SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101)
โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย

ภาษาจาวาเบื้องต้น
ภาษาจาวา (JAVA)

Prompt หรืออาจติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก(Graphical
ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Sun

User Interface : GUI)

Microsystem โดยพัฒนาให้เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming - OOP) และให้
สามารถทางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่าง
กันได้โดยไม่ต้องคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ซึ่งเรียกคุ ณสมบัตินี้ว่ า
Platform independent และภาษานี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
ในปี 1995
โปรแกรมภาจาวาจะท างานได้ ต้ อ งอาศั ย ระบบซึ่ ง
เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการที่เรียกว่า จาวาแพลตฟอร์ม (JAVA
Platform) ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวแปรภาษา โปรแกรมเครื่องจักร
เสมือนภาษาจาวา (JAVA Virtual Machine) หรือ JVM
และไลบราลีของจาวา (Application Programming Interface)
หรือ API สาหรับชุดพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวา เรียกว่า J2SDK
(JAVA 2 Software Development Kit)
package hello;
public class HelloWorld {
public static void main(String[] args) {
System.out.println("Hello World ! ");
}
}
รูปที่ 1 ตัวอย่างโปรแกรม HelloWorld
โปรแกรมภาษาจาวา
ภาษาจาวาเป็ น ภาษาที่ เ กิ ด ขึ้ น มาได้ ไ ม่ น าน และเป็ น

รูปที่ 2 โปรแกรม Java Application
2. Java Servlet หรือ Java Applet เป็นโปรแกรมที่พัฒนา
ให้ทางานบนเครือข่าวอินเทอร์เน็ต ซึ่งแบ่งการทางานเป็นสอง
ส่วน คือ Java Servlet เป็นโปรแกรมที่ทางานบน Server
ส่วน Java Applet ทางานบนเว็บบราวเซอร์ โดยจะสร้าง
โปรแกรมภาษา HTML ให้เรียกโปรแกรมภาษา JAVA
โครงสร้างภาษาจาวา
ภาษาจาวามี แ นวคิ ด การเขี ย นโปรแกรมแบบเชิ ง วั ต ถุ
โปรแกรมจะเริ่มต้นโดยการสร้างคลาสจากนั้นจะเขียนคาสั่งต่าง ๆ
ในคลาส ตั ว อย่ างเช่ น ต้อ งการเขี ย นโปรแกรมแสดงข้ อ ความ
Hello World จะต้องเขียนคาสั่งดังนี้
System.out.println("Hello World ! ");
รูปที่ 4 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา

ภาษาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมแก
รมด้ ว ยภาษาจาวานั้ น สามารถเขี ย นโปรแกรมให้ รั น บนเครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์ที่ไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์มใดๆ นอกจากนี้ยังสามารถ
รันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โปรแกรมภาษาจาวาแบ่งออกเป็น

Code

2 ประเภท ดังนี้

จาวาโดยโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมเป็นดังนี้

1. Java Application เป็นโปรแกรมที่พัฒนาให้ทางานบน
เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอาจติดต่อกับผู้ใช้ทาง Command

หากต้ อ งการสร้ า งโปรแกรมต้ น ฉบั บ หรื อ Source
จะต้ อ งเขีย นให้ อ ยู่ ใ นรูป แบบโครงสร้ า งของภาษา
วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101)
โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย

public class HelloWorld {
public static void main(String[] args) {
System.out.println("Hello World ! "); }
}
รูปที่ 5 โครงสร้างของโปรแกรมต้นฉบับ (source Code)
-

คลาสชื่อ HelloWorld เป็นชื่อเดียวกับชื่อโปรแกรม

-

ใช้ Statement System.out.println() ในการแสดงผล
ทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ภายในเครื่องหมายวงเล็บเป็น
ข้อความที่ต้องการให้แสดงผลซึ่งอยู่ภายในเครื่องหมาย
“” แทนข้อความ (String)

-

โปรแกรมเริ่มต้นด้วยคาว่า public

ตามด้วยคาว่า

class แล้วตามด้วยชื่อของคลาสเสมอ
-

public static void main(String[] args) {} เป็นส่วน
ของเมธอด (method) โดยใช้คาว่า main เพื่อบอกว่า
เป็นเมธอดหลัก เมธอดนี้จะขึ้นต้นด้วยคาว่า class และ
ตามด้วย static เพื่อให้แสดงว่าโปรแกรมสามารถ
เรียกใช้เมธอดนี้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา ส่วนคา
ว่า void
เป็ นการบอกว่า หลังจากการท างานที่
เมธอดนี้แล้วจะไม่มีการส่งค่ากลับคืนมา
เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน
การแสดงผลทางจอภาพเป็นเมธอดแรกที่ต้องศึกษาใน
ภาษาจาวาจะใช้เมธอด print และ println เมธอดทั้งสองนี้จะ
ถูกบรรจุอยู่ในออบเจ็กต์ชื่อ out ซึ่งบรรจุอยู่ในคลาส System
การเรียกใช้เมธอดต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาจุด ( . ) ในการอ้างอิง
เช่น System.out.print
public static void main(String[] args) {
System.out.print("I can run ");
System.out.println(" my Java application ");
System.out.println("It's a good Program");
}
รูปที่ 6 การใช้งานเมธอดแสดงผลทางจอภาพ

การแสดงผลด้วยเมธอด print
ข้อมูลที่แสดงผลเป็นข้อมูลแบบ String

หรือ println

นั้น

หากต้องการแสดงผล

ข้อมูลจานวนหลายตัวสามารถใช้เครื่องหมาย + ในการเชื่อมต่อ
ข้อมูลได้ ดังนี้
public class TestEx {
public static void main(String[] args) {
System.out.print("This is " + "a string" + 1);
}
}
รูปที่ 7 การเชื่อมข้อความ

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0Bass Bass
 
ใบงานที่6 โครงร่าง
ใบงานที่6 โครงร่างใบงานที่6 โครงร่าง
ใบงานที่6 โครงร่างMarisa Mongkonkool
 
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวาUnit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวาIrinApat
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicWisawachitComputerWork
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมNattapon
 
บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1dechathon
 
Computer programming languages
Computer programming languagesComputer programming languages
Computer programming languagesPitanya Candy
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขNattapon
 
การใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicการใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicPongpan Pairojana
 
นาย ศุภวัฒน์ สิมสวสัดิ์ เลขที่ 4 ม.4/5
นาย ศุภวัฒน์   สิมสวสัดิ์   เลขที่ 4 ม.4/5นาย ศุภวัฒน์   สิมสวสัดิ์   เลขที่ 4 ม.4/5
นาย ศุภวัฒน์ สิมสวสัดิ์ เลขที่ 4 ม.4/5Supawat Simswat
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 

Tendances (20)

ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Sa33
Sa33Sa33
Sa33
 
การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++
 
ใบงานที่6 โครงร่าง
ใบงานที่6 โครงร่างใบงานที่6 โครงร่าง
ใบงานที่6 โครงร่าง
 
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวาUnit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basic
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Computer programming languages
Computer programming languagesComputer programming languages
Computer programming languages
 
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive ToolsComputer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
 
ขั้นตอนการทำงานของภาษาซี
ขั้นตอนการทำงานของภาษาซีขั้นตอนการทำงานของภาษาซี
ขั้นตอนการทำงานของภาษาซี
 
ประเภทโครงงาน
ประเภทโครงงานประเภทโครงงาน
ประเภทโครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
 
การใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicการใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basic
 
นาย ศุภวัฒน์ สิมสวสัดิ์ เลขที่ 4 ม.4/5
นาย ศุภวัฒน์   สิมสวสัดิ์   เลขที่ 4 ม.4/5นาย ศุภวัฒน์   สิมสวสัดิ์   เลขที่ 4 ม.4/5
นาย ศุภวัฒน์ สิมสวสัดิ์ เลขที่ 4 ม.4/5
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

En vedette (20)

Final Capstone
Final CapstoneFinal Capstone
Final Capstone
 
Resume_Murugan
Resume_MuruganResume_Murugan
Resume_Murugan
 
Google doc's
Google doc'sGoogle doc's
Google doc's
 
Presentacion-5
Presentacion-5Presentacion-5
Presentacion-5
 
Datos personales
Datos personalesDatos personales
Datos personales
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1
 
Apresentação magnifica final
Apresentação magnifica finalApresentação magnifica final
Apresentação magnifica final
 
Tema 6 Laura Muñoz
Tema 6 Laura MuñozTema 6 Laura Muñoz
Tema 6 Laura Muñoz
 
Школа Таро. Модуль 6. Белая Карта
Школа Таро. Модуль 6. Белая КартаШкола Таро. Модуль 6. Белая Карта
Школа Таро. Модуль 6. Белая Карта
 
Ensayo y comentario sobre los delitos contra la
Ensayo y comentario sobre los delitos contra laEnsayo y comentario sobre los delitos contra la
Ensayo y comentario sobre los delitos contra la
 
Ultrasonido en Mujer Embarazada
Ultrasonido en Mujer EmbarazadaUltrasonido en Mujer Embarazada
Ultrasonido en Mujer Embarazada
 
Biomasa empleo para el campo
Biomasa empleo para el campoBiomasa empleo para el campo
Biomasa empleo para el campo
 
How to use microsoft word
How to use microsoft wordHow to use microsoft word
How to use microsoft word
 
Algorithm programming
Algorithm programmingAlgorithm programming
Algorithm programming
 
Com 1 56
Com 1 56Com 1 56
Com 1 56
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Os01
Os01Os01
Os01
 
Post get
Post getPost get
Post get
 
Intro course
Intro courseIntro course
Intro course
 
Os02
Os02Os02
Os02
 

Similaire à Unit 2 Java Programming

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
1.Introduction to java
1.Introduction to java1.Introduction to java
1.Introduction to javaUsableLabs
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 pom_2555
 
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาpom_2555
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานNamfon12
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBaramee Chomphoo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์222
โครงงานคอมพิวเตอร์222โครงงานคอมพิวเตอร์222
โครงงานคอมพิวเตอร์222taisasitorn256
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 

Similaire à Unit 2 Java Programming (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
1.Introduction to java
1.Introduction to java1.Introduction to java
1.Introduction to java
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
 
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
333333333
333333333333333333
333333333
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์222
โครงงานคอมพิวเตอร์222โครงงานคอมพิวเตอร์222
โครงงานคอมพิวเตอร์222
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 

Plus de IrinApat

Unit2 communication
Unit2 communicationUnit2 communication
Unit2 communicationIrinApat
 
Unit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesignUnit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesignIrinApat
 
Unit1 design
Unit1 designUnit1 design
Unit1 designIrinApat
 
Unit1 ecommerce
Unit1 ecommerceUnit1 ecommerce
Unit1 ecommerceIrinApat
 
Html5 overview
Html5 overviewHtml5 overview
Html5 overviewIrinApat
 
Overview (computer)
Overview (computer)Overview (computer)
Overview (computer)IrinApat
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocodeIrinApat
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
Programming overview M.5
Programming overview M.5Programming overview M.5
Programming overview M.5IrinApat
 

Plus de IrinApat (10)

Unit2 communication
Unit2 communicationUnit2 communication
Unit2 communication
 
Unit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesignUnit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesign
 
Unit1 design
Unit1 designUnit1 design
Unit1 design
 
Unit1 ecommerce
Unit1 ecommerceUnit1 ecommerce
Unit1 ecommerce
 
Html5 overview
Html5 overviewHtml5 overview
Html5 overview
 
Overview (computer)
Overview (computer)Overview (computer)
Overview (computer)
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocode
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
Programming overview M.5
Programming overview M.5Programming overview M.5
Programming overview M.5
 

Unit 2 Java Programming

  • 1. วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101) โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย ภาษาจาวาเบื้องต้น ภาษาจาวา (JAVA) Prompt หรืออาจติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก(Graphical ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Sun User Interface : GUI) Microsystem โดยพัฒนาให้เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming - OOP) และให้ สามารถทางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่าง กันได้โดยไม่ต้องคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ซึ่งเรียกคุ ณสมบัตินี้ว่ า Platform independent และภาษานี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในปี 1995 โปรแกรมภาจาวาจะท างานได้ ต้ อ งอาศั ย ระบบซึ่ ง เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการที่เรียกว่า จาวาแพลตฟอร์ม (JAVA Platform) ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวแปรภาษา โปรแกรมเครื่องจักร เสมือนภาษาจาวา (JAVA Virtual Machine) หรือ JVM และไลบราลีของจาวา (Application Programming Interface) หรือ API สาหรับชุดพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวา เรียกว่า J2SDK (JAVA 2 Software Development Kit) package hello; public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World ! "); } } รูปที่ 1 ตัวอย่างโปรแกรม HelloWorld โปรแกรมภาษาจาวา ภาษาจาวาเป็ น ภาษาที่ เ กิ ด ขึ้ น มาได้ ไ ม่ น าน และเป็ น รูปที่ 2 โปรแกรม Java Application 2. Java Servlet หรือ Java Applet เป็นโปรแกรมที่พัฒนา ให้ทางานบนเครือข่าวอินเทอร์เน็ต ซึ่งแบ่งการทางานเป็นสอง ส่วน คือ Java Servlet เป็นโปรแกรมที่ทางานบน Server ส่วน Java Applet ทางานบนเว็บบราวเซอร์ โดยจะสร้าง โปรแกรมภาษา HTML ให้เรียกโปรแกรมภาษา JAVA โครงสร้างภาษาจาวา ภาษาจาวามี แ นวคิ ด การเขี ย นโปรแกรมแบบเชิ ง วั ต ถุ โปรแกรมจะเริ่มต้นโดยการสร้างคลาสจากนั้นจะเขียนคาสั่งต่าง ๆ ในคลาส ตั ว อย่ างเช่ น ต้อ งการเขี ย นโปรแกรมแสดงข้ อ ความ Hello World จะต้องเขียนคาสั่งดังนี้ System.out.println("Hello World ! "); รูปที่ 4 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา ภาษาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมแก รมด้ ว ยภาษาจาวานั้ น สามารถเขี ย นโปรแกรมให้ รั น บนเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ที่ไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์มใดๆ นอกจากนี้ยังสามารถ รันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โปรแกรมภาษาจาวาแบ่งออกเป็น Code 2 ประเภท ดังนี้ จาวาโดยโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมเป็นดังนี้ 1. Java Application เป็นโปรแกรมที่พัฒนาให้ทางานบน เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอาจติดต่อกับผู้ใช้ทาง Command หากต้ อ งการสร้ า งโปรแกรมต้ น ฉบั บ หรื อ Source จะต้ อ งเขีย นให้ อ ยู่ ใ นรูป แบบโครงสร้ า งของภาษา
  • 2. วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101) โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World ! "); } } รูปที่ 5 โครงสร้างของโปรแกรมต้นฉบับ (source Code) - คลาสชื่อ HelloWorld เป็นชื่อเดียวกับชื่อโปรแกรม - ใช้ Statement System.out.println() ในการแสดงผล ทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ภายในเครื่องหมายวงเล็บเป็น ข้อความที่ต้องการให้แสดงผลซึ่งอยู่ภายในเครื่องหมาย “” แทนข้อความ (String) - โปรแกรมเริ่มต้นด้วยคาว่า public ตามด้วยคาว่า class แล้วตามด้วยชื่อของคลาสเสมอ - public static void main(String[] args) {} เป็นส่วน ของเมธอด (method) โดยใช้คาว่า main เพื่อบอกว่า เป็นเมธอดหลัก เมธอดนี้จะขึ้นต้นด้วยคาว่า class และ ตามด้วย static เพื่อให้แสดงว่าโปรแกรมสามารถ เรียกใช้เมธอดนี้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา ส่วนคา ว่า void เป็ นการบอกว่า หลังจากการท างานที่ เมธอดนี้แล้วจะไม่มีการส่งค่ากลับคืนมา เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน การแสดงผลทางจอภาพเป็นเมธอดแรกที่ต้องศึกษาใน ภาษาจาวาจะใช้เมธอด print และ println เมธอดทั้งสองนี้จะ ถูกบรรจุอยู่ในออบเจ็กต์ชื่อ out ซึ่งบรรจุอยู่ในคลาส System การเรียกใช้เมธอดต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาจุด ( . ) ในการอ้างอิง เช่น System.out.print public static void main(String[] args) { System.out.print("I can run "); System.out.println(" my Java application "); System.out.println("It's a good Program"); } รูปที่ 6 การใช้งานเมธอดแสดงผลทางจอภาพ การแสดงผลด้วยเมธอด print ข้อมูลที่แสดงผลเป็นข้อมูลแบบ String หรือ println นั้น หากต้องการแสดงผล ข้อมูลจานวนหลายตัวสามารถใช้เครื่องหมาย + ในการเชื่อมต่อ ข้อมูลได้ ดังนี้ public class TestEx { public static void main(String[] args) { System.out.print("This is " + "a string" + 1); } } รูปที่ 7 การเชื่อมข้อความ