขนาดใหญ่ของรัฐที่มีการวางแผนไว้วางจะดาเนินการก่อสร้างในอนาคต อาทิ โครงการไนท์ซาฟารี โครงการกระเช้าลอยฟ้า และโครงการเมกะโปรเจคอื่นๆ นอกจากนี้ยังมี ปัญหาเรื่องความขัดแย้งในทางความคิดทางการเมืองของคนในพื้นที่ จนบางปลายไปสู่การใช้ความ รุนแรงระหว่างภาคประชาชน 2 กลุ่มคือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง และกลุ่มคนเสื้อแดง อันเป็นชนวนเหตุให้ เกิดความขัดแย้งร้าวลึกในกลุ่มภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ และความเคลื่อนไหวในเรื่องการพัฒนา เมืองที่เคยคึกคักเป็นอันต้องซบเซา และยุติบทบาทลงเพราะความเปราะบางของสถานการณ์บ้านเมือง และการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายของคนในพื้นที่ ปี 2550-ปัจจุบัน ด้วยมูลเหตุความขัดแย้งทางการเมืองทั้งในระดับท้องถิ่น และในระดับประเทศ นามาสู่ภาวการณ์เปลี่ยนถ่ายจากการดาเนินกิจกรรมในลักษณะการขับเคลื่อนร่วมกันเป็นเครือข่าย ขนาดใหญ่ กลุ่มภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ได้หันกลับไปจับประเด็นเฉพาะทางอย่างประเด็นการ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม การดูแลรักษาชุมชนขนาดเล็ก การณรงค์เรื่องสิ่งแวดล้อม และพื้นที่สีเขียว ในเขตเมือง พร้อมไปกับการเกิดขึ้นของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมรุ่นใหม่ อาทิ เครือข่ายเชียงใหม่ เขียว สวย หอม, ชมรมชาวนิมมานเหมินท์, กลุ่มสถาปนิกคนใจบ้าน,สถาบันการจัดการทาง สังคม, โครงการฟื้นบ้าน ย่าน เวียงเชียงใหม่, และ เครือข่ายชุมชนเมืองรักษ์เชียงใหม่ โดยกลุ่ม องค์กรภาคประชาสังคมทั้งหมดอาศัยพื้นฐานการทางานแบบจิตอาสา และส่วนใหญ่รับเงินอุดหนุนจาก หน่วยงานองค์กรภาครัฐ ทั้งส่วนกลาง และส่วนท้องถิ่น
  • 17. 17 ทางเลือกในการพัฒนาเมืองเชียงใหม่โดยภาคประชาสังคม จากการศึกษาพบว่า รูปแบบพัฒนาการ และการเคลื่อนตัวของภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ มีการส่งทอดต่องานกันในแต่ละช่วงเวลา ผ่านบทบาทการนาขบวนโดยกลุ่มคนในสังคมที่มีบทบาทและ สถานะแตกต่างกันไปในช่วงแรกของการพัฒนาเมือง (ระยะที่ 1 ปีพ.ศ. 2470-2520) คือ กลุ่มชนชั้นนา อาทิ นักการเมืองท้องถิ่น พ่อค้า คหบดีผู้มีการศึกษา และกลุ่มทุนของชั้นนาในสังคม โดยมีเป้าหมาย เพื่อการพัฒนาความเจริญ และโอกาสให้แก่เมืองเชียงใหม่ และฐานความสนใจในประเด็นด้านวิชาการที่ เกี่ยวข้องกับเมือง สู่ระยะที่ 2 (พ.ศ.2520-49) เป็นการนาของขบวนภาคประชาสังคมโดยกลุ่มปัญญาชน ผู้มีการศึกษา และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายในการผลักดันองค์ความรู้ด้านวิชาการ ให้มีบทบาทในการตัดสินใจ ออกแบบ และกาหนดความเปลี่ยนแปลงของเมือง รวมไปถึงการจัดการ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเมืองอย่างไร้ทิศทาง และการอนุรักษ์คุณค่าของเมืองในด้านประวัติศาสนา และมรดกทางวัฒนธรรม ระยะที่ 3 (พ.ศ.2550- ปัจจุบัน) เป็นการนาขบวนโดยกลุ่มภาคประชาสังคมที่ ไม่อาจมองหาหัวขบวนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ 2 ระยะแรก ซึ่งหมายถึงคนทั่วไปในเมือง ไม่ว่าจะเป็น ชาวบ้านในชุมชนขนาดเล็ก นักวิชาการ พระสงฆ์ หรือแม้แต่กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ที่มีความสนใจใน เรื่องการพัฒนาเมือง สามารถลุกขึ้นมามีบทบาทสาคัญในการเป็นผู้นาในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ในประเด็นที่ตนเองสนใจ ซึ่งมีความหลากหลายและเฉพาะทางมาขึ้น อย่างไรก็ดีการดาเนินงานยังคง เน้นย้าการร่วมไม้ร่วมมือ การมีส่วนร่วม การต่อรองทางอานาจ ที่มุ่งไปสู่การพัฒนาเมืองพร้อมไปกับ ความพยายามสร้างแนวระนาบที่เท่าเทียม และเลื่อนไหลเชื่อมต่อหากัน เท่าทันกันในทุกประเด็น เป็น การพึงพาอาศัยกันมากกว่าการเรียกร้อง หรือคัดค้านดังเช่นแต่ก่อน ทาให้บทบาทและหน้าที่ตามที่ สังคมให้กรอบเอาไว้ จึงเริ่มเห็นกลุ่มคนที่ทาหน้าที่หรือมีบทบาทรับผิดชอบเช่น เจ้าหน้าที่รัฐ เริ่มเข้ามา มีส่วนร่วมในฐานะปัจเจกในการเข้าร่วมกิจกรรม ตามแรงขับความสนใจส่วนบุคคล อันนาไปสู่การ รวมกลุ่มในฐานะปัจเจกบุคคลกับปัจเจกบุคคลที่มีอุดมการณ์ และความคิดเห็นร่วมกันที่เริ่มชัดเจน และมี พลังมากขึ้น ยังผลให้เมืองเชียงใหม่ปัจจุบันเต็มไปด้วยกลุ่มพลเมืองอาสา (Active Citizen) ตั้งแต่ระดับ ชุมชนขนาดเล็กไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกันผ่าน ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการ ร่วมงานกันตามวาระโอกาสซึ่งมีไม่บ่อยครั้งนัก สายสัมพันธ์ และการรวมตัวกันได้ตามวาระและประเด็น ถือได้ว่าเป็นผลดีต่อการทางานเคลื่อนไหวการพัฒนาเมืองในระดับหนึ่ง เหตุด้วยกลุ่มภาคประชาสังคม ส่วนใหญ่สามารถติดต่อประสานงาน และแสวงหาความร่วมมือ และการสนับสนุนได้อย่างรวดเร็ว และ คล่องตัว จึงเป็นผลดียิ่งต่อการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า รวมไปถึงโอกาส และความเป็นไปได้ในการ กาหนดนโยบายการพัฒนาเมืองต่อไปในอนาคต จากภาวการณ์ดังที่กล่าวมาข้างต้น สิ่งที่ขาดพร่องไปในการดาเนินงานขับเคลื่อนภาคประชา สังคมกับการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ปัจจุบัน คือ โอกาส และพื้นที่กลางในเชื่อมร้อยกลุ่มคนพลเมืองอาสา และองค์กรหลากหลายขนาดที่มีอยู่ทั่วไปด้วยให้เกิดเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง การทางานในลักษณะ ประเด็นเฉพาะทาง หรือปลีกย่อยในชุมชน หรือในมุมของตนเองนั้นมีข้อดีอยู่คือ ความเข้มแข็งทั้งใน
  • 18. 18 เรื่องคุณภาพงาน และการสร้างเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมาย เพียงแต่ประเด็นพัฒนาในภาพรวมของเมือง เชียงใหม่ยังคงไม่ถูกขับเคลื่อน หรือลงมือทา ดังนั้นหากจะพิจารณาเรื่องการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ โดยตั้งเอาการขับเคลื่อนการพัฒนาโดยภาคประชาสังคมเป็นโจทย์หลัก ทางเลือกของการ พัฒนาเมือง ก็คงมีอยู่เพียงทางเลือกเดียว คือ การพัฒนาพื้นที่กลางในการทางานในระนาบที่ เท่าเทียมกัน และการพัฒนากลไกการทางานร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับงานการพัฒนา เมือง ให้เกิดขึ้นจริง และเข้มแข็ง ปราศจากปัญหาเรื่องผลประโยชน์ และการเมือง พื้นที่กลางใน การทางานดังกล่าวควรประกอบขึ้นจากกลไกที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการทั้ง คณะทางาน, ทุน, รูปแบบการทางาน, การเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ และขยายขีดความสามารถของสมาชิก พร้อมไปกับการตระหนักถึง ทิศทางการทางานในอนาคต ผ่านการวางแผน และการดาเนินงาน ด้านการพัฒนาเมืองอย่างมีวาระ ภายใต้ความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน และทุกฝ่ายต่างมีบทบาท ในการกาหนดวิสัยทัศน์ และการปฏิบัติการพัฒนาเมืองในระดับภาพรวมของเมืองเชียงใหม่
  • 19. 19 เกริ่นนา ที่มาและความสาคัญ จากนโยบายการพัฒนาประเทศนับจากการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ พ.ศ. 2504 เมืองหลักในภูมิภาคต่างถูกผลักดันให้ได้รับการพัฒนา ทั้งด้านกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ เมืองเชียงใหม่ คือ หนึ่งในเมืองหลักของภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายดังกล่าวโดยตรง และกาลังจะต้องเผชิญหน้ากับก้าวย่างสาคัญของการพัฒนาในระดับภูมิภาค จากนโยบายเพื่อมุ่งขยาย ความร่วมมือกับเมืองอื่นๆในประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้จากนโยบาย และ โครงการพัฒนา อาทิ การเปิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน (AEC) การพัฒนา โครงข่ายการคมนาคมภายในภูมิภาคเพื่อรองรับโลจิสติกส์ที่ถูกกาหนดตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ ใต้ และความเปลี่ยนแปลงของสังคมอันเกิดจากการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีการ ติดต่อสื่อสาร บทบาทหน้าที่ของเมืองหลักในภูมิภาคอย่างเมืองเชียงใหม่จึงมีความสาคัญ และมีทวีความ ซับซ้อนยิ่งขึ้น สอดคล้องกับการพัฒนากลไกของรัฐในเรื่องการกระจายอานาจ บทบาทขององค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น และความเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคม ที่เริ่มปรากฏรูปรอยการดาเนินงาน และ ผลสัมฤทธิ์ทั้งด้านนโยบาย และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม อย่างที่ไม่เคย เป็นมาก่อน อย่างไรก็ดี ความเจริญและบทบาทจากการกระจายอานาจสู่ส่วนท้องถิ่นที่เริ่มเห็นผลมากยิ่งขึ้น ยังคงเป็นคาถามที่น่าสนใจ ถึงความเหมาะสมในเรื่องของสมดุลระหว่างการพัฒนา กับการอนุรักษ์ดูแล รักษาต้นทุนของเมืองให้คงอยู่ เป็นคาถามที่เมืองเชียงใหม่ และคนเชียงใหม่ในทุกภาคส่วนต่างพยายาม ค้นหา ในภาวะที่เมืองถูกพัฒนาอย่างรวดเร็วและรุนแรง จนหลายฝ่ายที่คลุกคลีและเฝ้าสังเกตการเติบโต ของเมืองถึงกับมีมุมมองว่า เมืองเชียงใหม่ได้เดินทางมาถึงจุดที่การพัฒนาและความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น “แบบรั้งไม่หยุด ฉุดไม่อยู่” ตัวอย่างการเติบโตและพัฒนาเมืองที่เห็นเด่นชัด เช่น การเติบโตของธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ ทั้งโครงการบ้านจัดสรร และคอนโดมิเนียมตามแนวรัศมีถนนรอบตัวเมือง การผุดขึ้น ของห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ในทุกทิศทุกทาง การอพยพย้ายพื้นที่ของผู้คนที่มองหาที่อยู่อาศัยใน ลักษณะบ้านหลังที่สอง การหลั่งไหลของแรงงานต่างชาติ รวมถึงคลื่นนักท่องเที่ยวเอเชียที่ทายอดสูงขึ้น ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมา แม้ความเปลี่ยนแปลงบางอย่างดังที่กล่าวมา อาจส่งผลกระทบทางบวกแก่ภาพรวมทาง เศรษฐกิจของจังหวัด แต่ในขณะเดี่ยวกันผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และ การเป็นอยู่ของผู้คนในเขตเมือง เช่น ปรากฏการณ์การจราจรติดขัดเป็นเวลานานในชั่วโมงเร่งด่วน ปัญหาเรื่องการกาจัดขยะ สภาพแวดล้อมโดยรวมของเมืองแย่ลง และการสูญเสียอัตลักษณ์ วิถีชีวิต สาย สัมพันธ์ทางสังคมไปกับความเป็นเมืองใหญ่ ฯลฯ ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ส่งผลกระทบอย่างกว้างขว้างแก่
  • 20. 20 คุณภาพชีวิตของคนเชียงใหม่ โดยเฉพาะพื้นที่เมืองเก่าเชียงใหม่ และปริมณฑล ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มี ความสาคัญด้วยคุณค่า และความหมายในด้านคุณค่าทางประวัติศาสตร์ คุณค่าทางมรดกทางวัฒนธรรม ที่สืบถอดกันมาแต่อดีต คุณค่าในด้านการเป็นที่อยู่อาศัย และศูนย์กลางธุรกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเพื่อที่จะศึกษาและประมวลพัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ เพื่อทาความเข้าใจพื้นที่ทั้งในเชิงคุณค่าทางกายภาพ คุณค่าในด้านสังคม และเศรษฐกิจในเชิงบทบาท หน้าที่ของเมือง และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามมาอันเนื่องมาจากนโยบาย และการพัฒนาที่ส่งผล กระทบต่อประชาชนที่อยู่อาศัยในเมือง การศึกษาครั้งนี้ยังมุ่งที่จะรวบรวม และสังเคราะห์สภาวะการ พัฒนาการรวมตัว การขับเคลื่อน และก่อร่างสร้างแนวคิดการพัฒนา และกระบวนการดูแลเมืองโดยภาค ประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ เพื่อนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางพัฒนาเมืองเชียงใหม่ใน อนาคตโดยการผลักดันจากภาคประชาสังคมต่อไป วัตถุประสงค์ 1) ศึกษา และประมวลพัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่แต่ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อสังเคราะห์ และสรุปความเปลี่ยนแปลง ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเมือง และผู้ที่อยู่อาศัย 2) ศึกษาพัฒนาการภาคประชาสังคมกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ 3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาเมืองโดยการขับเคลื่อนการพัฒนาโดยภาคประชาสังคม ระยะเวลา ระยะเวลาดาเนินการ 5 เดือน (24 พฤศจิกายน 2557 ถึง 24 เมษายน 2558)
  • 21. 21 ตารางที่ ก. แผนการดาเนินงาน ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ได้กาหนดขอบเขตการวิจัยไว้ดังนี้ ขอบเขตด้านกายภาพ คือ พื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ 40.21 ตร.กม. ครอบคุลมพื้นที่ทั้งหมด 15 ตาบล มีจานวนครัวเรือนทั้งหมด 81,025 หลังคาเรือน และเทศบาลตาบล ช้างเผือก รวมถึงบางส่วนของพื้นที่เทศบาลตาบลสุเทพ และเทศบาลตาบลป่าแดด ขอบเขตด้านเนื้อหา คือ มุ่งศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการความเป็นเมืองของพื้นที่ เมืองเชียงใหม่ ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ได้ให้นิยามคาว่าพื้นที่เมืองเชียงใหม่ หมายถึง พื้นที่ในเขตเทศบาล นครเชียงใหม่ และพื้นปริมณฑลเมือง ผลการวิจัยในช่วง 2 เดือนแรก ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาตามวัตถุประสงค์งานวิจัย โดยการทบทวน วรรณกรรม และการเก็บข้อมูลภาคสนามในประเด็นต่อไปนี้ 1) การพัฒนาความเป็นเมืองของเชียงใหม่จากอดีตที่ผ่านมา (จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ แห่งชาติ ฉบับที่ 1 / 2504 จนถึงปัจจุบัน) 2) อัตลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ และมโนทัศน์ตัวตน”คนเมือง” เชียงใหม่ 3) สภาพปัญหาของเชียงใหม่ในปัจจุบัน แผนการดาเนินงานวิจัย เดือน ธ.ค. 57 ม.ค.58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย.58 1. การทบทวนเอกสาร ผลการศึกษาและกาหนด แผนการวิจัย เพื่อศึกษาการพัฒนาความเป็นเมือง ของเชียงใหม่ 2. สารวจเก็บข้อมูลภาคสนาม สิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม และ หลักฐานการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ 3 สัมภาษณ์หน่วยงาน องค์กร หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง เชียงใหม่โดยภาคประชาสังคมเมืองเชียงใหม่ 4. การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล 5. จัดทาร่างรายงานวิจัย 6. การจัดทา และส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 22. 22 4) แผนการดาเนินงานในขั้นตอนต่อไป แผนที่ ก. พื้นที่ศึกษา ขนาด 93.08 ตร.กม. (58,178 ไร่) (เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลตาบลช้างเผือก บางส่วนของเทศบาลตาบลสุเทพ และเทศบาลตาบลป่าแดด) แผนที่ที่ ก พื้นที่ศึกษา
  • 23. 23 บทที่ 1 พัฒนาการเมือง สภาพปัจจุบัน และตัวตนคนเมืองเชียงใหม่ 1.1 พัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ จากการทบทวนวรรณกรรม เพื่อการศึกษา ค้นคว้า และการทาความเข้าใจในประเด็นการพัฒนา เมืองเชียงใหม่จากอดีตจนถึงปัจจุบัน นักวิจัยพบว่า ประเด็นพัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ มีการศึกษาไว้อย่างครอบคลุม และรอบด้าน โดยนักวิชาการท้องถิ่นซึ่งมีบทบาทต่อการพัฒนาเมือง เชียงใหม่ในห้วงเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ผลการศึกษาส่วนใหญ่ แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้วยปัจจัย สาคัญ 2 อย่าง 1.ความสัมพันธ์ของอานาจทางการเมือง ที่มีผลต่อการกาหนดนโยบายอันจะนาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงของเมือง และ 2.ผลพวงจากโครงการพัฒนาที่กระตุ้นให้เกิดความเป็นเมือง และการ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางกายภาพของเมือง ทั้งที่เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นเอง ปราศจากการควบคุมใน ระยะต้น และเริ่มถูกจากัด และควบคุมด้วยมาตรการกลไกทางกฎหมาย ความเปลี่ยนแปลงอันมีต้นเหตุจากปัจจัยข้างต้น แสดงผลลัพธ์ให้เห็นทั้งในด้านกายภาพ และ สังคม ปรากฏการณ์ที่เห็นเด่นชัดในด้านกายภาพเมือง ได้แก่ การตั้งถิ่นฐานใหม่ รูปแบบการตั้งย่าน ชุมชน และเมืองตามองค์ความรู้ ความเชื่อ และวัตถุประสงค์ตามยุคสมัย การสร้าง และการปรับปรุง ลักษณะกายภาพเดิมตามนโยบายของผู้นา และการขยายตัวของการใช้ที่ดินรูปแบบต่างๆตามนโยบาย การพัฒนาเมือง ในด้านสังคม ได้แก่ การย้ายถิ่นของกลุ่มคน การแต่งงานข้ามชาติพันธุ์ หรือระหว่างคนต่างพื้นที่ ต่างวัฒนธรรมอันนาไปสู่การปะทะสังสรรค์ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม การเกิดขึ้น และเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลต่อวิถีชีวิต ความคิด และมโนทัศน์ของคนในเมือง ต่อคุณค่าและความหมายของชีวิต และสิ่งรอบๆตัว จากการประมวล และสังเคราะห์ เนื้อหาว่าด้วย พัฒนาการความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ ผู้วิจัยพบว่าเมืองเชียงใหม่มีพัฒนาการความเป็นเมือง ซึ่งสามารถถูกแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลา ดังนี้ 1.1 ช่วงที่ 1 : ก่อตั้งเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.1835-1839) ตามตานานการสร้างเมืองเชียงใหม่ พระญามังราย ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย ทรง สร้างเมืองเชียงใหม่ให้เป็นราชธานีในปี พ.ศ.1839 พัฒนาการที่สาคัญของความเป็นเมืองของเมือง เชียงใหม่ในช่วงการก่อตั้งเมืองอยู่ที่การวางบทบาทของเมืองในฐานะราชธานีใหม่ ให้เป็นทั้งศูนย์กลาง ทั้งในด้านการปกครอง และการค้า ปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมบทบาทของเมืองเชียงใหม่ คือ การมีชัยภูมิที่ดี มีลักษณะสอดคล้องกับความเชื่อ และคุณลักษณะทางกายภาพที่โดดเด่น ซึ่งช่วย ส่งเสริมการพัฒนาเมืองในยุคต่อมา อาทิ ทาเลที่ตั้งอยู่บนที่ราบขนาดใหญ่ ทาให้เมืองสามารถขยายตัว
  • 24. 24 ได้ง่ายในอนาคต ตัวเมืองอยู่บนที่ดอนไม่มีปัญหาเรื่องน้าท่วม มีลักษณะลาดเทจากตะวันตก ไป ตะวันออก มีลาห้วยและคลองหลายสายเป็นพื้นที่รับน้า เพราะตั้งอยู่ระหว่างภูเขา(ดอยสุเทพ) และแม่น้า สายใหญ่(แม่น้าปิง) เอื้อประโยชน์ทั้งในเรื่องการจัดสรรทรัพยากร น้า ป่า การเกษตร รวมถึงเอื้อ ประโยชน์ในด้านการคมนาคม และความมั่นคงในเชิงยุทธศาสตร์การทหาร การจัดการที่ดินในเขตเมือง ถูกวางไว้อย่างเป็นระบบตามความเชื่อเรื่องทิศมงคล ความเชื่อเรื่องเมืองเป็นสิ่งมีชีวิต และการป้องกัน เมือง เช่น ในเขตเมืองเชียงใหม่ที่มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าตามคติการสร้างเมืองที่ได้รับอิทธิพล จากอินเดียและเขมร ภายในเขตกาแพงเมืองเป็นพื้นที่ประทับของกษัตริย์ และข้าราชบริพารใกล้ชิด รวมถึงตลาดการค้าที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ข่วง(ลานโล่งสาธารณะ) ไม่ไกลจากที่ประทับ ส่วนภายนอกซึ่งเป็น พื้นที่ต่ากว่า ถูกจัดวางให้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของไพร่ และพื้นที่ทาการเกษตร เป็นต้น รูปที่ 1.1 แสดงพัฒนาการสัณฐานเมืองเก่า
  • 25. 25 รูปที่ 1.2 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่ รูปที่ 1.3 แสดงแนวคิดการตั้งถิ่นฐานเมืองเชียงใหม่ และการใช้พื้นที่ในเขตเมือง (พ.ศ.1835-1839)
  • 26. 26 1.2 ช่วงที่ 2 : เมืองเชียงใหม่ในราชวงศ์มังราย และภายใต้การปกครองของพม่า (พ.ศ.1839-2317) หลังจากการตั้งเมือง เมืองเชียงใหม่ได้รับการพัฒนา และเสื่อมถอยตามยุคสมัย ยุคที่รุ่งเรื่อง ที่สุด คือ รัชสมัยของพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ.1985-2030)ด้วยพระราชอาณาจักรของพระองค์ขยาย ออกไปจนถึงเมืองทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนปัจจุบัน บางส่วนในลาว และพม่า อีกทั้งยังมี การสังคยานาพระไตรปิฎกครั้งที่ 8 ที่วัดเจ็ดยอด ความรุ่งเรืองของศาสนาเป็นตัวสะท้อนแสดงออกถึง ภาวะอยู่ดีกินดีของคนในเมือง และในยุคสมัยของพระองค์ได้มีการสร้างกาแพงเมืองชั้นนอกเพื่อป้องกัน ศัตรู เป็นหลักฐานอนุมานได้ว่า พื้นที่อยู่อาศัยที่มีความสาคัญและมีบทบาทกับเมืองได้ขยายตัวออกไป จากเขตเมืองเก่า และเป็นส่วนที่ควรได้รับการปกป้องจากภัยสงคราม หลังจากรัชสมัยของพระญาติโลกราชความเข้มแข็งของราชวงศ์มังรายในการดูแล ราชอาณาจักรเริ่มเสื่อมถอยลงตามลาดับ ทาให้เมืองเชียงใหม่ถูกตีแตกด้วยทัพพม่า นาโดยพระเจ้า บุเรงนองในราวปี พ.ศ.2101 การเข้าครองเมืองเชียงใหม่ของพม่าครั้งนั้นยังส่งผลให้เกิดความ เปลี่ยนแปลง และการซึมซับรับเอาวัฒนธรรมของพม่าไว้หลากหลายอย่าง อาทิ มีการสร้างเจดีย์รูปแบบ ผสมศิลปะพุกามและศิลปะล้านนาไว้เป็นจานวนมากทั้งในเขตเมือง และศาสนาสถานสาคัญทั่วจังหวัด การรับเอางานพุทธศิลป์แบบพุกามเข้าประดับตกแต่งวัดวา รวมไปถึงรูปแบบของภาษา และวัฒนธรรม อาหาร รูปที่ 1.4 แสดงความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และสังคมของเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.1839-2317)
  • 27. 27 1.3 ช่วงที่ 3 : หลังการเป็นเอกราชจากพม่า ยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง (พ.ศ.2317-2400) หลังจากการรบขับไล่พม่าออกจากเมืองร่วมกับกรุงธนบุรี เมืองเชียงใหม่มีสภาพทรุดโทรม เสียหายอย่างหนักยากต่อการฟื้นฟู เมืองจึงถูกละทิ้งปล่อยให้ดารงอยู่ตามสภาพ จนในรัชสมัยสมเด็จ พระเจ้าพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขึ้นครองราชย์ ได้ดาเนินการปกครองเชียงใหม่ในฐานะหัวเมืองประเทศราช และมอบหมายให้พระยากาวิละเจ้าเมืองลาปางไปครองเมืองเชียงใหม่ราวปี พ.ศ.2325 ในฐานะเจ้าผู้ ครองนคร พระยากาวิละได้ดารินโยบาย “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” โดยการยกทัพไปตีหัวเมืองทาง เหนือในเขตสิบสองปันนา และกวาดต้อนผู้คนมาเทครัวเพื่อการฟื้นฟูเมือง เกิดการตั้งถิ่นฐานของคน กลุ่มใหม่ในพื้นที่เขตเมืองเก่าชั้นนอก และพื้นที่โดยรอบเขตเมือง โดยคัดเลือกให้ชุมชนที่มีองค์ความรู้ เชิงช่างได้อยู่ใกล้ๆแนวกาแพงเมืองเผื่อความสะดวกในการใช้สอย กลุ่มคนดังกล่าวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท ได้แก่ ไทลื้อ ไทขึน ไทยอง ที่แม้จะอพยพมาจากบ้านเกิดแต่ก็ยังคงรักษาภูมิปัญญาและองค์ความรู้เชิง ช่าง และตั้งชื่อหมู่บ้านตามชื่อหมู่บ้านเดิม เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เมืองเชียงใหม่ เกิดคุณลักษณะ ของการเป็นเมืองที่มีความหลากหลาย และรุ่มรวยทางวัฒนธรรม ความเชื่อ และองค์ความรู้ งานช่าง ที่มาพร้อมกับกลุ่มคนเหล่านี้กลายเป็นต้นทุนด้านหัตถกรรม และการท่องเที่ยวในยุคปัจจุบัน รูปที่ 1.5 แสดงที่ตั้งของกลุ่มคนในเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2317-2400)