SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
จังหวัดบุรีรัมย์
ข้อมูลทั่วไป  :   จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง หรืออีสานตอนล่าง มีเนื้อที่ประมาณ  10,321.885  ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพฯทางรถยนต์ ประมาณ 410  กิโลเมตร และทางรถไฟประมาณ  376  กิโลเมตร
อาณาเขตและการปกครอง   :   แบ่งการปกครองออกเป็น  23  อำเภอ คือ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ นางรอง  ลำปลายมาศ ประโคนชัย พุทไธสง สตึก กระสัง บ้านกรวด คูเมือง  ละหานทราย หนองกี่ ปะคำ นาโพธิ์ หนองหงส์ พลับพลาชัย ห้วยราช  โนนสุวรรณ เฉลิมพระเกียรติ ชำนิ โนนดินแดง บ้านกรวดละหานทราย บ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอแคนดง และอำเภอบ้านด่าน
ทิศเหนือ  ติดต่อจังหวัดขอนแก่น และมหาสารคาม ทิศใต้  ติดต่อจังหวัดปราจีนบุรีและเทือกเขาพนมมาลัย ซึ่งกั้นเขตแดน ระหว่างไทยกับกัมพูชาประชาธิปไตย ทิศตะวันออก  ติดต่อจังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก  ติดต่อจังหวัดนครราชสีมา
โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง พื้นที่ลาดจากทิศใต้ลงไปทิศเหนือ พื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นน้อยเป็นที่ราบขั้นบันไดช่องเขา เกิดจากภูเขาไฟระเบิดเมื่อประมาณเก้าแสนถึงหนึ่งล้านปีเศษ  ทำให้จังหวัดบุรีรัมย์มีลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญคือ 1.  พื้นที่สูงและภูเขาทางตอนใต้   2.  พื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นตอนกลางของจังหวัด   3.  พื้นที่ราบลุ่มตอนเหนือริมฝั่งแม่น้ำมูล
ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพภูมิอากาศ อยู่ภายใต้การควบคุมของปัจจัยที่สำคัญ ดังต่อไปนี้   1. ที่ตั้ง จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ในเขตร้อน จึงมีอุณหภูมิสูงตลอดปี   2. แนวเทือกเขาทางทิศใต้ ทิศใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์มีเทือกเขาดงรัก และเทือกเขาสันกำแพงขวางทิศทาง ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้  เขตจังหวัดบุรีรัมย์จึงเป็นเขตเงาฝนหรือเขตบังลม
3. ลมประจำที่พัดผ่าน มีลมมรสุมและลมพายุพัดผ่านความชื้นและความหนาว เย็นจะเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของลมประจำดังกล่าว   4. ระยะห่างจากทะเล จังหวัดบุรีรัมย์อยู่ห่างจากทะเลด้านฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย ( จังหวัดชลบุรี  ) ประมาณ   350  กิโลเมตรอิทธิพลจากทะเลเข้าถึงน้อยทำให้ความชื้น สัมพันธ์เฉลี่ยค่อนข้างต่ำ โดยทั่วไปจึงมีลักษณะอากาศค่อนข้างรุนแรง คือ ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำและฤดูร้อนอุณหภูมิสูงแตกต่างกันค่อนข้างชัดเจน
คำขวัญจังหวัดบุรีรัมย์   " บุรีรัมย์ ....  เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม "
ลักษณะภูมิประเทศ  จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง พื้นที่ลาดจากทิศใต้ลงไป ทางทิศเหนือ พื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นน้อย เป็นที่ราบขั้นบันไดช่องเขาและ ภูมิประเทศที่เกิดจากภูเขาไฟลักษณะ ภูมิประเทศที่สำคัญแบ่งได้  3  ลักษณะคือ
1. พื้นที่สูงและภูเขาทางตอนใต้ เป็นทีลอนลึก ภูเขาและช่องเขาบริเวณเทือกเขาพนม ดงรัก มีความสูงตั้งแต่  200  เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ ร้อยละ  25  ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ บริเวณทิศตะวันตกของอำเภอ หนองหงส์  หนองกี่ ตอนใต้ของอำเภอนางรอง ปะคำ ละหานทราย และบ้านกรวด
2. พื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นตอนกลางของจังหวัด มีความสูงประมาณ  150 -200  เมตร  จากระดับน้ำทะเลปานกลางพื้นที่ทอดขนานเป็นแนวยาวทางทิศตะวันออก และตะวันตก   ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ  60  ของพื้นที่จังหวัดได้แก่ บริเวณ อำเภอประโคนชัยพลับพลาชัย เมืองบุรีรัมย์ กระสัง ลำปลายมาศ  คูเมือง บางส่วนของอำเภอนางรองหนองกี่หนองหงส์ สตึก พุทไธสง  โดยบริเวณอำเภอบ้านกรวด นางรอง ลำปลายมาศ จะมีพื้นที่รายลุ่มบริเวณ ริมฝั่งลำน้ำและลำห้วย ได้แก่ ลำปลายมาศ ลำนางรอง ลำปะเทียบ  ลำทะเมนชัยห้วยราช และห้วยตาดุง ส่วนพื้นที่ตอนใต้ของอำเภอพุทไธสง คูเมือง และ เมืองบุรีรัมย์ จะเป็นพื้นที่ภูเขาสูงและพื้นที่ป่าไม้
3. พื้นที่ราบลุ่มฝั่งแม่น้ำมูล มีความสูงเฉลี่ยต่ำกว่า  150  เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลางได้แก่ พื้นที่ตอนบนของอำเภอพุทไธสง  คูเมือง สตึก และนาโพธิ์
ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพภูมิอากาศ อยู่ภายใต้การควบคุมของปัจจัยที่สำคัญ ดังต่อไปนี้   1. ที่ตั้ง จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ในเขตร้อน จึงมีอุณหภูมิสุงตลอดปี   2. แนวเทือกเขาทางทิศใต้ ทิศใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์มีเทือกเขาดงรัก และเทือกเขาสันกำแพงขวางทิศทาง ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เขตจังหวัดบุรีรัมยจึงเป็นเขตเงาฝนหรือเขตบังลม   3. ลมประจำที่พัดผ่าน มีลมมรสุมและลมพายุพัดผ่านความชื้นและ ความหนาวเย็นจะเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของลมประจำดังกล่าว   4. ระยะห่างจากทะเล จังหวัดบุรีรัมย์อยู่ห่างจากทะเลด้านฝั่งตะวันออก ของอ่าวไทย ( จังหวัดชลบุรี  ) ประมาณ   350  กิโลเมตรอิทธิพลจากทะเล เข้าถึงน้อยทำให้ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยค่อนข้างต่ำ โดยทั่วไปจึงมีลักษณะ อากาศค่อนข้างรุนแรง คือ ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำและฤดูร้อนอุณหภูมิสูงแตกต่าง กันค่อนข้างชัดเจน
ด้านเกษตรกรรม  ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณร้อยละ  87  ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่ ทำสวน ซี่งพืชเศรษฐกิจ ที่ปลูกกันมาก ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ปอ อ้อย หม่อน ยางพารา และผลไม้ต่าง ๆ เช่น มะม่วง ฝรั่ง มะขามหวาน สัมโอ ฯลฯ  จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่ ปลูกข้าวทั้งหมด  3,278,013  ไร่  ได้ผลผลิตรวม   976,475,495  กิโลกรัมคิดเป็น  319  กิโลกรัมต่อไร่ สภาพเศรษฐกิจ
ด้านอุตสาหกรรม  ในจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เช่น โรงสีข้าว  ผลิตภัณฑ์แปรรูปไม้ โรงโม่หิน โรงงานสุรา โรงงานผลิต อาหารสำเร็จรูป  โรงงานน้ำตาลทรายขาว โรงงานทำวิกผม และโรงงานผลิตไหมพรม เป็นต้น จากข้อมูลในปี พ . ศ .  2541  พบว่าในจังหวัดบุรีรัมย์ มีสถานประกอบการ อุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ดังนี้ ประเภทอุตสาหกรรมเกษตร  83  แห่ง ประเภทอุตสาหกรรมอาหาร / เครื่องดื่ม  25  แห่ง ประเภทอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ / ผลิตภัณฑ์ไม้  25  แห่ง ประเภทอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง  75  แห่ง บริการอื่น ๆ  71  แห่ง อื่น ๆ   10  แห่ง รวม  289  แห่ง
              ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วยชาวไทยเขมร ไทยลาว ไทยโคราช และไทยส่วย มีภาษาพูดที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบันสี่ภาษาด้วยกันดังนี้  ประชากร
ภาษาไทยอีสาน  ( ลาว )    มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๕๐ มีใช้มาก ในอำเภอลำปลายมาศ อำเภอพุทไธสง อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอโพธิและหนองหงส์ บางส่วนของอำเภอสตึกอำเภอโนนดินแดง อำเภอโนนสุวรรณ อำเภอหนองกี่ อำเภอคูเมือง อำเภอประคำ และอำเภอเมือง ฯ              
ภาษาไทยเขมร  ( เขมร )    มีคนใชอยู่ประมาณร้อยละ ๑๘ ใช้มากในอำเภอเมือง ฯ  อำเภอห้วยราช อำเภอประโคนชัย อำเภอกระสัง อำเภอบ้านกรวด บางส่วนของอำเภอเมืองและอำเภอพลับพลาชัย          
      ภาษาไทยโคราช   ( สำเนียงโคราช )    มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๓๐  ใช้มากในอำเภอนางรอง อำเภอละหานทราย อำเภอชะคำ อำเภอชำนิ  อำเภอหนอกี่ และบางส่วนของอำเภอเมือง ฯ             
   ภาษาไทยส่วย  ( ส่วย )    มีคนใช้อยู่เล็กน้อยประมาณร้อยละ ๒  ในพื้นที่บางส่วนขออำเภอสตึก กิ่งอำเภอบ้านด่าน อำเภอห้วยราช อำเภอประโคนชัย อำเภอหนองกี่ และอำเภอหนองหงส์
ความหมาย     ปราสาทหิน        หมายถึง ปราสาทเขาพนมรุ้ง ภาพเทวดารำ     หมายถึง ดินแดนแห่งเทพเจ้า ผู้สร้าง ผู้ปราบยุคเข็ญและ                            ผู้ปราสาทสุข   ท่าร่ายรำ             หมายถึง ความสำราญ ชื่นชมยินดี    ซึ่งตรงกับ                           การออกแบบ เสียง พยางค์สุดท้ายของชื่อจังหวัด คือ บุรีรัมย์   ตราสัญลักษณ์และคำขวัญประจำจังหวัดบุรีรัมย์
ดอกไม้ประจำจังหวัด   ดอกสุพรรณิกา  ( ดอกฝ้ายคำ )
กาฬพฤกษ์          พันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคล จังหวัดบุรีรัมย์
ต้นแปะ         ต้นแปะ คือ ต้นไม้ประจำเมืองบุรีรัมย์
นาคราช   ตราสัญลักษณ์การท่องเที่ยวบุรีรัมย์
การเดินทาง   :   ทางรถยนต์   จากกรุงเทพฯ เดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 1( พหลโยธิน )  ถึงสระบุรี เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข  2 ( มิตรภาพ ) จากนั้นแยกขวาเข้า ทางหลวงหมายเลข  24 ( โชคชัย - เดชอุดม )  ผ่านอำเภอหนองกี่ อำเภอนางรอง  แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ตามทางหลวงหมายเลข  218  รวมระยะทาง  410  กิโลเมตร หรือจากนครราชสีมา ตามทางหลวงหมายเลข 226  ผ่านอำเภอจักราช - ห้วยแกลง - ลำปลายมาศ รวมระยะทาง  384  กิโลเมตร รถประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด เดินรถระหว่างกรุงเทพฯ - บุรีรัมย์ ทุกวัน มีทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ รายละเอียดติดต่อได้ที่ สถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถนนกำแพงเพชร  2  โทร .  936-2852-66
ทางรถไฟ   มีรถไฟสายกรุงเทพฯ - อุบลราชธานี กรุงเทพฯ - สุรินทร์  และนครราชสีมา - อุบลราชธานี ทั้งที่เป็นขบวนรถด่วน  รถเร็ว รถธรรมดา และรถดีเซลราง ผ่านสถานีบุรีรัมย์ทุกขบวน  รายละเอียดติดต่อสอบถามได้ที่  1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020  www.railway.co.th
ทางรถโดยสารประจำทาง   บริษัท ขนส่ง จำกัด เดินรถระหว่างกรุงเทพฯ - บุรีรัมย์ ทุกวัน  มีทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ รายละเอียดติดต่อได้ที่  โทร . 0 2936 1880, 0 2936 0657, 0 2936 0667,0 2936 2852  สถานีขนส่งบุรีรัมย์ โทร .  0 4461 2534 www.transport.co.th
ทางเครื่องบิน   บริษัท พีบี แอร์ จำกัด มีเที่ยวบินไปจังหวัดบุรีรัมย์โดยตรง  ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร . 0 2261 0220-5  โทรสาร  0 2261 0227 สำนักงานที่บุรีรัมย์ โทร .  0 4468 0132-3  โทรสาร  0 4468 1533 www.pbair.com
การคมนาคมภายในตัวจังหวัด   การเดินทางภายในตัวเมืองสามารถใช้บริการรถสามล้อรับจ้าง ตกลงค่าโดยสาร ก่อนใช้บริการ ส่วนการเดินทางระหว่างอำเภอมีรถโดยสารจากตัวเมืองบุรีรัมย์ ไปยังอำเภอต่างๆ
การเดินทางจากบุรีรัมย์ไปยังจังหวัดใกล้เคียง   จากกรุงเทพฯ เดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข  1 ( พหลโยธิน )  ถึงสระบุรี  เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข  2 ( มิตรภาพ )  จากนั้นแยกขวาเข้าทางหลวง หมายเลข  24 ( โชคชัย - เดชอุดม )  ผ่านอำเภอหนองกี่ อำเภอนางรอง แล้วเลี้ยว ซ้ายเข้าสู่ตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ตามทางหลวงหมายเลข  218  รวมระยะทาง  410  กิโลเมตร หรือจากนครราชสีมา ตามทางหลวงหมายเลข  226  ผ่านอำเภอจักราช - ห้วยแถลง - ลำปลายมาศ รวมระยะทาง  384  กิโลเมตร
วัดเขาอังคาร ชมใบเสมาแกะสลักสมัยทวารวดี วัดเชาพระอังคราเป็นวัดที่สร้างขึ้นใหม่  ตังอยยู่บนยอดเขาพระอังคารซึ่งสูงประมาณ     320   ม . จะกระดับน้ำทะเลมี โบสถ์ที่ประยุกค์ จากสถาปัคยกรรมหลายสมัย  ดูสวยงามแปลกตาบริเวณ วัดเป็นป่ากปล่องภูเขาไฟคาดว่าเคยเป็นที่ตั้ง ของโบราณสถานสมัยทวารวดี เภพระเสมาหินแกะสลัก สมัยดังกล่าวหลงเฟลืออยู่จำนวนมาก ที่ตั้ง บ้านเจริญสุข ต . เจริญสุข อ . เฉลิมพระเกียรติ
อ่างเก็บน้ำห้วยจรเข้มาก      ดูนกพยพนับแสนตัว ในฤดูหนาวอ่างเก็บน้ำห้วยตรเข้มากเป็น  อ่างเก้บน้ำขนาดใหญ่สร้างขึ้นเพื่อการชลประทานอและการประปา มีพื้นที่  3,876   ไร่ อยู่ใน ต . บ้านบ้ว ต . เสม็ด และ ต . สแกโพรง อ . เมือง มีทั้งนกประจำถิ่นและนกอพยพตามฤดูกาลมาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก  กว่า  170   ชนิด จึงเป็นอีกที่หนึ่งที่เหมาะสำหรับดูนกและพักผ่อน ที่ตั้ง สำนักงานเขตฯ ตั้งอยยูใน ต . บ้านบัว  อ . เมือง จ . บุรีรัมย์  31000
เป็นหมู่บ้านที่ทอผ้าไหม โดยเฉพาะผ้าไหมมัดหมี่ สวยงามที่สุด อยู่ไม่ไกล จากตัวอำเภอนาโพธิ์ ได้รับความสนับสนุนช่วยเหลือ ในด้านการพัฒนาฝีมือ ให้ได้มาตรฐานทั้งรูปแบบ และวิธีการผลิตลวดลายการให้สีจากศูนย์ศิลปาชีพ พิเศษ และเคยได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดผ้าไหมมัดหมี่จากศูนย์ศิลปาชีพฯ มีผ้าไหมหลากหลายรูปแบบให้ซื้อจำนวนมาก  หมู่บ้านทอผ้าไหมอำเภอนาโพธิ์
พระพุทธรูปใหญ่  ( พระพุทธรูปปฏิมาสันตยาภิรมย์สตึกอุดมราษฎร์นิมิตมนิน ) เป็นพระยืนขนาดใหญ่ ริมแม่น้ำมูล ตรงข้ามที่ว่าการอำเภอสตึกเป็นที่เคารพ สักการะของชาวอำเภอสตึกและประชาชนทั่วไป โดยทุกปีจะมีงานประเพณี แข่งเรือยาวจังหวัดบุรีรัมย์ที่แม่น้ำมูลนักท่องเที่ยวจึงไปนมัสการพระพุทธรูปใหญ่ เป็นประจำ
ปราสาทหินเมืองต่ำ เมืองโบราณร่วมสมัยกันปราสาทเขาพนมรุ้งปราสาทเมืองต่ำเป็น ปราสาทหินขอมโปราณที่มีขนาดใหญ่ มา สร้างขึ้นตามคติความเชื่อ ของศาสนาฮินดูเพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาตัวปราสาออกแบบ ได้อย่างงดงาม มีโราสร้างที่ได้สัดส่วนบริเวณโดยรอบปราสาท เป็นชุมชน โบราณสมัยขอม ที่มีประวัติเกี่ยวเนื่องกับปราสาทเขาพนมรุ้งปราสาทเมืองต่ำ จึงมีความสำคัญทางโบราณคดี นอกเหนือ จากเป็รมดกทางศิลปกรรมที่งดงาม ปราสาทแห่งนี้ได้รับการบูรณะ ใน ปี พ . ศ .  2540
นมัสการพระพุทธรูปใหญ่ ชมวิวบนปากปล่องภูเขาไฟ       เขากระโดงเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว   ปากปล่องปะทุเห็นได้ชัดเจน รอบบริเวณแวดล้อมด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า ขนาดเล็ก โดยเฉพาะนกนานาชนิดบนเขากระโดงยังมีโบราณสถานสมัยขอม รอยพระพุทธบาทจำลอง และพระพุทธรูปขานาดใหญ่เป็นที่เคารพลักการะ  ของคนในท้องถิ่นนักท่องเที่ยวนิยม ขึ้นไปชมทิวทัศน์ของตัวเมืองบุรีรัมย์ และไหว้พระเพื่อเป็นสิริมงคล     
แหล่งหินตัด         อยู่ที่บ้านสายตรี  3  -  4   อ . บ้านกรวด ตามชายแดนไทย – กัมพูชา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก มีพื้อนที่กว่า  3,000   ไร่ ชึ่งมีร่องรอยของการสกัดหินไปสร้างปราสาทพรมรุ่ง และปราสาทอื่น ๆ  ในเขตจังหวีดบุรีรัมย์ มีภูมอประเทศที่สวยงามถนนราดยางถึงแหล่งหินตัด  ทางเดินชมความสวยงามของภูมิประเทศ เป็นอย่างยิ่ง
บรรณนุกรม จังหวัดอุบลราชธานี  .  (“ จังหวัดบุรีรัมย์ .”)   4  ธันวาคม  2553.  < http://www.buriram.go.th/ . >  11  ธันวาคม  2553. สารานุกรมเสรี .  (“ จังหวัดบุรีรัมย์ .”)  11  ธันวาคม  2553.  < http://www.moohin.com/045/ . >   11  ธันวาคม  2553.
จบการนำเสนอข้อมูล จัดทำโดย นางสาววิมลศิริ  สืบกินร ชั้น ม . 5 / 2

Contenu connexe

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

บุรีรัมย์

  • 2. ข้อมูลทั่วไป : จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง หรืออีสานตอนล่าง มีเนื้อที่ประมาณ 10,321.885 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพฯทางรถยนต์ ประมาณ 410 กิโลเมตร และทางรถไฟประมาณ 376 กิโลเมตร
  • 3. อาณาเขตและการปกครอง : แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ คือ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ นางรอง ลำปลายมาศ ประโคนชัย พุทไธสง สตึก กระสัง บ้านกรวด คูเมือง ละหานทราย หนองกี่ ปะคำ นาโพธิ์ หนองหงส์ พลับพลาชัย ห้วยราช โนนสุวรรณ เฉลิมพระเกียรติ ชำนิ โนนดินแดง บ้านกรวดละหานทราย บ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอแคนดง และอำเภอบ้านด่าน
  • 4. ทิศเหนือ ติดต่อจังหวัดขอนแก่น และมหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อจังหวัดปราจีนบุรีและเทือกเขาพนมมาลัย ซึ่งกั้นเขตแดน ระหว่างไทยกับกัมพูชาประชาธิปไตย ทิศตะวันออก ติดต่อจังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อจังหวัดนครราชสีมา
  • 5. โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง พื้นที่ลาดจากทิศใต้ลงไปทิศเหนือ พื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นน้อยเป็นที่ราบขั้นบันไดช่องเขา เกิดจากภูเขาไฟระเบิดเมื่อประมาณเก้าแสนถึงหนึ่งล้านปีเศษ ทำให้จังหวัดบุรีรัมย์มีลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญคือ 1. พื้นที่สูงและภูเขาทางตอนใต้ 2. พื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นตอนกลางของจังหวัด 3. พื้นที่ราบลุ่มตอนเหนือริมฝั่งแม่น้ำมูล
  • 6. ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพภูมิอากาศ อยู่ภายใต้การควบคุมของปัจจัยที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ที่ตั้ง จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ในเขตร้อน จึงมีอุณหภูมิสูงตลอดปี 2. แนวเทือกเขาทางทิศใต้ ทิศใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์มีเทือกเขาดงรัก และเทือกเขาสันกำแพงขวางทิศทาง ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เขตจังหวัดบุรีรัมย์จึงเป็นเขตเงาฝนหรือเขตบังลม
  • 7. 3. ลมประจำที่พัดผ่าน มีลมมรสุมและลมพายุพัดผ่านความชื้นและความหนาว เย็นจะเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของลมประจำดังกล่าว 4. ระยะห่างจากทะเล จังหวัดบุรีรัมย์อยู่ห่างจากทะเลด้านฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย ( จังหวัดชลบุรี ) ประมาณ 350 กิโลเมตรอิทธิพลจากทะเลเข้าถึงน้อยทำให้ความชื้น สัมพันธ์เฉลี่ยค่อนข้างต่ำ โดยทั่วไปจึงมีลักษณะอากาศค่อนข้างรุนแรง คือ ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำและฤดูร้อนอุณหภูมิสูงแตกต่างกันค่อนข้างชัดเจน
  • 8. คำขวัญจังหวัดบุรีรัมย์ &quot; บุรีรัมย์ .... เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม &quot;
  • 9. ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง พื้นที่ลาดจากทิศใต้ลงไป ทางทิศเหนือ พื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นน้อย เป็นที่ราบขั้นบันไดช่องเขาและ ภูมิประเทศที่เกิดจากภูเขาไฟลักษณะ ภูมิประเทศที่สำคัญแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ
  • 10. 1. พื้นที่สูงและภูเขาทางตอนใต้ เป็นทีลอนลึก ภูเขาและช่องเขาบริเวณเทือกเขาพนม ดงรัก มีความสูงตั้งแต่ 200 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่ ร้อยละ 25 ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ บริเวณทิศตะวันตกของอำเภอ หนองหงส์ หนองกี่ ตอนใต้ของอำเภอนางรอง ปะคำ ละหานทราย และบ้านกรวด
  • 11. 2. พื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นตอนกลางของจังหวัด มีความสูงประมาณ 150 -200 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลางพื้นที่ทอดขนานเป็นแนวยาวทางทิศตะวันออก และตะวันตก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 60 ของพื้นที่จังหวัดได้แก่ บริเวณ อำเภอประโคนชัยพลับพลาชัย เมืองบุรีรัมย์ กระสัง ลำปลายมาศ คูเมือง บางส่วนของอำเภอนางรองหนองกี่หนองหงส์ สตึก พุทไธสง โดยบริเวณอำเภอบ้านกรวด นางรอง ลำปลายมาศ จะมีพื้นที่รายลุ่มบริเวณ ริมฝั่งลำน้ำและลำห้วย ได้แก่ ลำปลายมาศ ลำนางรอง ลำปะเทียบ ลำทะเมนชัยห้วยราช และห้วยตาดุง ส่วนพื้นที่ตอนใต้ของอำเภอพุทไธสง คูเมือง และ เมืองบุรีรัมย์ จะเป็นพื้นที่ภูเขาสูงและพื้นที่ป่าไม้
  • 12. 3. พื้นที่ราบลุ่มฝั่งแม่น้ำมูล มีความสูงเฉลี่ยต่ำกว่า 150 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลางได้แก่ พื้นที่ตอนบนของอำเภอพุทไธสง คูเมือง สตึก และนาโพธิ์
  • 13. ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพภูมิอากาศ อยู่ภายใต้การควบคุมของปัจจัยที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ที่ตั้ง จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ในเขตร้อน จึงมีอุณหภูมิสุงตลอดปี 2. แนวเทือกเขาทางทิศใต้ ทิศใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์มีเทือกเขาดงรัก และเทือกเขาสันกำแพงขวางทิศทาง ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เขตจังหวัดบุรีรัมยจึงเป็นเขตเงาฝนหรือเขตบังลม 3. ลมประจำที่พัดผ่าน มีลมมรสุมและลมพายุพัดผ่านความชื้นและ ความหนาวเย็นจะเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของลมประจำดังกล่าว 4. ระยะห่างจากทะเล จังหวัดบุรีรัมย์อยู่ห่างจากทะเลด้านฝั่งตะวันออก ของอ่าวไทย ( จังหวัดชลบุรี ) ประมาณ 350 กิโลเมตรอิทธิพลจากทะเล เข้าถึงน้อยทำให้ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยค่อนข้างต่ำ โดยทั่วไปจึงมีลักษณะ อากาศค่อนข้างรุนแรง คือ ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำและฤดูร้อนอุณหภูมิสูงแตกต่าง กันค่อนข้างชัดเจน
  • 14. ด้านเกษตรกรรม ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณร้อยละ 87 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่ ทำสวน ซี่งพืชเศรษฐกิจ ที่ปลูกกันมาก ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ปอ อ้อย หม่อน ยางพารา และผลไม้ต่าง ๆ เช่น มะม่วง ฝรั่ง มะขามหวาน สัมโอ ฯลฯ จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้นที่ ปลูกข้าวทั้งหมด 3,278,013 ไร่ ได้ผลผลิตรวม 976,475,495 กิโลกรัมคิดเป็น 319 กิโลกรัมต่อไร่ สภาพเศรษฐกิจ
  • 15. ด้านอุตสาหกรรม ในจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เช่น โรงสีข้าว ผลิตภัณฑ์แปรรูปไม้ โรงโม่หิน โรงงานสุรา โรงงานผลิต อาหารสำเร็จรูป โรงงานน้ำตาลทรายขาว โรงงานทำวิกผม และโรงงานผลิตไหมพรม เป็นต้น จากข้อมูลในปี พ . ศ . 2541 พบว่าในจังหวัดบุรีรัมย์ มีสถานประกอบการ อุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ดังนี้ ประเภทอุตสาหกรรมเกษตร 83 แห่ง ประเภทอุตสาหกรรมอาหาร / เครื่องดื่ม 25 แห่ง ประเภทอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ / ผลิตภัณฑ์ไม้ 25 แห่ง ประเภทอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง 75 แห่ง บริการอื่น ๆ 71 แห่ง อื่น ๆ 10 แห่ง รวม 289 แห่ง
  • 16.              ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วยชาวไทยเขมร ไทยลาว ไทยโคราช และไทยส่วย มีภาษาพูดที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบันสี่ภาษาด้วยกันดังนี้ ประชากร
  • 17. ภาษาไทยอีสาน ( ลาว )   มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๕๐ มีใช้มาก ในอำเภอลำปลายมาศ อำเภอพุทไธสง อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอโพธิและหนองหงส์ บางส่วนของอำเภอสตึกอำเภอโนนดินแดง อำเภอโนนสุวรรณ อำเภอหนองกี่ อำเภอคูเมือง อำเภอประคำ และอำเภอเมือง ฯ            
  • 18. ภาษาไทยเขมร ( เขมร )   มีคนใชอยู่ประมาณร้อยละ ๑๘ ใช้มากในอำเภอเมือง ฯ อำเภอห้วยราช อำเภอประโคนชัย อำเภอกระสัง อำเภอบ้านกรวด บางส่วนของอำเภอเมืองและอำเภอพลับพลาชัย        
  • 19.      ภาษาไทยโคราช ( สำเนียงโคราช )   มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๓๐ ใช้มากในอำเภอนางรอง อำเภอละหานทราย อำเภอชะคำ อำเภอชำนิ อำเภอหนอกี่ และบางส่วนของอำเภอเมือง ฯ           
  • 20.   ภาษาไทยส่วย ( ส่วย )   มีคนใช้อยู่เล็กน้อยประมาณร้อยละ ๒ ในพื้นที่บางส่วนขออำเภอสตึก กิ่งอำเภอบ้านด่าน อำเภอห้วยราช อำเภอประโคนชัย อำเภอหนองกี่ และอำเภอหนองหงส์
  • 21. ความหมาย   ปราสาทหิน       หมายถึง ปราสาทเขาพนมรุ้ง ภาพเทวดารำ    หมายถึง ดินแดนแห่งเทพเจ้า ผู้สร้าง ผู้ปราบยุคเข็ญและ                            ผู้ปราสาทสุข ท่าร่ายรำ            หมายถึง ความสำราญ ชื่นชมยินดี    ซึ่งตรงกับ                           การออกแบบ เสียง พยางค์สุดท้ายของชื่อจังหวัด คือ บุรีรัมย์ ตราสัญลักษณ์และคำขวัญประจำจังหวัดบุรีรัมย์
  • 24. ต้นแปะ         ต้นแปะ คือ ต้นไม้ประจำเมืองบุรีรัมย์
  • 26. การเดินทาง : ทางรถยนต์ จากกรุงเทพฯ เดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 1( พหลโยธิน ) ถึงสระบุรี เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 ( มิตรภาพ ) จากนั้นแยกขวาเข้า ทางหลวงหมายเลข 24 ( โชคชัย - เดชอุดม ) ผ่านอำเภอหนองกี่ อำเภอนางรอง แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ตามทางหลวงหมายเลข 218 รวมระยะทาง 410 กิโลเมตร หรือจากนครราชสีมา ตามทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านอำเภอจักราช - ห้วยแกลง - ลำปลายมาศ รวมระยะทาง 384 กิโลเมตร รถประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด เดินรถระหว่างกรุงเทพฯ - บุรีรัมย์ ทุกวัน มีทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ รายละเอียดติดต่อได้ที่ สถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถนนกำแพงเพชร 2 โทร . 936-2852-66
  • 27. ทางรถไฟ มีรถไฟสายกรุงเทพฯ - อุบลราชธานี กรุงเทพฯ - สุรินทร์ และนครราชสีมา - อุบลราชธานี ทั้งที่เป็นขบวนรถด่วน รถเร็ว รถธรรมดา และรถดีเซลราง ผ่านสถานีบุรีรัมย์ทุกขบวน รายละเอียดติดต่อสอบถามได้ที่ 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 www.railway.co.th
  • 28. ทางรถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด เดินรถระหว่างกรุงเทพฯ - บุรีรัมย์ ทุกวัน มีทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ รายละเอียดติดต่อได้ที่ โทร . 0 2936 1880, 0 2936 0657, 0 2936 0667,0 2936 2852 สถานีขนส่งบุรีรัมย์ โทร . 0 4461 2534 www.transport.co.th
  • 29. ทางเครื่องบิน บริษัท พีบี แอร์ จำกัด มีเที่ยวบินไปจังหวัดบุรีรัมย์โดยตรง ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร . 0 2261 0220-5 โทรสาร 0 2261 0227 สำนักงานที่บุรีรัมย์ โทร . 0 4468 0132-3 โทรสาร 0 4468 1533 www.pbair.com
  • 30. การคมนาคมภายในตัวจังหวัด การเดินทางภายในตัวเมืองสามารถใช้บริการรถสามล้อรับจ้าง ตกลงค่าโดยสาร ก่อนใช้บริการ ส่วนการเดินทางระหว่างอำเภอมีรถโดยสารจากตัวเมืองบุรีรัมย์ ไปยังอำเภอต่างๆ
  • 31. การเดินทางจากบุรีรัมย์ไปยังจังหวัดใกล้เคียง จากกรุงเทพฯ เดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ( พหลโยธิน ) ถึงสระบุรี เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 ( มิตรภาพ ) จากนั้นแยกขวาเข้าทางหลวง หมายเลข 24 ( โชคชัย - เดชอุดม ) ผ่านอำเภอหนองกี่ อำเภอนางรอง แล้วเลี้ยว ซ้ายเข้าสู่ตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ตามทางหลวงหมายเลข 218 รวมระยะทาง 410 กิโลเมตร หรือจากนครราชสีมา ตามทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านอำเภอจักราช - ห้วยแถลง - ลำปลายมาศ รวมระยะทาง 384 กิโลเมตร
  • 32. วัดเขาอังคาร ชมใบเสมาแกะสลักสมัยทวารวดี วัดเชาพระอังคราเป็นวัดที่สร้างขึ้นใหม่ ตังอยยู่บนยอดเขาพระอังคารซึ่งสูงประมาณ    320 ม . จะกระดับน้ำทะเลมี โบสถ์ที่ประยุกค์ จากสถาปัคยกรรมหลายสมัย  ดูสวยงามแปลกตาบริเวณ วัดเป็นป่ากปล่องภูเขาไฟคาดว่าเคยเป็นที่ตั้ง ของโบราณสถานสมัยทวารวดี เภพระเสมาหินแกะสลัก สมัยดังกล่าวหลงเฟลืออยู่จำนวนมาก ที่ตั้ง บ้านเจริญสุข ต . เจริญสุข อ . เฉลิมพระเกียรติ
  • 33. อ่างเก็บน้ำห้วยจรเข้มาก      ดูนกพยพนับแสนตัว ในฤดูหนาวอ่างเก็บน้ำห้วยตรเข้มากเป็น อ่างเก้บน้ำขนาดใหญ่สร้างขึ้นเพื่อการชลประทานอและการประปา มีพื้นที่ 3,876 ไร่ อยู่ใน ต . บ้านบ้ว ต . เสม็ด และ ต . สแกโพรง อ . เมือง มีทั้งนกประจำถิ่นและนกอพยพตามฤดูกาลมาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก กว่า 170 ชนิด จึงเป็นอีกที่หนึ่งที่เหมาะสำหรับดูนกและพักผ่อน ที่ตั้ง สำนักงานเขตฯ ตั้งอยยูใน ต . บ้านบัว  อ . เมือง จ . บุรีรัมย์ 31000
  • 34. เป็นหมู่บ้านที่ทอผ้าไหม โดยเฉพาะผ้าไหมมัดหมี่ สวยงามที่สุด อยู่ไม่ไกล จากตัวอำเภอนาโพธิ์ ได้รับความสนับสนุนช่วยเหลือ ในด้านการพัฒนาฝีมือ ให้ได้มาตรฐานทั้งรูปแบบ และวิธีการผลิตลวดลายการให้สีจากศูนย์ศิลปาชีพ พิเศษ และเคยได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดผ้าไหมมัดหมี่จากศูนย์ศิลปาชีพฯ มีผ้าไหมหลากหลายรูปแบบให้ซื้อจำนวนมาก หมู่บ้านทอผ้าไหมอำเภอนาโพธิ์
  • 35. พระพุทธรูปใหญ่ ( พระพุทธรูปปฏิมาสันตยาภิรมย์สตึกอุดมราษฎร์นิมิตมนิน ) เป็นพระยืนขนาดใหญ่ ริมแม่น้ำมูล ตรงข้ามที่ว่าการอำเภอสตึกเป็นที่เคารพ สักการะของชาวอำเภอสตึกและประชาชนทั่วไป โดยทุกปีจะมีงานประเพณี แข่งเรือยาวจังหวัดบุรีรัมย์ที่แม่น้ำมูลนักท่องเที่ยวจึงไปนมัสการพระพุทธรูปใหญ่ เป็นประจำ
  • 36. ปราสาทหินเมืองต่ำ เมืองโบราณร่วมสมัยกันปราสาทเขาพนมรุ้งปราสาทเมืองต่ำเป็น ปราสาทหินขอมโปราณที่มีขนาดใหญ่ มา สร้างขึ้นตามคติความเชื่อ ของศาสนาฮินดูเพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาตัวปราสาออกแบบ ได้อย่างงดงาม มีโราสร้างที่ได้สัดส่วนบริเวณโดยรอบปราสาท เป็นชุมชน โบราณสมัยขอม ที่มีประวัติเกี่ยวเนื่องกับปราสาทเขาพนมรุ้งปราสาทเมืองต่ำ จึงมีความสำคัญทางโบราณคดี นอกเหนือ จากเป็รมดกทางศิลปกรรมที่งดงาม ปราสาทแห่งนี้ได้รับการบูรณะ ใน ปี พ . ศ . 2540
  • 37. นมัสการพระพุทธรูปใหญ่ ชมวิวบนปากปล่องภูเขาไฟ       เขากระโดงเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว   ปากปล่องปะทุเห็นได้ชัดเจน รอบบริเวณแวดล้อมด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า ขนาดเล็ก โดยเฉพาะนกนานาชนิดบนเขากระโดงยังมีโบราณสถานสมัยขอม รอยพระพุทธบาทจำลอง และพระพุทธรูปขานาดใหญ่เป็นที่เคารพลักการะ ของคนในท้องถิ่นนักท่องเที่ยวนิยม ขึ้นไปชมทิวทัศน์ของตัวเมืองบุรีรัมย์ และไหว้พระเพื่อเป็นสิริมงคล    
  • 38. แหล่งหินตัด         อยู่ที่บ้านสายตรี 3 - 4 อ . บ้านกรวด ตามชายแดนไทย – กัมพูชา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก มีพื้อนที่กว่า 3,000 ไร่ ชึ่งมีร่องรอยของการสกัดหินไปสร้างปราสาทพรมรุ่ง และปราสาทอื่น ๆ ในเขตจังหวีดบุรีรัมย์ มีภูมอประเทศที่สวยงามถนนราดยางถึงแหล่งหินตัด ทางเดินชมความสวยงามของภูมิประเทศ เป็นอย่างยิ่ง
  • 39. บรรณนุกรม จังหวัดอุบลราชธานี . (“ จังหวัดบุรีรัมย์ .”) 4 ธันวาคม 2553. < http://www.buriram.go.th/ . > 11 ธันวาคม 2553. สารานุกรมเสรี . (“ จังหวัดบุรีรัมย์ .”) 11 ธันวาคม 2553. < http://www.moohin.com/045/ . > 11 ธันวาคม 2553.