SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
จังหวัดชัยภูมิ
เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็นอันดับ  3  ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับ  7  ของประเทศ โดยมีเนื้อที่ประมาณ  12 , 778.3  ตารางกิโลเมตร นับเป็นที่ตั้งของแหล่งอารยะธรรมอันเก่าแก่ นับตั้งแต่สมัยทวารวดีสมัย ขอม กระทั่งสมัยที่ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านช้างชัยภูมิมีเขตติดต่อกับจังหวัดเพื่อนบ้านหลายจังหวัด ได้แก่ ทางเหนือ ติดกับเพชรบูรณ์และขอนแก่น ทางตะวันออกติดกับขอนแก่นและนครราชสีมา ทางตะวันตกติดกับเพชรบูรณ์และจังหวัดลพบุรี และทางใต้ติดกับจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ
สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิปรากฏในทำเนียบแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมา  แต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่งทำมาหากินที่อื่น และเมื่อปี พ . ศ . 23 6 0  " นายแล "  ข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทน์ ได้อพยพครอบครัวและบริวารเดินทางข้ามลำน้ำโขงมาตั้งถิ่นฐานอยู่ ที่บ้านหนองน้ำขุ่น  ( หนองอีจาน )  ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์
ต่อมาในปี พ . ศ . 2362  เมื่อมีคนอพยพเข้ามาอยู่มากนายแลก็ได้ย้ายชุมชน มาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน้ำอ้อมบ้านชีลองห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ  6 กิโลเมตร  นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์จนได้รับบำเหน็จ ความชอบแต่งตั้งเป็น  " ขุนภักดีชุมพล "  ในปี พ . ศ . 2365  นายแลได้ย้าย ชุมชนอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากที่เดิมกันดารน้ำ
มาตั้งใหม่ที่บริเวณบ้านหลวงซึ่งตั้งอยู่ระหว่างหนองปลาเฒ่ากับหนองหลอด  ( เขตอำเภอเมืองชัยภูมิปัจจุบัน )  และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยทองคำถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์อีกต่อไป  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้านหลวงขึ้น เป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตั้งขุนภักดีชุมพล  ( แล )  เป็น  " พระยาภักดีชุมพล "  เจ้าเมืองคนแรก
ต่อมาเจ้าอนุวงศ์ได้ก่อการกบฏ ยกทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพมหานคร โดยหลอกหัวเมืองต่าง ๆ ที่เดินทัพมาว่าจะมาช่วยกรุงเทพมหานครรบ กับอังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถยึดเมืองนครราชสีมาได้เมื่อปี พ . ศ . 2369  ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นต่อมาเมื่อความแตก เจ้าอนุวงศ์ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมา เพื่อนำไปยังเมืองเวียงจันทน์
เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิงชายชาวเมืองที่ถูกจับโดยการนำของคุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุกฮือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพล  ( แล )  เจ้าเมืองชัยภูมิ พร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ยกทัพออกไปสมทบกับ คุณหญิงโมตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์จนแตกพ่ายไปฝ่ายกองทัพ ลาวส่วนหนึ่งล่าถอยจากเมืองนครราชสีมาเข้ายึดเมืองชัยภูมิไว้และเกลี้ยกล่อม ให้พระยาภักดีชุมพลเข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอม เจ้าอนุวงศ์เกิดความแค้นจึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิตที่บริเวณ ใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลาเฒ่า ซึ่งต่อมาชาวชัยภูมิได้ระลึกถึงคุณความดี ที่ท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละต่อแผ่นดิน
จึง ได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้นปัจจุบันทางราชการ ได้สร้างศาลขึ้นใหม่เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า  " ศาลาพระยาภักดี ชุมพล  ( แล )"  มีรูปหล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นที่เคารพกราบไหว้ และถือเป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของจังหวัดตั้งอยู่ห่าง จากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิประมาณ  3  กิโลเมตร
หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น  16  อำเภอ  124  ตำบล  1393  หมู่บ้าน  29  เทศบาล   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล   ศาลเจ้าพ่อพระยาแล   อุทยานแห่งชาติตาดโดน   วัดสระหงษ์   น้ำตกตาดฟ้า   วัดศิลาอาสน์ภูพระ   ปรางค์กู่ ชัยภูมิ   ใบเสมาบ้านกุดโง้ง   น้ำตกผาเอียง   อุทยานแห่งชาติภูแลนคา   ประตูโขลง   ผาเกิ้ง   หมู่บ้านทอผ้าไหมบ้านเขว้า   กู่แดง   พระพุทธบาท ภูแฝด สถานที่ท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติไทรทอง   ถ้ำแก้ว จุดชมวิวเทือกเขาพังเหย บึงแวง พระพุทธรูปใหญ่สมัยทวารวดี ศูนย์รวมไม้ดัดบ้านแข้   พระธาตุหนองสามหมื่น   แหล่งทอผ้าขิตบ้านโนนเสลา   เขื่อนจุฬาภรณ์   เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว - ทุ่งกะมัง   สถานีวิจัยเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าภูเขียว   อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม   น้ำตกเทพพนา น้ำตกเทพประทาน   บึงละหาน   รอยเท้าและฟอสซิลไดโนเสาร์   สวนส้มโอ บ้านแท่น   พระใหญ่สมัยทวารวดี   บึงกาหลง ศาลปู่ด้วง - ย่าดี   เขื่อนลำปะทาว   วัดชัยสามหมอ   บึงแวง   พระแท่นบัลลังก์ พระง้าง สวนรุกขชาติน้ำผุดทัพลาว   ภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์
 
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด คือ รูปธงสามชาย หมายถึงธงแห่งชัยชนะสงคราม เดิมผู้ครองนครได้เลือกภูมิประเทศ เพื่อตั้งเป็นเมือง พบว่าตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ทำเลเหมาะ แก่การสู้รบป้องกันตัว จึงตั้งเมืองขึ้นและให้สัญลักษณ์เป็นรูปธงสามแฉก  คำขวัญประจำจังหวัด : ทิวทัศน์สวย  รวยป่าใหญ่ มีช้างหลาย ดอกไม้งามลือนามวีรบุรุษ สุดยอดผ้าไหม พระใหญ่ทวารวดี  สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
อ วัดทรงศิลา  วัดภูแฝด  วัดศิลาอาสน์  มัสยิดนูรุ้ลฮูดา  วัดสระหงษ์ ศาสนสถานที่สำคัญ
อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรอิศานปุระ  อาณาจักรละโว้ อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์  นครกาหลง อาณาจักรโบราณ
ภาษาอีสาน นิยมพูดทุกอำเภอ  ภาษาไทย มีผู้พูดอยู่หลายคน  ภาษาลาวเวียงจันทน์ ชาวชัยภูมิส่วนใหญ่เป็นเชื้อสายเวียงจันทน์ จึงนิยมพูดกันมาก  ภาษาลาวเหนือ พูดกันในอำเภอคอนสาร  ภาษา
ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ประกอบด้วยป่าไม้และภูเขาร้อยละ   50  ของพื้นที่จังหวัด นอกนั้นเป็นที่ราบสูง บริเวณตอนกลางของจังหวัดเป็นพื้นที่ราบ มีพื้นที่ป่าไม้และเทือกเขาตั้งเรียงรายจากทิศตะวันออกสู่ทิศตะวันตก  ประกอบด้วยเทือกเขาสำคัญได้แก่ ภูอีเฒ่า ภูแลนคา และภูพังเหย รายละเอียดมีดังนี้   1.  ภูเขาและป่าไม้ มีจำนวนพื้นที่  4,026,616  ไร่ ร้อยละ  50.42  2.  ที่ราบลุ่ม มีจำนวนพื้นที่  3,603,994  ไร่ ร้อยละ  45.13  3.  ที่ราบสูงนอกเขตป่าไม้ มีจำนวนพื้นที่  252,413  ไร่ ร้อยละ  3.16  4.  พื้นน้ำ มีจำนวนพื้นที่  63,431  ไร่ ร้อยละ  0.79  5.  เนื้อที่ดินดาน ดินเลนใช้ประโยชน์ไม่ได้ มีจำนวนพื้นที่  39,975  ไร่ ร้อยละ   0.50  ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
       เป็นแบบมรสุมเขตร้อน    แบ่งออกเป็น  2  ฤดู    ได้แก่       (1)  ฤดูฝน    แบ่งออกเป็น  2  ช่วง    ได้แก่    ช่วงที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้    ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดียเข้ามา   ทำให้มีฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม    อีกช่วงหนึ่งก็คือช่วงที่รับลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ    ซึ่งพัดเอาความชื้นจากอ่าวไทยเข้ามา   ทำให้ฝนตกชุกอีกในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม       (2)  ฤดูร้อน    ฤดูร้อนอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน    เนื่องจากได้รับลมตะวันออกเฉียงใต้    ซึ่งเป็นลมร้อนที่พัดมาจากทะเลจีนใต้   ทำให้อากาศโดยทั่วไปร้อนและชื้น
โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ในจังหวัดชัยภูมิ  เป็นอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานในลักษณะการแปรรูป ผลผลิตทางด้านการเกษตรเบื้องต้น และส่งต่อไปยัง โรงงานอุตสาหกรรมในกรุงเทพฯ และจังหวัดอื่น ๆ อุตสาหกรรมในจังหวัดชัยภูมิที่คาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวมาก คือ อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรในอำเภอที่มี การปลูกพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น อำเภอภูเขียว บำเหน็จณรงค์ เทพสถิต คอนสวรรค์ และภักดีชุมพล ส่วนโรงงานอุสาหกรรม ที่น่าจะมีการส่งเสริมอีก คือ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง  สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์จากข้าวโพด เยื่อกระดาษจากฟางข้าว และไม้โตเร็ว  ไซโล ดอกไม้ประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก แป้งข้าวเจ้า แป้งถั่วเขียว นมพร้อมดื่ม อุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรม   การอุตสาหกรรมจังหวัดชัยภูมิ
ในปีพ . ศ .  2544  จังหวัดชัยภูมิมีสถานประกอบอุตสาหกรรมทั้งสิ้น  486  แห่ง  เงินทุน  5,947.700  ล้านบาท จำนวนคนงาน  10,482  คน  เป็นสถานประกอบอุตสาหกรรมเกษตรมากที่สุดจำนวน  118  แห่ง  จำนวนเงินทุน  1,929,743,626  ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน  1,099  คน รองลงมา เป็นสถานประกอบอุตสาหกรรมโลหะและอโลหะ จำนวน  150  แห่ง จำนวนเงินทุน  752,814,765  ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน  875  คน โดยสถานประกอบอุตสาหกรรมด้านไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้มีจำนวนน้อยที่สุดคือ  7  แห่ง จำนวนเงินทุน  27,975,000  สถิติโรงงานอุตสาหกรรม
โดยภาพรวมของโครงการที่อนุมัติให้มีการส่งเสริมการลงทุน จังหวัดชัยภูมิ ระหว่างปี พ . ศ .  2535-2544  พบว่า  มีโครงการที่ได้รับอนุมัติให้มีการส่งเสริมการลงทุนในจังหวัดชัยภูมิอย่างต่อเนื่อง  โดยที่ในปี  2539  มีโครงการได้รับอนุมัติมากที่สุด คือ  7  โครงการ  เงินลงทุน  907.8  ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน  791  คน สำหรับในปี  2544  มีโครงการที่ได้รับการอนุมัติจำนวน  2  โครงการ  เงินลงทุน  340  ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน  647  คน  ซึ่งลดลงจากปี  2542  จำนวน  1  โครงการ เมื่อพิจารณาประเภท ของอุตสาหกรรมทางเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร เงินลงทุน  300  ล้านบาท มีการจ้างงาน  120  คนและอุตสาหกรรมเบา เงินลงทุน  40  ล้านบาท มีการจ้างงาน   527  คน  การส่งเสริมการลงทุน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติรายงานว่า ในปี พ . ศ .  2543  จังหวัดชัยภูมิมีมูลค่ารวมผลิตภัณฑ์จังหวัด  ( GPP)  ตามราคาประจำปี  29,988  ล้านบาท มูลค่ารวมผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัว ( Per Capita GPP)  เท่ากับ  27,138  บาท จัดเป็นลำดับที่  5  ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และลำดับที่  61  ของประเทศ รายได้ส่วนใหญ่ ขึ้นอยู่กันสาขาการเกษตรมากที่สุดถึงร้อยละ  23.74  คิดเป็นมูลค่า   7,121  ล้านบาท รองลงมาเป็นสาขาค้าส่งและค้าปลีกร้อยละ  20.01  คิดเป็นมูลค่า  6,003  ล้านบาท  และอุตสาหกรรมเป็นอันดับที่  3  มีมูลค่า  5,528  ล้านบาท หรือร้อยละ  18.43  อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจร้อยละ  1.36  อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาผลิตภัณฑ์ มวลรวมของจังหวัดชัยภูมิโดยภาพรวม พบว่า เศรษฐกิจของจังหวัดชัยภูมิมีอัตรา การขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปี ถึงจะมีอัตราการเพิ่มไม่มากนักก็ตาม ภาคธุรกิจที่มี การขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้แก่ อุตสาหกรรม การค้าปลีกค้าส่ง บริการ  ส่วนภาคการเกษตรทรงตัว  เศรษฐกิจโดยรวมจังหวัดชัยภูมิ
การคมนาคมขนส่ง
การขนส่งทางรถไฟ  จังหวัดชัยภูมิมีเส้นทางรถไฟผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ ของจังหวัดซึ่งเป็นเส้นทางระหว่างอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี  –  อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา –  อำเภอเทพสถิต  –  บำเหน็จณรงค์  –  จัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมีสถานีรถไฟรวม  6  สถานี มีขบวนรถไฟผ่านสถานีรถไฟอำเภอบำเหน็จณรงค์ และอำเภอจัตุรัส ขึ้นล่องวันละ  10  ขบวน เนื่องจากการคมนาคมทางรถไฟ  ไม่ผ่านเส้นทางสำคัญของจังหวัด และตัวจังหวัด ทำให้การเดินทางโดยรถไฟ ไม่เป็นที่นิยมสำหรับประชาชน เพราะไม่สะดวกเท่าทางรถยนต์
การขนส่งทางรถยนต์  การคมนาคมขนส่งทางบกของจังหวัดชัยภูมิ มีความสะดวกสบาย และเป็นที่นิยมของประชาชนในจังหวัดชัยภูมิมาก  โดยมีเส้นทางติดต่อกับกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียงได้อย่างสะดวก มีทางรถยนต์โดยสาร วิ่งระหว่างจังหวัดกรุงเทพฯ มายัง  จังหวัดชัยภูมิหรือจังหวัดอื่นซึ่งผ่านจังหวัดชัยภูมิ  4  สายและรถยนต์ โดยสารวิ่งระหว่างจังหวัดชัยภูมิไปยังจังหวัดใกล้เคียง จำนวน  25  สาย รถยนต์โดยสารวิ่งระหว่างจังหวัดกับอำเภอมี  29  สาย  และเส้นทางเดินรถภายในชุมชนเมืองชัยภูมิ  3  สาย จังหวัดชัยภูมิ มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ หลายจังหวัด สภาพถนนดี และเดินทางสะดวกทุกฤดูกาล
ตราประจำจังหวัด  เป็นรูปธงสามชาย ซึ่งเป็นธงนำกระบวนทัพในสมัยโบราณ   หมายถึง ธงแห่งชัยชนะสงคราม เดิมผู้ครองนคร ได้เลือกภูมิประเทศเพื่อตั้งเป็นเมือง พบว่าตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ทำเลเหมาะแก่การสู้รบป้องกัน ตัวจึงตั้งเมืองขึ้นและให้สัญญลักษณ์เป็นรูปธงชัย  3  แฉก  ดอกไม้ประจำจังหวัด คือ ดอกกระเจียว  ต้นไม้ประจำจังหวัด คือ ต้นขี้เหล็ก
 
สารานุกรมเสรี .  (“ จังหวัดชัยภูมิ .”)   19  พฤศจิกายน  2553.  < http://th.wikipedia.org/wiki. >  9  ธันวาคม  2553.   จังหวัดชัยภูมิ .  (“ จังหวัดชัยภูมิ .”)  9  ธันวาคม  2553.   <http://www.tourthai.com/province/chaiyaphum/. >  9  ธันวาคม  2553.   บรรณานุกรม
จบการนำเสนอ นายอนุชาติ  โนนทอง ชั้นม . 5 / 3 เลขที่ 10

Contenu connexe

Tendances

นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31Pare Taepthai
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราชSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีguestd4f761
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีguestd4f761
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีguestd4f761
 
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 

Tendances (18)

นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
 
ลพบุรี
ลพบุรีลพบุรี
ลพบุรี
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
จ.ขอนเเก่น
จ.ขอนเเก่นจ.ขอนเเก่น
จ.ขอนเเก่น
 
5
55
5
 
จังหวัดลำปาง
 จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง
จังหวัดลำปาง
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
 
จังหวัดหนองบัวลำภู
จังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองบัวลำภู
จังหวัดหนองบัวลำภู
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
สงขลา
สงขลาสงขลา
สงขลา
 

En vedette (8)

นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finishนำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
จอมพล ป.พิบูลสงคราม
จอมพล ป.พิบูลสงครามจอมพล ป.พิบูลสงคราม
จอมพล ป.พิบูลสงคราม
 
งานบีบี
งานบีบีงานบีบี
งานบีบี
 
สอ เสถบุตร
สอ เสถบุตรสอ เสถบุตร
สอ เสถบุตร
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
รัฐเซีย
รัฐเซียรัฐเซีย
รัฐเซีย
 

Similaire à ชัยภุม

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริงานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริPare Taepthai
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทย
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทยแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทย
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทยเกษมณี 'ฯ
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนขวัญ ขวัญ
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okPatpong Lohapibool
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีguestd4f761
 

Similaire à ชัยภุม (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริงานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
3
33
3
 
จังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรี
 
จังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพรจังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพร
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
จังหวัดกระบี่
จังหวัดกระบี่ จังหวัดกระบี่
จังหวัดกระบี่
 
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
 
112547
112547112547
112547
 
1111
11111111
1111
 
4
44
4
 
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทย
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทยแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทย
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคในประเทศไทย
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
 
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ชัยภุม

  • 2. เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับ 7 ของประเทศ โดยมีเนื้อที่ประมาณ 12 , 778.3 ตารางกิโลเมตร นับเป็นที่ตั้งของแหล่งอารยะธรรมอันเก่าแก่ นับตั้งแต่สมัยทวารวดีสมัย ขอม กระทั่งสมัยที่ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านช้างชัยภูมิมีเขตติดต่อกับจังหวัดเพื่อนบ้านหลายจังหวัด ได้แก่ ทางเหนือ ติดกับเพชรบูรณ์และขอนแก่น ทางตะวันออกติดกับขอนแก่นและนครราชสีมา ทางตะวันตกติดกับเพชรบูรณ์และจังหวัดลพบุรี และทางใต้ติดกับจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ
  • 3. สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิปรากฏในทำเนียบแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมา แต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่งทำมาหากินที่อื่น และเมื่อปี พ . ศ . 23 6 0 &quot; นายแล &quot; ข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทน์ ได้อพยพครอบครัวและบริวารเดินทางข้ามลำน้ำโขงมาตั้งถิ่นฐานอยู่ ที่บ้านหนองน้ำขุ่น ( หนองอีจาน ) ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์
  • 4. ต่อมาในปี พ . ศ . 2362 เมื่อมีคนอพยพเข้ามาอยู่มากนายแลก็ได้ย้ายชุมชน มาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน้ำอ้อมบ้านชีลองห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ 6 กิโลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์จนได้รับบำเหน็จ ความชอบแต่งตั้งเป็น &quot; ขุนภักดีชุมพล &quot; ในปี พ . ศ . 2365 นายแลได้ย้าย ชุมชนอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากที่เดิมกันดารน้ำ
  • 5. มาตั้งใหม่ที่บริเวณบ้านหลวงซึ่งตั้งอยู่ระหว่างหนองปลาเฒ่ากับหนองหลอด ( เขตอำเภอเมืองชัยภูมิปัจจุบัน ) และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยทองคำถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์อีกต่อไป พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้านหลวงขึ้น เป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตั้งขุนภักดีชุมพล ( แล ) เป็น &quot; พระยาภักดีชุมพล &quot; เจ้าเมืองคนแรก
  • 6. ต่อมาเจ้าอนุวงศ์ได้ก่อการกบฏ ยกทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพมหานคร โดยหลอกหัวเมืองต่าง ๆ ที่เดินทัพมาว่าจะมาช่วยกรุงเทพมหานครรบ กับอังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถยึดเมืองนครราชสีมาได้เมื่อปี พ . ศ . 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นต่อมาเมื่อความแตก เจ้าอนุวงศ์ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมา เพื่อนำไปยังเมืองเวียงจันทน์
  • 7. เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิงชายชาวเมืองที่ถูกจับโดยการนำของคุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุกฮือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพล ( แล ) เจ้าเมืองชัยภูมิ พร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ยกทัพออกไปสมทบกับ คุณหญิงโมตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์จนแตกพ่ายไปฝ่ายกองทัพ ลาวส่วนหนึ่งล่าถอยจากเมืองนครราชสีมาเข้ายึดเมืองชัยภูมิไว้และเกลี้ยกล่อม ให้พระยาภักดีชุมพลเข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอม เจ้าอนุวงศ์เกิดความแค้นจึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิตที่บริเวณ ใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลาเฒ่า ซึ่งต่อมาชาวชัยภูมิได้ระลึกถึงคุณความดี ที่ท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละต่อแผ่นดิน
  • 8. จึง ได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้นปัจจุบันทางราชการ ได้สร้างศาลขึ้นใหม่เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า &quot; ศาลาพระยาภักดี ชุมพล ( แล )&quot; มีรูปหล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นที่เคารพกราบไหว้ และถือเป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของจังหวัดตั้งอยู่ห่าง จากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิประมาณ 3 กิโลเมตร
  • 9.
  • 10. อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล ศาลเจ้าพ่อพระยาแล อุทยานแห่งชาติตาดโดน วัดสระหงษ์ น้ำตกตาดฟ้า วัดศิลาอาสน์ภูพระ ปรางค์กู่ ชัยภูมิ ใบเสมาบ้านกุดโง้ง น้ำตกผาเอียง อุทยานแห่งชาติภูแลนคา ประตูโขลง ผาเกิ้ง หมู่บ้านทอผ้าไหมบ้านเขว้า กู่แดง พระพุทธบาท ภูแฝด สถานที่ท่องเที่ยว
  • 11. อุทยานแห่งชาติไทรทอง ถ้ำแก้ว จุดชมวิวเทือกเขาพังเหย บึงแวง พระพุทธรูปใหญ่สมัยทวารวดี ศูนย์รวมไม้ดัดบ้านแข้ พระธาตุหนองสามหมื่น แหล่งทอผ้าขิตบ้านโนนเสลา เขื่อนจุฬาภรณ์ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว - ทุ่งกะมัง สถานีวิจัยเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าภูเขียว อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม น้ำตกเทพพนา น้ำตกเทพประทาน บึงละหาน รอยเท้าและฟอสซิลไดโนเสาร์ สวนส้มโอ บ้านแท่น พระใหญ่สมัยทวารวดี บึงกาหลง ศาลปู่ด้วง - ย่าดี เขื่อนลำปะทาว วัดชัยสามหมอ บึงแวง พระแท่นบัลลังก์ พระง้าง สวนรุกขชาติน้ำผุดทัพลาว ภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์
  • 12.  
  • 13. สัญลักษณ์ประจำจังหวัด คือ รูปธงสามชาย หมายถึงธงแห่งชัยชนะสงคราม เดิมผู้ครองนครได้เลือกภูมิประเทศ เพื่อตั้งเป็นเมือง พบว่าตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ทำเลเหมาะ แก่การสู้รบป้องกันตัว จึงตั้งเมืองขึ้นและให้สัญลักษณ์เป็นรูปธงสามแฉก คำขวัญประจำจังหวัด : ทิวทัศน์สวย รวยป่าใหญ่ มีช้างหลาย ดอกไม้งามลือนามวีรบุรุษ สุดยอดผ้าไหม พระใหญ่ทวารวดี สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
  • 14. อ วัดทรงศิลา วัดภูแฝด วัดศิลาอาสน์ มัสยิดนูรุ้ลฮูดา วัดสระหงษ์ ศาสนสถานที่สำคัญ
  • 15. อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรอิศานปุระ อาณาจักรละโว้ อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ นครกาหลง อาณาจักรโบราณ
  • 16. ภาษาอีสาน นิยมพูดทุกอำเภอ ภาษาไทย มีผู้พูดอยู่หลายคน ภาษาลาวเวียงจันทน์ ชาวชัยภูมิส่วนใหญ่เป็นเชื้อสายเวียงจันทน์ จึงนิยมพูดกันมาก ภาษาลาวเหนือ พูดกันในอำเภอคอนสาร ภาษา
  • 17. ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ประกอบด้วยป่าไม้และภูเขาร้อยละ 50 ของพื้นที่จังหวัด นอกนั้นเป็นที่ราบสูง บริเวณตอนกลางของจังหวัดเป็นพื้นที่ราบ มีพื้นที่ป่าไม้และเทือกเขาตั้งเรียงรายจากทิศตะวันออกสู่ทิศตะวันตก ประกอบด้วยเทือกเขาสำคัญได้แก่ ภูอีเฒ่า ภูแลนคา และภูพังเหย รายละเอียดมีดังนี้ 1. ภูเขาและป่าไม้ มีจำนวนพื้นที่ 4,026,616 ไร่ ร้อยละ 50.42 2. ที่ราบลุ่ม มีจำนวนพื้นที่ 3,603,994 ไร่ ร้อยละ 45.13 3. ที่ราบสูงนอกเขตป่าไม้ มีจำนวนพื้นที่ 252,413 ไร่ ร้อยละ 3.16 4. พื้นน้ำ มีจำนวนพื้นที่ 63,431 ไร่ ร้อยละ 0.79 5. เนื้อที่ดินดาน ดินเลนใช้ประโยชน์ไม่ได้ มีจำนวนพื้นที่ 39,975 ไร่ ร้อยละ 0.50 ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป
  • 18.
  • 19.        เป็นแบบมรสุมเขตร้อน   แบ่งออกเป็น 2 ฤดู   ได้แก่       (1) ฤดูฝน   แบ่งออกเป็น 2 ช่วง   ได้แก่   ช่วงที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้   ซึ่งพัดเอาความชื้นจากทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดียเข้ามา   ทำให้มีฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม   อีกช่วงหนึ่งก็คือช่วงที่รับลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ   ซึ่งพัดเอาความชื้นจากอ่าวไทยเข้ามา   ทำให้ฝนตกชุกอีกในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม       (2) ฤดูร้อน   ฤดูร้อนอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน   เนื่องจากได้รับลมตะวันออกเฉียงใต้   ซึ่งเป็นลมร้อนที่พัดมาจากทะเลจีนใต้   ทำให้อากาศโดยทั่วไปร้อนและชื้น
  • 20. โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ในจังหวัดชัยภูมิ เป็นอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานในลักษณะการแปรรูป ผลผลิตทางด้านการเกษตรเบื้องต้น และส่งต่อไปยัง โรงงานอุตสาหกรรมในกรุงเทพฯ และจังหวัดอื่น ๆ อุตสาหกรรมในจังหวัดชัยภูมิที่คาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวมาก คือ อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรในอำเภอที่มี การปลูกพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น อำเภอภูเขียว บำเหน็จณรงค์ เทพสถิต คอนสวรรค์ และภักดีชุมพล ส่วนโรงงานอุสาหกรรม ที่น่าจะมีการส่งเสริมอีก คือ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์จากข้าวโพด เยื่อกระดาษจากฟางข้าว และไม้โตเร็ว ไซโล ดอกไม้ประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก แป้งข้าวเจ้า แป้งถั่วเขียว นมพร้อมดื่ม อุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรม การอุตสาหกรรมจังหวัดชัยภูมิ
  • 21. ในปีพ . ศ . 2544 จังหวัดชัยภูมิมีสถานประกอบอุตสาหกรรมทั้งสิ้น 486 แห่ง เงินทุน 5,947.700 ล้านบาท จำนวนคนงาน 10,482 คน เป็นสถานประกอบอุตสาหกรรมเกษตรมากที่สุดจำนวน 118 แห่ง จำนวนเงินทุน 1,929,743,626 ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน 1,099 คน รองลงมา เป็นสถานประกอบอุตสาหกรรมโลหะและอโลหะ จำนวน 150 แห่ง จำนวนเงินทุน 752,814,765 ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน 875 คน โดยสถานประกอบอุตสาหกรรมด้านไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้มีจำนวนน้อยที่สุดคือ 7 แห่ง จำนวนเงินทุน 27,975,000 สถิติโรงงานอุตสาหกรรม
  • 22. โดยภาพรวมของโครงการที่อนุมัติให้มีการส่งเสริมการลงทุน จังหวัดชัยภูมิ ระหว่างปี พ . ศ . 2535-2544 พบว่า มีโครงการที่ได้รับอนุมัติให้มีการส่งเสริมการลงทุนในจังหวัดชัยภูมิอย่างต่อเนื่อง โดยที่ในปี 2539 มีโครงการได้รับอนุมัติมากที่สุด คือ 7 โครงการ เงินลงทุน 907.8 ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน 791 คน สำหรับในปี 2544 มีโครงการที่ได้รับการอนุมัติจำนวน 2 โครงการ เงินลงทุน 340 ล้านบาท มีการจ้างงานจำนวน 647 คน ซึ่งลดลงจากปี 2542 จำนวน 1 โครงการ เมื่อพิจารณาประเภท ของอุตสาหกรรมทางเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร เงินลงทุน 300 ล้านบาท มีการจ้างงาน 120 คนและอุตสาหกรรมเบา เงินลงทุน 40 ล้านบาท มีการจ้างงาน 527 คน การส่งเสริมการลงทุน
  • 23. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติรายงานว่า ในปี พ . ศ . 2543 จังหวัดชัยภูมิมีมูลค่ารวมผลิตภัณฑ์จังหวัด ( GPP) ตามราคาประจำปี 29,988 ล้านบาท มูลค่ารวมผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัว ( Per Capita GPP) เท่ากับ 27,138 บาท จัดเป็นลำดับที่ 5 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และลำดับที่ 61 ของประเทศ รายได้ส่วนใหญ่ ขึ้นอยู่กันสาขาการเกษตรมากที่สุดถึงร้อยละ 23.74 คิดเป็นมูลค่า 7,121 ล้านบาท รองลงมาเป็นสาขาค้าส่งและค้าปลีกร้อยละ 20.01 คิดเป็นมูลค่า 6,003 ล้านบาท และอุตสาหกรรมเป็นอันดับที่ 3 มีมูลค่า 5,528 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.43 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจร้อยละ 1.36 อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาผลิตภัณฑ์ มวลรวมของจังหวัดชัยภูมิโดยภาพรวม พบว่า เศรษฐกิจของจังหวัดชัยภูมิมีอัตรา การขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปี ถึงจะมีอัตราการเพิ่มไม่มากนักก็ตาม ภาคธุรกิจที่มี การขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้แก่ อุตสาหกรรม การค้าปลีกค้าส่ง บริการ ส่วนภาคการเกษตรทรงตัว เศรษฐกิจโดยรวมจังหวัดชัยภูมิ
  • 25. การขนส่งทางรถไฟ จังหวัดชัยภูมิมีเส้นทางรถไฟผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ ของจังหวัดซึ่งเป็นเส้นทางระหว่างอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี – อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา – อำเภอเทพสถิต – บำเหน็จณรงค์ – จัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมีสถานีรถไฟรวม 6 สถานี มีขบวนรถไฟผ่านสถานีรถไฟอำเภอบำเหน็จณรงค์ และอำเภอจัตุรัส ขึ้นล่องวันละ 10 ขบวน เนื่องจากการคมนาคมทางรถไฟ ไม่ผ่านเส้นทางสำคัญของจังหวัด และตัวจังหวัด ทำให้การเดินทางโดยรถไฟ ไม่เป็นที่นิยมสำหรับประชาชน เพราะไม่สะดวกเท่าทางรถยนต์
  • 26. การขนส่งทางรถยนต์ การคมนาคมขนส่งทางบกของจังหวัดชัยภูมิ มีความสะดวกสบาย และเป็นที่นิยมของประชาชนในจังหวัดชัยภูมิมาก โดยมีเส้นทางติดต่อกับกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียงได้อย่างสะดวก มีทางรถยนต์โดยสาร วิ่งระหว่างจังหวัดกรุงเทพฯ มายัง จังหวัดชัยภูมิหรือจังหวัดอื่นซึ่งผ่านจังหวัดชัยภูมิ 4 สายและรถยนต์ โดยสารวิ่งระหว่างจังหวัดชัยภูมิไปยังจังหวัดใกล้เคียง จำนวน 25 สาย รถยนต์โดยสารวิ่งระหว่างจังหวัดกับอำเภอมี 29 สาย และเส้นทางเดินรถภายในชุมชนเมืองชัยภูมิ 3 สาย จังหวัดชัยภูมิ มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ หลายจังหวัด สภาพถนนดี และเดินทางสะดวกทุกฤดูกาล
  • 27. ตราประจำจังหวัด เป็นรูปธงสามชาย ซึ่งเป็นธงนำกระบวนทัพในสมัยโบราณ หมายถึง ธงแห่งชัยชนะสงคราม เดิมผู้ครองนคร ได้เลือกภูมิประเทศเพื่อตั้งเป็นเมือง พบว่าตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ทำเลเหมาะแก่การสู้รบป้องกัน ตัวจึงตั้งเมืองขึ้นและให้สัญญลักษณ์เป็นรูปธงชัย 3 แฉก ดอกไม้ประจำจังหวัด คือ ดอกกระเจียว ต้นไม้ประจำจังหวัด คือ ต้นขี้เหล็ก
  • 28.  
  • 29. สารานุกรมเสรี . (“ จังหวัดชัยภูมิ .”) 19 พฤศจิกายน 2553. < http://th.wikipedia.org/wiki. > 9 ธันวาคม 2553. จังหวัดชัยภูมิ . (“ จังหวัดชัยภูมิ .”) 9 ธันวาคม 2553. <http://www.tourthai.com/province/chaiyaphum/. > 9 ธันวาคม 2553. บรรณานุกรม
  • 30. จบการนำเสนอ นายอนุชาติ โนนทอง ชั้นม . 5 / 3 เลขที่ 10