SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
หอบวงสรวงสวรรค์




          "หอเทียนถาน" หรือ "หอบวงสรวงสวรรค์" ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของกรุงปักกิ่งนั้น เริ่มสร้างเมื่อปี
ค.ศ.1420เป็นสถานที่ประกอบพิธีสักการบูชาฟ้าและดินของ กษัตริย์แห่งราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644) และ
ชิง (ค.ศ.1644-1911) ของจีนซึ่งเป็นพระราชพิธีที่กระทาขึ้นเพื่อบวงสรวงฟ้าขอฝนให้พืชผลใน ไร่นาอุดม
สมบูรณ์และ พสกนิกรอยู่ร่มเย็นเป็นสุขนั่นเอง บนพื้นที่กว่า 2.7 ล้านตารางเมตรของเทียนถาน ซึ่งมีขนาด
ใหญ่กว่า "กู้กง" หรือ "พระราชวังโบราณ" ถึง 4 เท่านั้น ประกอบด้วยกาแพงโอบล้อม 2 ชั้น ซึ่งแบ่งเรียกเป็น
"เขตชั้นนอก" คือ พื้นที่ในส่วนระหว่างกาแพงชั้นในกับชั้นนอก และ "เขตชั้นใน" คือ พื้นที่ใจกลางที่
ล้อมรอบอยู่ด้านในของกาแพงชั้นในและจากความเข้าใจลึกซึ้งในเรื่องของฟ้าและดินของชาวจีนในสมัย
โบราณที่ว่า “แผ่นฟ้าโค้ง ผืนดินเหลี่ยม” และ “ฟ้าสูง แผ่นดินต่า” จึงได้มีการออกแบบก่อสร้าง "เทียนถาน"
ด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมพิเศษที่ เน้นความเชื่อดังกล่าว คือ ให้กาแพงด้านทิศเหนือสูงกว่าด้านใต้และมี
ลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลมส่วนด้านใต้จะต่ากว่าและเป็นรูปเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งถูกเรียกว่า "กาแพงฟ้าดิน"
สาหรับสิ่งปลูกสร้างสาคัญต่าง ๆ ในเทียนถาน เช่น "หยวนชิว" หรือ "แท่นบวงสรวงฟ้า" "ฉี่เหนียนเตี้ยน"
หรือ "ตาหนักสักการะ" และ "ตาหนักหวงฉุงยูว์" หรือ "หอเทพสถิต" เป็นต้น ต่างก็เป็นทรงกลมเป็น
สัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นปรากฏการณ์แห่งดวงดาว "ฉีเหนียนเตี้ยน" หรือ "ตาหนักสักการะ" เป็นสิ่งปลูก
สร้างที่มีเอกลักษณ์ของจีนและก็เป็นสิ่ง ปลูกสร้างที่ยิ่งใหญ่สวยงามและโดดเด่นที่สุดในเทียนถาน เป็น
สถานที่สาหรับบวงสรวงฟ้า เพื่อขอให้พืชพันธ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ เมื่อเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ ตาหนักนี้มี
เส้นผ่าศูนย์กลาง32เมตรและมีความสูงราว 40 เมตร เป็นตาหนักทรงกลมโครงไม้โดยมีหลังคาลักษณะพิเศษ
ที่ไม่มีคานไม้เลย ส่วนเสาใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณกลางห้องโถงทั้ง 4 เสานั้นต่างมี ความสูงราว 20 เมตร เป็น
สัญลักษณ์แห่งความหมายของ 4 ฤดูกาลในรอบหนึ่งปีนั่นเอง อีก 12 เสาที่เล็กกว่าซึ่งก็ตั้งอยู่ในห้องโถงใหญ่
ของฉีเหนียนเตี้ยนเช่นกันนั้น เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปีนั่นเอง นอกจากนั้น
ยังมีอีก12เสาที่รวมเข้าอยู่กับกาแพงของ "ฉีเหนียนเตี้ยน" ด้วยกันซึ่งมีความหมายว่า วันหนึ่งมี 12 ช่วงและ
แต่ละ ช่วงในอดีตนั้นตรงกับเวลา 2 ชั่วโมงในสมัยปัจจุบัน ส่วนฝ้าเพดานในห้องโถง ที่เป็นรูปปั้นมังกร 9
ตัวนั้นมีสีสันหลากหลาย มีความประณีตและมีความโอ่อ่างดงามยิ่ง ส่วนยอดหลังคาที่หุ้มทองนั้นมีความงาม
สอดคล้องกับหลังคา กระเบื้องเคลือบสีน้าเงินอย่างกลมกลืน อีกทั้งตาหนักนี้ได้สร้างบนแท่นหินอ่อนสีขาว
สามชั้นที่มีความใหญ่โต ยิ่งทาให้ลักษณะ ของ "ฉีเหนียนเตี้ยน" มองดูแล้วช่างยิ่งใหญ่และงดงามตระการตา
ยิ่ง

"หยวนชิว" หรือ "แท่นบวงสรวงฟ้า" มีลักษณะทรงกลม เป็นสถานที่สาหรับประกอบพิธีเซ่นไหว้ฟ้าในช่วง
ฤดูหนาวของแต่ละปีและ ขอฝนในช่วงฤดูร้อน โดยเมื่อย่างเข้าสู่เหมันฤดู จักรพรรดิจะต้องเสด็จมา ณ
สถานที่แห่งนี้เพื่อกราบไหว้ขอบคุณสวรรค์ที่ ช่วยบันดาลความสมบูรณ์พูนสุขแห่งพืชผลมาตลอดปี รวมถึง
ขอให้ไพร่ฟ้า ข้าแผ่นดินอยู่ร่มเย็นเป็นสุขในปีต่อ ๆ ไป "แท่นบวงสรวงฟ้า" มีฐานทั้ง 3 ชั้น สร้างขึ้นจากหิน
อ่อนสีขาว ซึ่งมีความสูงกว่า 5 เมตร เมื่อยืนอยู่จากจุดของ "แท่นบวงสรวงฟ้า"แล้ว มองไปทั้งสี่ทิศจะ
สามารถเห็นท้องฟ้าสีครามที่กว้างใหญ่ไพศาลไร้ขอบเขต ส่วนจุดของพื้นที่เท้ากาลังสัมผัสอยู่นั้นเป็นฐาน
หินสีขาวอมเทา ทาให้รู้สึกประดุจยืนอยู่ท่ามกลางมวลหมอกในท้องทะเลกว้างหรือเหมือนอยู่บนชั้นอวกาศ
สถาปัตยกรรมของ "หยวนชิว" ก็มีการออกแบบที่มีเอกลักษณ์เช่นกัน จานวนก้อนหินที่ใช้ในการ ก่อสร้าง
นั้นต่างผูกพันกับหมายเลข "9" เพื่อแสดงให้เห็นปรากฏการณ์ของดวงดาว อย่างเช่น พื้นหินส่วนใจกลาง
แท่นบูชาฟ้าชั้นบนสุด โดยแผ่นหินลักษณะคล้ายรูปพัด จะเรียงกระจายตัวออกไปเป็นรัศมีวงกลม เพิ่มขึ้นที
ละ 9 แผ่น ทบไปเรื่อยๆ รวมทั้งสิ้น 3,402 แผ่น หินแต่ละก้อนจะมีขนาด และการจัดวางที่ประณีตยิ่ง แม้ได้
ผ่านร้อนผ่านหนาวมาเป็นเวลานับร้อย ๆ ปี ก็ยังสามารถคงสภาพ สมบูรณ์และเป็นระเบียบเหมือนเมื่อแรก
สร้างจนถึงปัจจุบันอย่างน่าอัศจรรย์ ตามความเชื่อของคนจีนในสมัยโบราณ เรียกที่นี่ว่า "สวรรค์ 9 ชั้น" เป็น
จุดสูงสุดและเชื่อว่า เป็นที่ประทับของเทพเจ้าเง็กเซียนฮ่องเต้ การคานวณ การใช้วัสดุก่อสร้างและการ
ก่อสร้างเป็นต้นของสิ่งปลูกสร้างวงกลมต่างมี ความสลับซับซ้อนมากกว่าสิ่งปลูกสร้างทรงสี่เหลี่ยม หากยืน
อยู่ ณ ตาแหน่งหินใจกลางแท่นบูชาฟ้าแห่งนี้ แล้วตะโกนออกไปเพียงเบาๆเท่านั้น ก็จะมีเสียงสะท้อนก้อง
ตอบกลับมาให้ได้ยินในทันท่วงทีอีกด้วย โครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของ "เทียนถาน" ที่มีความ
สลับซับซ้อนและมีความเป็นวิทยาศาสตร์นี้ต่างสะท้อนให้เห็นระดับของวิทยาการสมัยใหม่ด้าน
สถาปัตยกรรม ในยุคกลางของศตวรรษที่ 16 ของจีนได้อย่างน่าทึ่ง

         สาหรับสีสันที่ใช้ในการตกแต่งสิ่งปลูกสร้างของ "หอเทียนถาน" นั้นก็มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก
ในสมัยนั้น เนื่องจากว่า ในสมัยโบราณของจีน มักจะใช้สีเหลืองอร่ามซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของอานาจแห่งพระ
จักรพรรดิที่ล่วงละเมิดไม่ได้นามาตกแต่งพระราชวังแต่ในการตกแต่ง "หอเทียน ถาน" นั้นกลับใช้สีน้าเงิน
ซึ่งเป็นสีของฟ้ามาเป็นสีสันสาคัญ สิ่งปลูกสร้าง สาคัญอื่น ๆ ใน "เทียนถาน" ต่างก็มุงด้วยหลังคากระเบื้อง
เคลือบที่เป็นสีน้าเงินเช่นกัน พอเดินเข้าสู่"เทียนถาน" ก็จะเห็นสีน้าเงินเป็นส่วนใหญ่ซึ่งช่วย เพิ่มสีสันและ
เสริมความหมายอันทรงพลังให้แก่"เทียนถาน"ที่เป็นสถานที่ สาหรับประกอบพระราชพิธีสักการบูชาฟ้า ยิ่ง
ทาให้ผู้คนตระหนักถึงความหมายอันลึกซึ้งและยิ่งใหญ่ของ "เทียนถาน" แห่งนี้ นอกจากนี"เทียนถาน"ยังมี
                                                                                    ้
สิ่งปลูกสร้างที่สาคัญและโดดเด่นอื่น ๆ อีก ได้แก่ "เทียนซินสือ" หรือ "หินใจกลางสวรรค์" หินแผ่นนี้มี
ความสาคัญ คือ หากยืนอยู่ ณ หินก้อนนี้แล้วพูดด้วยเสียงเบาๆ ก็จะทาให้มีเสียงสะท้อนก้องตอบ กลับมาให้
ได้ยินในทันทีอีกด้วย นับเป็นหินสัญลักษณ์ที่ต้องการสะท้อนความหมายว่า เมื่อจักรพรรดิได้พระราชทาน
พระดาริในกิจการใดก็ตาม ประชาชนทั่วไปทุกคนต่างก็จะต้องรีบตอบสนองพระราชประสงค์ทันที มิฉะนั้น
ก็จะถือว่าเป็นการฝ่าฝืนเจตนาแห่งสวรรค์ เพราะเชื่อกันว่า จักรพรรดิเป็นโอรสสวรรค์นั่นเอง "สะพานตัน
ปี้" ที่มีความยาว 360 เมตรและมีความกว้าง 30 เมตรนั้นเป็นทางเชื่อมระหว่างตาหนัก "ฉีเหนือนเตี้ยน" กับ
"แท่นบวงสรวงฟ้า" โดยทางเดินที่เหยียดยาวจากด้านใต้ที่สูงเพียง 1 เมตรนั้น จะค่อยๆเพิ่มความสูงขึ้นจนไป
สูงสุดที่จุดหมายปลายทางด้านเหนือที่มี ความสูงถึง3เมตรได้แฝงความหมายสาคัญเอาไว้ว่าในแต่ละก้าวที่
องค์จักรพรรดิ์เสด็จย่าพระบาทผ่านมาบนเส้นทางสายนี้ จะค่อย ๆ สูงขึ้นเรื่อย ๆ ไปสู่สรวงสวรรค์ ซึ่งถูก
เรียกว่า"เสินเต้า"หรือ"ทางศักดิ์สิทธิ์"เป็นทางเดินของสวรรค์และเทพเทวดาองค์ต่าง ๆ โดยถนนฝั่งซ้าย
สาหรับองค์จักรพรรดิเสด็จผ่าน ส่วนถนนฝั่งขวาสาหรับขุน นางชั้นผู้ใหญ่

           "ตาหนักหวงฉุงยูว์" หรือ"หอเทพสถิต" เป็นสถานที่ประดิษฐานแผ่นป้ายองค์เทพเทวาทั้งหลายโดย
เป็นอาคารสูง 19.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางที่ฐาน 15.6 เมตร สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง สาหรับกาแพงสะท้อนเสียง
ที่มีชื่อเสียงเรืองนามไปทั่วโลกนั้นก็เป็นกาแพงทรงกลมรอบนอกของหอเทพสถิต มีความยาว 193.2 เมตร
สูง 3.7 เมตร และหนา 0.9 เมตร สามารถส่งผ่านเสียงผ่านไปถึงผู้ยืนอยู่ที่กาแพงฝั่งตรงข้ามได้อย่างชัดเจน
แม้เสียงนั้นจะเบาราวกับเสียงกระซิบระหว่างคู่รักกันก็ตาม

          "ไจกง" หรือตาหนักรักษาศีล ซึ่งเป็นสถานที่ประทับในช่วงถือศีลกินเจก่อนถึงวันจัดพระราชพิธี
ต่าง ๆ ของจักรพรรดินั้นตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ "ตาหนักฉีเหนียน เตี้ยน" ส่วนฐานสร้างด้วยหิน
อ่อนสีขาว เดิมทีเรียกตาหนักนี้ว่า "ตาหนักไร้คาน"เนื่องจากส่วนหลังคาของอาคารแห่งนี้สร้างขึ้นโดยไม่
ต้องใช้คานไม้นั่นเอง นอกจากนั้น "หอเทียนถาน" ยังได้สร้างระบบภาวะนิเวศที่ส่งเสริมให้มนุษย์อยู่กับ
ธรรมชาติได้อย่างประสานกลมกลืนกันด้วยการปลูกต้นไม้ร่มรื่นจานวนมากและยังปลูกพืชคลุมดินอย่าง
สมบูรณ์ไว้อีกส่วนหนึ่ง เมื่อท่าน เดินเข้าสู่"หอเทียนถาน"ก็จะเห็นต้นไม้สูงใหญ่เขียวชอุ่มให้ความร่มเย็นอยู่
ทั่วไปโดยเฉพาะต้นไป๋ ที่มีอายุหลายร้อยปีแผ่กิ่งก้านโน้มเข้าหากันจานวนมาก ซึ่งได้สร้างบรรยากาศที่เคร่ง
ขรึมสง่างามน่าเกรงขามให้กับ "หอเทียนถาน" ยิ่งขึ้น ตามสถิติที่มีผู้ศึกษาไว้ เฉพาะต้นไป๋ภายใน "เทียน
ถาน" ก็มีจานวนมาก กว่า 4,000 ต้นแล้ว เพราะตามความเชื่อของคนจีนในสมัยโบราณ สีเขียวเป็นสัญลักษณ์
แสดงถึง "ความเคารพระลึกถึงและความปรารถนา" ทั้งนี้จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้คนจีนมักจะปลูกต้นสน และ
ต้นไป๋ไว้ตามหอสักการะวัดวาอารามและสุสานต่างๆซึ่งมีให้เห็นทั่วประเทศนั่นเอง "เทียนถาน" นับเป็น
กลุ่มสิ่งปลูกสร้างสาคัญที่ยังคงสภาพความสวยงาม ขนาดใหญ่โตและสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของจีนใน
ปัจจุบัน โดยมีชื่อเสียงไปทั่วโลกด้วยแบบการก่อสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วย
โครงสร้างที่มีเอกลักษณ์และการตกแต่งที่สง่างามของโบราณสถานแห่งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นกลุ่ม
สิ่งก่อสร้างโบราณที่สร้างด้วยฝีมือประณีตและสวยงามที่สุดแห่งหนึ่งของจีนซึ่งไม่เพียงแต่เป็นอัญมณีเม็ด
งามสุกสกาวที่ประดับในประวัติสถาปัตยกรรมจีนเท่านั้น หากยังเป็นสิ่งล้าค่าในประวัติสถาปัตยกรรมของ
โลกอีกด้วย หลังจากคณะกรรมการมรดกโลก ได้ไปสารวจโบราณสถาน "เทียนถาน" แห่งนี้แล้ว จึงได้
พิจารณาว่า ไม่ว่าพิจารณาจากการออกแบบทั่วไปหรือสิ่งปลูกสร้างส่วนใดส่วนหนึ่ง ของ "เทียนถาน" ต่าง
สะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเรื่อง "ดิน" กับ "ฟ้า" ซึ่งแนวคิดดังกล่าวนี้มีบทบาท สาคัญ
ตามความเชื่อที่ไร้ขีดจากัดในสมัยโบราณของจีนด้วยเหตุนี้"เทียนถาน"จึงได้รับเลือกให้จัดเป็น "มรดกโลก
ทางวัฒนธรรม" เมื่อปีค.ศ. 1998




                                           เอกสารอ้างอิง

        บ้านจอมยุทธ. "โบราณวัตถุ," หอบวงสรวงสวรรค์. 29 สิงหาคม 2554.
<http://www.baanjomyut.com/library/china/29.html > 29 สิงหาคม 2554.

Contenu connexe

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 

โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์

  • 1. หอบวงสรวงสวรรค์ "หอเทียนถาน" หรือ "หอบวงสรวงสวรรค์" ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของกรุงปักกิ่งนั้น เริ่มสร้างเมื่อปี ค.ศ.1420เป็นสถานที่ประกอบพิธีสักการบูชาฟ้าและดินของ กษัตริย์แห่งราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644) และ ชิง (ค.ศ.1644-1911) ของจีนซึ่งเป็นพระราชพิธีที่กระทาขึ้นเพื่อบวงสรวงฟ้าขอฝนให้พืชผลใน ไร่นาอุดม สมบูรณ์และ พสกนิกรอยู่ร่มเย็นเป็นสุขนั่นเอง บนพื้นที่กว่า 2.7 ล้านตารางเมตรของเทียนถาน ซึ่งมีขนาด ใหญ่กว่า "กู้กง" หรือ "พระราชวังโบราณ" ถึง 4 เท่านั้น ประกอบด้วยกาแพงโอบล้อม 2 ชั้น ซึ่งแบ่งเรียกเป็น "เขตชั้นนอก" คือ พื้นที่ในส่วนระหว่างกาแพงชั้นในกับชั้นนอก และ "เขตชั้นใน" คือ พื้นที่ใจกลางที่ ล้อมรอบอยู่ด้านในของกาแพงชั้นในและจากความเข้าใจลึกซึ้งในเรื่องของฟ้าและดินของชาวจีนในสมัย โบราณที่ว่า “แผ่นฟ้าโค้ง ผืนดินเหลี่ยม” และ “ฟ้าสูง แผ่นดินต่า” จึงได้มีการออกแบบก่อสร้าง "เทียนถาน" ด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมพิเศษที่ เน้นความเชื่อดังกล่าว คือ ให้กาแพงด้านทิศเหนือสูงกว่าด้านใต้และมี ลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลมส่วนด้านใต้จะต่ากว่าและเป็นรูปเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งถูกเรียกว่า "กาแพงฟ้าดิน" สาหรับสิ่งปลูกสร้างสาคัญต่าง ๆ ในเทียนถาน เช่น "หยวนชิว" หรือ "แท่นบวงสรวงฟ้า" "ฉี่เหนียนเตี้ยน" หรือ "ตาหนักสักการะ" และ "ตาหนักหวงฉุงยูว์" หรือ "หอเทพสถิต" เป็นต้น ต่างก็เป็นทรงกลมเป็น สัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นปรากฏการณ์แห่งดวงดาว "ฉีเหนียนเตี้ยน" หรือ "ตาหนักสักการะ" เป็นสิ่งปลูก สร้างที่มีเอกลักษณ์ของจีนและก็เป็นสิ่ง ปลูกสร้างที่ยิ่งใหญ่สวยงามและโดดเด่นที่สุดในเทียนถาน เป็น สถานที่สาหรับบวงสรวงฟ้า เพื่อขอให้พืชพันธ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ เมื่อเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ ตาหนักนี้มี เส้นผ่าศูนย์กลาง32เมตรและมีความสูงราว 40 เมตร เป็นตาหนักทรงกลมโครงไม้โดยมีหลังคาลักษณะพิเศษ ที่ไม่มีคานไม้เลย ส่วนเสาใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณกลางห้องโถงทั้ง 4 เสานั้นต่างมี ความสูงราว 20 เมตร เป็น สัญลักษณ์แห่งความหมายของ 4 ฤดูกาลในรอบหนึ่งปีนั่นเอง อีก 12 เสาที่เล็กกว่าซึ่งก็ตั้งอยู่ในห้องโถงใหญ่ ของฉีเหนียนเตี้ยนเช่นกันนั้น เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปีนั่นเอง นอกจากนั้น
  • 2. ยังมีอีก12เสาที่รวมเข้าอยู่กับกาแพงของ "ฉีเหนียนเตี้ยน" ด้วยกันซึ่งมีความหมายว่า วันหนึ่งมี 12 ช่วงและ แต่ละ ช่วงในอดีตนั้นตรงกับเวลา 2 ชั่วโมงในสมัยปัจจุบัน ส่วนฝ้าเพดานในห้องโถง ที่เป็นรูปปั้นมังกร 9 ตัวนั้นมีสีสันหลากหลาย มีความประณีตและมีความโอ่อ่างดงามยิ่ง ส่วนยอดหลังคาที่หุ้มทองนั้นมีความงาม สอดคล้องกับหลังคา กระเบื้องเคลือบสีน้าเงินอย่างกลมกลืน อีกทั้งตาหนักนี้ได้สร้างบนแท่นหินอ่อนสีขาว สามชั้นที่มีความใหญ่โต ยิ่งทาให้ลักษณะ ของ "ฉีเหนียนเตี้ยน" มองดูแล้วช่างยิ่งใหญ่และงดงามตระการตา ยิ่ง "หยวนชิว" หรือ "แท่นบวงสรวงฟ้า" มีลักษณะทรงกลม เป็นสถานที่สาหรับประกอบพิธีเซ่นไหว้ฟ้าในช่วง ฤดูหนาวของแต่ละปีและ ขอฝนในช่วงฤดูร้อน โดยเมื่อย่างเข้าสู่เหมันฤดู จักรพรรดิจะต้องเสด็จมา ณ สถานที่แห่งนี้เพื่อกราบไหว้ขอบคุณสวรรค์ที่ ช่วยบันดาลความสมบูรณ์พูนสุขแห่งพืชผลมาตลอดปี รวมถึง ขอให้ไพร่ฟ้า ข้าแผ่นดินอยู่ร่มเย็นเป็นสุขในปีต่อ ๆ ไป "แท่นบวงสรวงฟ้า" มีฐานทั้ง 3 ชั้น สร้างขึ้นจากหิน อ่อนสีขาว ซึ่งมีความสูงกว่า 5 เมตร เมื่อยืนอยู่จากจุดของ "แท่นบวงสรวงฟ้า"แล้ว มองไปทั้งสี่ทิศจะ สามารถเห็นท้องฟ้าสีครามที่กว้างใหญ่ไพศาลไร้ขอบเขต ส่วนจุดของพื้นที่เท้ากาลังสัมผัสอยู่นั้นเป็นฐาน หินสีขาวอมเทา ทาให้รู้สึกประดุจยืนอยู่ท่ามกลางมวลหมอกในท้องทะเลกว้างหรือเหมือนอยู่บนชั้นอวกาศ สถาปัตยกรรมของ "หยวนชิว" ก็มีการออกแบบที่มีเอกลักษณ์เช่นกัน จานวนก้อนหินที่ใช้ในการ ก่อสร้าง นั้นต่างผูกพันกับหมายเลข "9" เพื่อแสดงให้เห็นปรากฏการณ์ของดวงดาว อย่างเช่น พื้นหินส่วนใจกลาง แท่นบูชาฟ้าชั้นบนสุด โดยแผ่นหินลักษณะคล้ายรูปพัด จะเรียงกระจายตัวออกไปเป็นรัศมีวงกลม เพิ่มขึ้นที ละ 9 แผ่น ทบไปเรื่อยๆ รวมทั้งสิ้น 3,402 แผ่น หินแต่ละก้อนจะมีขนาด และการจัดวางที่ประณีตยิ่ง แม้ได้ ผ่านร้อนผ่านหนาวมาเป็นเวลานับร้อย ๆ ปี ก็ยังสามารถคงสภาพ สมบูรณ์และเป็นระเบียบเหมือนเมื่อแรก สร้างจนถึงปัจจุบันอย่างน่าอัศจรรย์ ตามความเชื่อของคนจีนในสมัยโบราณ เรียกที่นี่ว่า "สวรรค์ 9 ชั้น" เป็น จุดสูงสุดและเชื่อว่า เป็นที่ประทับของเทพเจ้าเง็กเซียนฮ่องเต้ การคานวณ การใช้วัสดุก่อสร้างและการ ก่อสร้างเป็นต้นของสิ่งปลูกสร้างวงกลมต่างมี ความสลับซับซ้อนมากกว่าสิ่งปลูกสร้างทรงสี่เหลี่ยม หากยืน อยู่ ณ ตาแหน่งหินใจกลางแท่นบูชาฟ้าแห่งนี้ แล้วตะโกนออกไปเพียงเบาๆเท่านั้น ก็จะมีเสียงสะท้อนก้อง ตอบกลับมาให้ได้ยินในทันท่วงทีอีกด้วย โครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของ "เทียนถาน" ที่มีความ สลับซับซ้อนและมีความเป็นวิทยาศาสตร์นี้ต่างสะท้อนให้เห็นระดับของวิทยาการสมัยใหม่ด้าน สถาปัตยกรรม ในยุคกลางของศตวรรษที่ 16 ของจีนได้อย่างน่าทึ่ง สาหรับสีสันที่ใช้ในการตกแต่งสิ่งปลูกสร้างของ "หอเทียนถาน" นั้นก็มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ในสมัยนั้น เนื่องจากว่า ในสมัยโบราณของจีน มักจะใช้สีเหลืองอร่ามซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของอานาจแห่งพระ จักรพรรดิที่ล่วงละเมิดไม่ได้นามาตกแต่งพระราชวังแต่ในการตกแต่ง "หอเทียน ถาน" นั้นกลับใช้สีน้าเงิน ซึ่งเป็นสีของฟ้ามาเป็นสีสันสาคัญ สิ่งปลูกสร้าง สาคัญอื่น ๆ ใน "เทียนถาน" ต่างก็มุงด้วยหลังคากระเบื้อง เคลือบที่เป็นสีน้าเงินเช่นกัน พอเดินเข้าสู่"เทียนถาน" ก็จะเห็นสีน้าเงินเป็นส่วนใหญ่ซึ่งช่วย เพิ่มสีสันและ
  • 3. เสริมความหมายอันทรงพลังให้แก่"เทียนถาน"ที่เป็นสถานที่ สาหรับประกอบพระราชพิธีสักการบูชาฟ้า ยิ่ง ทาให้ผู้คนตระหนักถึงความหมายอันลึกซึ้งและยิ่งใหญ่ของ "เทียนถาน" แห่งนี้ นอกจากนี"เทียนถาน"ยังมี ้ สิ่งปลูกสร้างที่สาคัญและโดดเด่นอื่น ๆ อีก ได้แก่ "เทียนซินสือ" หรือ "หินใจกลางสวรรค์" หินแผ่นนี้มี ความสาคัญ คือ หากยืนอยู่ ณ หินก้อนนี้แล้วพูดด้วยเสียงเบาๆ ก็จะทาให้มีเสียงสะท้อนก้องตอบ กลับมาให้ ได้ยินในทันทีอีกด้วย นับเป็นหินสัญลักษณ์ที่ต้องการสะท้อนความหมายว่า เมื่อจักรพรรดิได้พระราชทาน พระดาริในกิจการใดก็ตาม ประชาชนทั่วไปทุกคนต่างก็จะต้องรีบตอบสนองพระราชประสงค์ทันที มิฉะนั้น ก็จะถือว่าเป็นการฝ่าฝืนเจตนาแห่งสวรรค์ เพราะเชื่อกันว่า จักรพรรดิเป็นโอรสสวรรค์นั่นเอง "สะพานตัน ปี้" ที่มีความยาว 360 เมตรและมีความกว้าง 30 เมตรนั้นเป็นทางเชื่อมระหว่างตาหนัก "ฉีเหนือนเตี้ยน" กับ "แท่นบวงสรวงฟ้า" โดยทางเดินที่เหยียดยาวจากด้านใต้ที่สูงเพียง 1 เมตรนั้น จะค่อยๆเพิ่มความสูงขึ้นจนไป สูงสุดที่จุดหมายปลายทางด้านเหนือที่มี ความสูงถึง3เมตรได้แฝงความหมายสาคัญเอาไว้ว่าในแต่ละก้าวที่ องค์จักรพรรดิ์เสด็จย่าพระบาทผ่านมาบนเส้นทางสายนี้ จะค่อย ๆ สูงขึ้นเรื่อย ๆ ไปสู่สรวงสวรรค์ ซึ่งถูก เรียกว่า"เสินเต้า"หรือ"ทางศักดิ์สิทธิ์"เป็นทางเดินของสวรรค์และเทพเทวดาองค์ต่าง ๆ โดยถนนฝั่งซ้าย สาหรับองค์จักรพรรดิเสด็จผ่าน ส่วนถนนฝั่งขวาสาหรับขุน นางชั้นผู้ใหญ่ "ตาหนักหวงฉุงยูว์" หรือ"หอเทพสถิต" เป็นสถานที่ประดิษฐานแผ่นป้ายองค์เทพเทวาทั้งหลายโดย เป็นอาคารสูง 19.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางที่ฐาน 15.6 เมตร สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง สาหรับกาแพงสะท้อนเสียง ที่มีชื่อเสียงเรืองนามไปทั่วโลกนั้นก็เป็นกาแพงทรงกลมรอบนอกของหอเทพสถิต มีความยาว 193.2 เมตร สูง 3.7 เมตร และหนา 0.9 เมตร สามารถส่งผ่านเสียงผ่านไปถึงผู้ยืนอยู่ที่กาแพงฝั่งตรงข้ามได้อย่างชัดเจน แม้เสียงนั้นจะเบาราวกับเสียงกระซิบระหว่างคู่รักกันก็ตาม "ไจกง" หรือตาหนักรักษาศีล ซึ่งเป็นสถานที่ประทับในช่วงถือศีลกินเจก่อนถึงวันจัดพระราชพิธี ต่าง ๆ ของจักรพรรดินั้นตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ "ตาหนักฉีเหนียน เตี้ยน" ส่วนฐานสร้างด้วยหิน อ่อนสีขาว เดิมทีเรียกตาหนักนี้ว่า "ตาหนักไร้คาน"เนื่องจากส่วนหลังคาของอาคารแห่งนี้สร้างขึ้นโดยไม่ ต้องใช้คานไม้นั่นเอง นอกจากนั้น "หอเทียนถาน" ยังได้สร้างระบบภาวะนิเวศที่ส่งเสริมให้มนุษย์อยู่กับ ธรรมชาติได้อย่างประสานกลมกลืนกันด้วยการปลูกต้นไม้ร่มรื่นจานวนมากและยังปลูกพืชคลุมดินอย่าง สมบูรณ์ไว้อีกส่วนหนึ่ง เมื่อท่าน เดินเข้าสู่"หอเทียนถาน"ก็จะเห็นต้นไม้สูงใหญ่เขียวชอุ่มให้ความร่มเย็นอยู่ ทั่วไปโดยเฉพาะต้นไป๋ ที่มีอายุหลายร้อยปีแผ่กิ่งก้านโน้มเข้าหากันจานวนมาก ซึ่งได้สร้างบรรยากาศที่เคร่ง ขรึมสง่างามน่าเกรงขามให้กับ "หอเทียนถาน" ยิ่งขึ้น ตามสถิติที่มีผู้ศึกษาไว้ เฉพาะต้นไป๋ภายใน "เทียน ถาน" ก็มีจานวนมาก กว่า 4,000 ต้นแล้ว เพราะตามความเชื่อของคนจีนในสมัยโบราณ สีเขียวเป็นสัญลักษณ์ แสดงถึง "ความเคารพระลึกถึงและความปรารถนา" ทั้งนี้จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้คนจีนมักจะปลูกต้นสน และ ต้นไป๋ไว้ตามหอสักการะวัดวาอารามและสุสานต่างๆซึ่งมีให้เห็นทั่วประเทศนั่นเอง "เทียนถาน" นับเป็น กลุ่มสิ่งปลูกสร้างสาคัญที่ยังคงสภาพความสวยงาม ขนาดใหญ่โตและสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของจีนใน
  • 4. ปัจจุบัน โดยมีชื่อเสียงไปทั่วโลกด้วยแบบการก่อสร้างและสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วย โครงสร้างที่มีเอกลักษณ์และการตกแต่งที่สง่างามของโบราณสถานแห่งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นกลุ่ม สิ่งก่อสร้างโบราณที่สร้างด้วยฝีมือประณีตและสวยงามที่สุดแห่งหนึ่งของจีนซึ่งไม่เพียงแต่เป็นอัญมณีเม็ด งามสุกสกาวที่ประดับในประวัติสถาปัตยกรรมจีนเท่านั้น หากยังเป็นสิ่งล้าค่าในประวัติสถาปัตยกรรมของ โลกอีกด้วย หลังจากคณะกรรมการมรดกโลก ได้ไปสารวจโบราณสถาน "เทียนถาน" แห่งนี้แล้ว จึงได้ พิจารณาว่า ไม่ว่าพิจารณาจากการออกแบบทั่วไปหรือสิ่งปลูกสร้างส่วนใดส่วนหนึ่ง ของ "เทียนถาน" ต่าง สะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเรื่อง "ดิน" กับ "ฟ้า" ซึ่งแนวคิดดังกล่าวนี้มีบทบาท สาคัญ ตามความเชื่อที่ไร้ขีดจากัดในสมัยโบราณของจีนด้วยเหตุนี้"เทียนถาน"จึงได้รับเลือกให้จัดเป็น "มรดกโลก ทางวัฒนธรรม" เมื่อปีค.ศ. 1998 เอกสารอ้างอิง บ้านจอมยุทธ. "โบราณวัตถุ," หอบวงสรวงสวรรค์. 29 สิงหาคม 2554. <http://www.baanjomyut.com/library/china/29.html > 29 สิงหาคม 2554.