SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
สมุทรปราการ
ตราประจำจังหวัด
จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ หรือที่เรียกกันว่าเมืองปากน้ำ ซึ่งเคยเป็นเมืองหน้าด่านทางทะเลที่สำคัญในอดีต จังหวัดสมุทรปราการตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไทยสองฟากฝั่งตอนปลายสุดของแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณปากอ่าวไทย ระหว่างเส้นละติจูดที่ 13-14 องศาเหนือ และเส้นลองจิจูดที่ 100-101 องศาตะวันออก ห่างจากใจกลางกรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 29 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 1,004 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
อาณาเขต อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือและทิศตะวันตกติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้ติดต่อกับอ่าวไทย (แนวเขตน่านน้ำตามพระราชบัญญัติกำหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ. 2502 [3] ติดต่อ กรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดเพชรบุรีจังหวัดชลบุรีจังหวัดฉะเชิงเทรา)
หน่วยการปกครอง การบริหารราชการส่วนภูมิภาค จังหวัดสมุทรปราการแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 6 อำเภอ ประกอบไปด้วย อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางบ่อ อำเภอบางพลี อำเภอพระประแดง อำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอบางเสาธง* ใน 6 อำเภอ แบ่งออกเป็น 50 ตำบล 405 หมู่บ้าน
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ตราพระสมุทรเจดีย์ : ตราประจำจังหวัด ต้นโพทะเล (Thespesiapopulnea) ต้นไม้ประจำจังหวัด ดอกดาวเรือง (TageteserectaL.) ดอกไม้ประจำจังหวัด คำขวัญประจำจังหวัด: ป้อมยุทธนาวี พระเจดีย์กลางน้ำ ฟาร์มจระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้งรสดี ประเพณีรับบัว ครบถ้วนทั่วอุตสาหกรรม งามล้ำโพทะเล อักษรย่อ จังหวัดสมุทรปราการใช้อักษรย่อ สป  
การท่องเที่ยว ป่าชายเลนบางปู
เมืองโบราณ
พระสมุทรเจดีย์
วัดบางหัวเสือ
คมนาคม ในจังหวัดสมุทรปราการ การเดินทางส่วนใหญ่ใช้รถส่วนบุคคลและรถประจำทาง โดยจุดรถประจำทางที่สำคัญได้แก่ บริเวณ บางนาสำโรงปากน้ำบางพลี และพระประแดง สำหรับการโดยสารทางเรือ ผ่านทางแม่น้ำเจ้าพระยา มีเรือโดยสารเลียบแม่น้ำ ขึ้นได้ที่ท่าน้ำปากน้ำ และมีการโดยสารข้ามแม่น้ำหลายจุด รวมทั้งบริเวณท่าน้ำพระประแดงมีท่าแพสำหรับบรรทุกรถข้ามแม่น้ำ การเดินทางทางอากาศผ่านทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และยังสามารถเดินทางเข้ากรุงเทพมหานครได้โดยทางรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ นอกจากนั้น การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยหรือ รฟม. จะทำการก่อสร้างส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท เข้าสู่จังหวัดสมุทรปราการ โดยได้แบ่งออกเป็น 2 ระยะต่อจากของกรุงเทพมหานครคือ ระยะที่สอง แบริ่ง - สมุทรปราการ (บางปิ้ง) จำนวน 9 สถานี รวมระยะทาง 12.6 กิโลเมตร ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมโครงการ และน่าจะเริ่มก่อสร้างได้ในไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2554 โดยในขณะนี้ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่เขตบางนากรุงเทพมหานคร และอำเภอเมืองสมุทรปราการไว้แล้ว และมีผลบังคับใช้ 4 ปี ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2553 รวมระยะทางตามแนวโครงการ 14 กิโลเมตร โดยผู้ที่ถูกเวนคืนที่ดินจะถือว่าเป็น ผู้เสียสละ โดยจะได้รับเกียรติบัตร และยังได้รับการจารึกชื่อลงในแผ่นหินและนำไปแสดงไว้ที่สถานีปลายทางของโครงการในระยะที่สอง นอกจากนั้นยังมีการศึกษาแนวทางในการเดินรถระยะที่สาม ต่อจากบางปิ้งไปจนถึงบางปู (สถานพักผ่อนตากอากาศบางปู) จำนวน 4 สถานี ระยะทาง 7 กิโลเมตร
การศึกษาและศูนย์วิจัย การศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการมีการรับรองตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งการศึกษาสำหรับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. และ ปวส.) ได้แก่ โรงเรียนเทคโนโลยีบริหารธุรกิจสมุทรปราการ,วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ และ วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ นอกจากนี้มีการศึกษาทางทหารที่โรงเรียนนายเรือ และศึกษาการเดินเรือพาณิชย์ที่ ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี สำหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดสมุทรปราการ มีมหาวิทยาลัยรัฐบาล ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ และมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งได้แก่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ชาวสมุทรปราการที่มีชื่อเสียง กรุง ศรีวิไล - ดารานักแสดงและนักการเมือง นาม ยิ้มแย้ม - ประธานคณะอนุกรรมการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง ปัญญา ถนอมรอด - ประธานศาลฎีกา เมืองทอง สมยาประเสริฐ - นักร้องเพลงลูกทุ่ง สดใส รุ่งโพธิ์ทอง - นักร้องเพลงลูกทุ่ง ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร - ราชบัณฑิต แพทย์ดีเด่น และหนึ่งในแพทย์ผู้ชันสูตรพระบรมศพรัชกาลที่ 8 สุรศักดิ์ ตังสุรัตน์ - อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทยและอดีตโค้ชทีมเมืองทองยูไนเต็ด อภิเชษฐ์ พุฒตาล - นักฟุตบอลทีมชาติไทย วัฒนา อัศวเหม - ประธานพรรคเพื่อแผ่นดิน บุญเกิด ธรรมวาสี - นักวิชาการ ผู้คิดค้นเกมอักษรไขว้ภาษาไทย www.pasathai.net ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ - นักร้องวง D2B รำลึก ธีรพงษ์ - นักกีฬาหมากรุกไทย และครูหมากรุกไทยชื่อดัง ฝนทิพย์ วัชรตระกูล - มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2553
เทศกาลและงานประเพณี งานนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์ จะจัดขึ้นในวันแรม 5 คำเดือน 11 ของทุกปีเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน งานเทศกาลสงกรานต์ปากลัด จัดที่พระประแดงในวันอาทิตย์แรกหลังจากงานงานสงกรานต์ วันที่ 13 เมษายนผ่านไปแล้ว ประเพณีรับบัวหรือโยนบัว
ประเพณีรับบัว
บรรณานุกรม จากวิกิพีเดีย // จังหวัดสมุทรปราการ //   23 มกราคม 2554 เวลา 15:42 น. http://th.wikipedia.org เวลาที่ค้นหา  1 กุมภาพันธ์ 2554
จัดทำโดย นางสาวฐาปนีย์    พึ่งบางกรวย ชั้นม.5/2  เลขที่ 18

More Related Content

Similar to สมุทรปราการ

จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการwowtoy
 
จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการwowtoy
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okPatpong Lohapibool
 
เที่ยวตราดกันค่ะ
เที่ยวตราดกันค่ะเที่ยวตราดกันค่ะ
เที่ยวตราดกันค่ะguestcfc22b
 
แผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศแผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศstudentkc3 TKC
 

Similar to สมุทรปราการ (17)

สมุทรปราการ
สมุทรปราการสมุทรปราการ
สมุทรปราการ
 
จังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพรจังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพร
 
จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการ
 
จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการ
 
Souththailand.ppt111
Souththailand.ppt111Souththailand.ppt111
Souththailand.ppt111
 
Souththailand
SouththailandSouththailand
Souththailand
 
Souththailand
SouththailandSouththailand
Souththailand
 
สุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานีสุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานี
 
สุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานีสุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานี
 
สตูล
สตูลสตูล
สตูล
 
สตูล
สตูลสตูล
สตูล
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
 
ตราด
ตราดตราด
ตราด
 
เที่ยวตราดกันค่ะ
เที่ยวตราดกันค่ะเที่ยวตราดกันค่ะ
เที่ยวตราดกันค่ะ
 
Philaiphon5 2 18
Philaiphon5 2 18Philaiphon5 2 18
Philaiphon5 2 18
 
จังหวัดนครนายก
จังหวัดนครนายกจังหวัดนครนายก
จังหวัดนครนายก
 
แผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศแผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศ
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

สมุทรปราการ

  • 3. จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ หรือที่เรียกกันว่าเมืองปากน้ำ ซึ่งเคยเป็นเมืองหน้าด่านทางทะเลที่สำคัญในอดีต จังหวัดสมุทรปราการตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไทยสองฟากฝั่งตอนปลายสุดของแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณปากอ่าวไทย ระหว่างเส้นละติจูดที่ 13-14 องศาเหนือ และเส้นลองจิจูดที่ 100-101 องศาตะวันออก ห่างจากใจกลางกรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 29 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 1,004 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
  • 4. อาณาเขต อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือและทิศตะวันตกติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้ติดต่อกับอ่าวไทย (แนวเขตน่านน้ำตามพระราชบัญญัติกำหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ. 2502 [3] ติดต่อ กรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดเพชรบุรีจังหวัดชลบุรีจังหวัดฉะเชิงเทรา)
  • 5. หน่วยการปกครอง การบริหารราชการส่วนภูมิภาค จังหวัดสมุทรปราการแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 6 อำเภอ ประกอบไปด้วย อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางบ่อ อำเภอบางพลี อำเภอพระประแดง อำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอบางเสาธง* ใน 6 อำเภอ แบ่งออกเป็น 50 ตำบล 405 หมู่บ้าน
  • 6. สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ตราพระสมุทรเจดีย์ : ตราประจำจังหวัด ต้นโพทะเล (Thespesiapopulnea) ต้นไม้ประจำจังหวัด ดอกดาวเรือง (TageteserectaL.) ดอกไม้ประจำจังหวัด คำขวัญประจำจังหวัด: ป้อมยุทธนาวี พระเจดีย์กลางน้ำ ฟาร์มจระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้งรสดี ประเพณีรับบัว ครบถ้วนทั่วอุตสาหกรรม งามล้ำโพทะเล อักษรย่อ จังหวัดสมุทรปราการใช้อักษรย่อ สป  
  • 11. คมนาคม ในจังหวัดสมุทรปราการ การเดินทางส่วนใหญ่ใช้รถส่วนบุคคลและรถประจำทาง โดยจุดรถประจำทางที่สำคัญได้แก่ บริเวณ บางนาสำโรงปากน้ำบางพลี และพระประแดง สำหรับการโดยสารทางเรือ ผ่านทางแม่น้ำเจ้าพระยา มีเรือโดยสารเลียบแม่น้ำ ขึ้นได้ที่ท่าน้ำปากน้ำ และมีการโดยสารข้ามแม่น้ำหลายจุด รวมทั้งบริเวณท่าน้ำพระประแดงมีท่าแพสำหรับบรรทุกรถข้ามแม่น้ำ การเดินทางทางอากาศผ่านทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และยังสามารถเดินทางเข้ากรุงเทพมหานครได้โดยทางรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ นอกจากนั้น การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยหรือ รฟม. จะทำการก่อสร้างส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท เข้าสู่จังหวัดสมุทรปราการ โดยได้แบ่งออกเป็น 2 ระยะต่อจากของกรุงเทพมหานครคือ ระยะที่สอง แบริ่ง - สมุทรปราการ (บางปิ้ง) จำนวน 9 สถานี รวมระยะทาง 12.6 กิโลเมตร ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการจัดเตรียมโครงการ และน่าจะเริ่มก่อสร้างได้ในไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2554 โดยในขณะนี้ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่เขตบางนากรุงเทพมหานคร และอำเภอเมืองสมุทรปราการไว้แล้ว และมีผลบังคับใช้ 4 ปี ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2553 รวมระยะทางตามแนวโครงการ 14 กิโลเมตร โดยผู้ที่ถูกเวนคืนที่ดินจะถือว่าเป็น ผู้เสียสละ โดยจะได้รับเกียรติบัตร และยังได้รับการจารึกชื่อลงในแผ่นหินและนำไปแสดงไว้ที่สถานีปลายทางของโครงการในระยะที่สอง นอกจากนั้นยังมีการศึกษาแนวทางในการเดินรถระยะที่สาม ต่อจากบางปิ้งไปจนถึงบางปู (สถานพักผ่อนตากอากาศบางปู) จำนวน 4 สถานี ระยะทาง 7 กิโลเมตร
  • 12. การศึกษาและศูนย์วิจัย การศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการมีการรับรองตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งการศึกษาสำหรับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. และ ปวส.) ได้แก่ โรงเรียนเทคโนโลยีบริหารธุรกิจสมุทรปราการ,วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ และ วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ นอกจากนี้มีการศึกษาทางทหารที่โรงเรียนนายเรือ และศึกษาการเดินเรือพาณิชย์ที่ ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี สำหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดสมุทรปราการ มีมหาวิทยาลัยรัฐบาล ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ และมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งได้แก่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • 13. ชาวสมุทรปราการที่มีชื่อเสียง กรุง ศรีวิไล - ดารานักแสดงและนักการเมือง นาม ยิ้มแย้ม - ประธานคณะอนุกรรมการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง ปัญญา ถนอมรอด - ประธานศาลฎีกา เมืองทอง สมยาประเสริฐ - นักร้องเพลงลูกทุ่ง สดใส รุ่งโพธิ์ทอง - นักร้องเพลงลูกทุ่ง ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร - ราชบัณฑิต แพทย์ดีเด่น และหนึ่งในแพทย์ผู้ชันสูตรพระบรมศพรัชกาลที่ 8 สุรศักดิ์ ตังสุรัตน์ - อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทยและอดีตโค้ชทีมเมืองทองยูไนเต็ด อภิเชษฐ์ พุฒตาล - นักฟุตบอลทีมชาติไทย วัฒนา อัศวเหม - ประธานพรรคเพื่อแผ่นดิน บุญเกิด ธรรมวาสี - นักวิชาการ ผู้คิดค้นเกมอักษรไขว้ภาษาไทย www.pasathai.net ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ - นักร้องวง D2B รำลึก ธีรพงษ์ - นักกีฬาหมากรุกไทย และครูหมากรุกไทยชื่อดัง ฝนทิพย์ วัชรตระกูล - มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2553
  • 14. เทศกาลและงานประเพณี งานนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์ จะจัดขึ้นในวันแรม 5 คำเดือน 11 ของทุกปีเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน งานเทศกาลสงกรานต์ปากลัด จัดที่พระประแดงในวันอาทิตย์แรกหลังจากงานงานสงกรานต์ วันที่ 13 เมษายนผ่านไปแล้ว ประเพณีรับบัวหรือโยนบัว
  • 16. บรรณานุกรม จากวิกิพีเดีย // จังหวัดสมุทรปราการ // 23 มกราคม 2554 เวลา 15:42 น. http://th.wikipedia.org เวลาที่ค้นหา 1 กุมภาพันธ์ 2554
  • 17. จัดทำโดย นางสาวฐาปนีย์ พึ่งบางกรวย ชั้นม.5/2 เลขที่ 18