SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
ธาตุและสารประกอบ 
(element and compound)
สาร 
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม 
สารบริสุทธิ์ สารละลาย 
ธาตุ สารประกอบ 
สาร 
แขวนลอย 
สารคอลลอยด์
ธาตุ (element) 
สารบริสุทธ์ิเนื้อเดียว ไม่สามารถแยกสลายให้เกิดสารใหม่ได้ 
ด้วยกระบวนการใดๆ ธาตุแต่ละชนิดจะประกอบด้วยอะตอม 
ของธาตุเพียงชนิดเดียวเท่านั้น 
ซึ่งธาตุในปัจจุบันนี้มีไม่น้อยกว่า 118 ธาตุเป็นธาตุที่พบ 
ในธรรมชาติ 91 ธาตุ 
ธาตุที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ ได้แก่ ออกซิเจน ซึ่งเป็น 
องค์ประกอบของสารส่วนใหญ่ เช่น น้า (H2O) 
ประกอบด้วยไฮโดรเจนและออกซิเจน 
)
สมบัติของธาตุ 
สมบัติธาตุ เป็นลักษณะเฉพาะตัวที่ทาให้เกิดความ 
แตกต่างในธาตุแต่ละชนิด 
สมบัติทางกายภาพ เช่น สถานะ การนาไฟฟ้า จุด 
หลอมเหลว ความหนาแน่น 
สมบัติทางเคมี เช่น การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ธาตุสามารถจัดจาแนกได้เป็น 3 กลุ่ม 
1. โลหะ (metal) 
เป็นธาตุที่เกิดจากกอะตอมชนิดเดียวกันรวมกันเป็นโครงผลึก ส่วนใหญ่มีสถานะเป็น 
ของแข็ง ผิวเป็นมันวาว นาไฟฟ้า นาความร้อน เคาะแล้วเสียงดังกังวานส่วนใหญ่มีจุดเดือด 
จุดหลอมเหลวสูง 
ยกเว้น โลหะที่มีสถานะเป็นของเหลว คือ ปรอท ( Hg)
ตัวอย่างธาตุโลหะ 
เหล็ก 
ทองแดง 
สังกะสี
เมื่อใช้ความหนาแน่นเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนกได้เป็น 
ความหนาแน่นของธาตุ คือ มวลของธาตุใน 1 หน่วยปริมาตรหรือ 
โลหะหนัก 
เป็นโลหะที่มีความหนาแน่นสูง คือ มีความหนาแน่นตั้งแต่ 4.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตรเช่น ทองแดงนามาทา 
สายไฟฟ้า ใช้เหล็กในงานอุตสาหกรรม
โลหะเบา 
เมื่อใช้ความหนาแน่นเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนกได้เป็น 
เป็นโลหะที่มีความหนาแน่นน้อย 
เช่น อะลูมิเนียมนามาทาสายไฟแรงสูงเพื่อลดมวลแทนทองแดงที่มีมวลมากกว่า
2. อโลหะ (non-metal) 
ประกอบด้วยอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสถานะทั้ง 
ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส อโลหะที่มีสถานะเป็นของแข็ง 
จะเปราะ ผิวไม่มันวาว ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาความร้อน จุดเดือด 
และจุดหลอมเหลวต่า 
ยกเว้น ธาตุคาร์บอน (C) มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
ตัวอย่างธาตุอโลหะ 
คาร์บอน 
กา มะถัน
3. กึ่งโลหะ (metalloid) 
เป็นธาตุที่มีสมบัติทัง้โลหะ อโลหะ 
เปราะ 
สมบัติของธาตุกึ่ง 
โลหะ 
บางชนิดนาความร้อน 
บางชนิดนาไฟฟ้ า เช่น โบรอน 
(B) 
มีสถานะเป็นของแข็ง 
เคาะแล้วไม่ดังกังวาน
ตัวอย่างธาตุกึ่งโลหะ 
โบรอน ซิลิคอน 
พลวง อาร์เซนิก
Sb As 
Ge
ตารางเปรียบเทียบสมบัติบางประการของโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ 
สมบัติโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ 
สถานะ เป็นของแข็ง ยกเว้นปรอทมี 
สถานะเป็นของเหลว 
มีทั้งของแข็ง ของเหลวและ 
ก๊าซ 
ของแข็ง 
การนาไฟฟ้า นาไฟฟ้า เช่น เงิน นาไฟฟ้า 
ได้ดีที่สุด 
ไม่นา ไฟฟ้า ยกเว้นแกรไฟต์ 
นาไฟฟ้าได้ดี 
บางชนิดนาไฟฟ้า เช่น 
โบรอน บางชนิดไม่นาฟ้า 
นาความร้อน นาความร้อนได้ดี ไม่นาความร้อนหรือนา 
ความร้อนได้น้อย 
บางชนิดนาความร้อน บาง 
ชนิดไม่นาความร้อน 
จุดหลอมเหลว จุดเดือด สูง ยกเว้นปรอท ต่า ยกเว้นคาร์บอนที่เป็น 
โครงผลึกร่างตาข่าย 
บางชนิดสูง บางชนิด 
ค่อนข้างสูง 
ความเหนียว เหนียว ทุบเป็นแผ่นได้ เปราะ เปราะ 
ลักษณะผิว เป็นมันวาว ด้าน บางชนิดมันวาว บางชนิด 
ด้าน 
การเกิดเสียงเมื่อเคาะ ดังกังวาน ไม่กังวาน ไม่กังวาน 
ความหนาแน่น บางชนิดมีความหนาแน่น 
มาก บางชนิดมีความ 
หนาแน่นน้อย 
ความหนาแน่นน้อย บางชนิดมีความหนาแน่น 
มาก บางชนิดมีความ 
หนาแน่นค่อนข้างมาก
สัญลักษณ์ของธาตุ 
สัญลักษณ์ของธาตุเป็นอักษรย่อที่ใช้แทนชื่อธาตุและใช้แทน 1 
อะตอมของธาตุ สัญลักษณ์ของธาตุนา มาจากอักษรตัวแรก หรือตัวแรก 
และตัวถัดไปในภาษาละตินหรือภาษาอังกฤษ 
การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุนิยมเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ถ้าตัว 
แรกซ้า กันให้เขียนตามด้วยตัวถัดไปตามความเหมาะสม แต่เขียนเป็น 
ตัวพิมพ์เล็ก 
การอ่านชื่อธาตุให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษ 
เช่น Carbon คาร์บอน 
Calcium แคลเซียม
ตารางธาตุ
อนุภาคมูลฐานของอะตอม (Fundamental particle of atom) 
หมายถึง อนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม ได้แก่ โปรตอน 
นิวตรอนและอิเล็กตรอน ซึ่งมีสัญลักษณ์และประจุไฟฟ้า 
เซอร์เจมส์แชดวิก เป็นผู้ค้นพบอนุภาคมูลฐาน ครบทั้งหมด
ตาแน่งของอนุภาคมูลฐานภายในอะตอม 
โปรตอนกับนิวตรอนจะรวมกันหนาแน่นมากอยู่ตรงกลางอะตอม เรียกว่า 
“นิวเคลียส”ซึ่งเป็นมวลส่วนใหญ่ของอะตอม และอิเล็กตรอน เคลื่อนที่ด้วย 
ความเร็วสูงรอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆ เรียกว่า “ระดับพลังงาน” โดยชั้นในสุด 
จะมีระดับพลังงานต่า สุด
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (nuclear symbol) 
เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงจา นวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมด้วยเลขมวลและเลขอะเลขอะตอม (atomic number) 
เป็นเลขแสดงจา นวนโปรตอนที่นิวเคลียส เขียนไว้มุมล่างซ้ายของสัญลักษณ์ 
เลขมวล (mass number) 
เป็นเลขแสดงผลบวกของจา นวนโปรตอนและนิวตรอนที่นิวเคลียส เขียนไว้ที่มุมของสัญลักษณ์
เลขมวล = โปรตอน+ นิวตรอน 
เลขอะตอม = โปรตอน
ตัวอย่าง 
เลขมวล (จานวน 
p+n) 
เลขอะตอม (จานวน p) 
อะตอมของธาตุลิเทียมมีอนุภาคมูลฐานดังนี้ 
จานวนโปรตอน = 3 โปรตอน 
จานวนอิเล็กตรอน = 3 อิเล็กตรอน 
จานวนนิวตรอน = 7-3 = 4 นิวตรอน
ถ้าอะตอมมีการเปลี่ยนแปลงจา นวนอิเล็กตรอน จาทาให้กลายไปเป็นไอออน 
ซึ่งเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า โดยทัว่ไปอะตอมของโลหะมักจะเสีย 
อิเล็กตรอนกลายเป็นไอออนบวกเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนที่เสียไป 
27 
13 
Al3+ 
อะลูมิเนียมเสียอิเล็กตรอนไป 3 อิเล็กตรอน 
จึงมีจานวนโปรตอน = 13 โปรตอน 
จานวนอิเล็กตรอน = 13-3 = 10 อิเล็กตรอน 
จานวนนิวตรอน = 14 นิวตรอน 
อะลูมิเนียมไอออน
อะตอมของอโลหะส่วนใหญ่จะรับอิเล็กตรอนเข้ามา 
กลายเป็นไอออนลบ ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เท่ากับจานวน 
อิเล็กตรอนที่รับเข้ามา 
คลอรีนอะตอมมี 17 โปรตอน 
17 อิเล็กตรอน 
35 18 นิวตรอน 
17 
Cl 
คลอไรด์ไอออนมี 17 โปรตอ18 อิเล็กตรอน 
35 18 นิวตรอน 
17 
Cl-
ไอโซโทป ( isotope) ธาตุชนิดเดียวกัน มีจานวนโปรตอนเท่ากัน แต่ 
มีจานวนนิวตรอนต่างกันทาให้มีเลขมวลไม่เท่ากัน เรียกว่า เป็น 
ไอโซโทปกัน 
ตัวอย่าง 
ธาตุคาร์บอนในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป คือ และ 
12 
C 
6 
12 
C เขียนย่อ C-12 เรียกชื่อ คาร์บอน 12 
6 
13 
C เขียนย่อ C-13 เรียกชื่อ คาร์บอน 13 
6 
13 
C 
6
ธาตุกัมมันตรังสี ( Radioactive eleme) 
หมายถึง ธาตุที่แผ่รังสีออกมาตลอดเวลา เป็นธาตุที่ 
อะตอมมีนิวเคลียสไม่เสถียร เพราะ มีพลังงานส่วนเกิน 
ภายในนิวเคลียส อะตอมจึงถ่ายเทพลังงานออกมาในรูป 
ของการแผ่รังสี ได้แก่ รังสีแอลฟา บีตา หรือแกมมา
แผ่รังสีแอลฟา แผ่รังสีบีตา 
แผ่รังสีแกมมา 
เกิดหลังการแผ่รังสีแอลฟาหรือ 
บีตา แล้วอะตอมยังมีพลลังงานสูง
กัมมันตภาพรังสี 
หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสี 
รังสีแอลฟา 
สัญลักษณ์ 
4 
He หรือ α มีประจุ +2 มีเลขมวล 4 
2 
มีอา นาจทะลุทะลวงต่า ไม่สามารถทะลุกระดาษได้
รังสีบีตา 
สัญลักษณ์ 
0 
e หรือ β มีประจุ -1 มีเลขมวล 0 
-1 
มีอานาจทะลุทะลวงมากกว่าแอลฟา 100 เท่า มีความเร็วใกล้เคียงกับแสง 
รังสีแกมมา 
สัญลักษณ์ Y เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูง ไม่มีประจุและมวล มีพลังงาน
ความสามารถในการทะลุผ่านวัตถุ
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี 
1. ด้านธรณีวิทยา 
การใช้คาร์บอน -14 ( C-14 ) คานวณหาอายุของวัตถุโบราณ 
2. ด้านการแพลทย์ 
- ใช้ไอโอดีน -131 ( I-131 ) ในการติดตามเพลื่อศึกษาความผิดปกติ 
ของต่อมไทรอยด์ 
- ใช้โคบอลต์ -60 ( Co-60 ) ใช้รักษาโรคมะเร็ง 
- ใช้เรเดียม-226 ( Ra-226 ) ใช้รักษาโรคมะเร็ง
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี 
3. ด้านเกษตรกรรม 
- ใช้ฟอสฟอรัส -32 ( P-32) ศึกษาความต้องการปุ๋ยของพลืช ปรับปรุง 
เมล็ดพลันธ์ทุี่ต้องการ 
- ใช้โพลแทสเซียม -32 ( K-32) ในการหาการดูดซึมของต้นไม้ 
4. ด้านอุตสาหกรรม 
- ใช้ธาตุกัมมันตรังสีหารอยตาหนิ เช่น รอยร้าวของโลหะหรือท่อขนส่ง 
ของเหลว 
- ใช้รังสีฉายบนอัญมณีเพลื่อให้มีสีสันสวยงาม
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี 
5. ด้านการถนอมอาหาร 
- ธาตุโคบอลต์ -60 ( Co-60 ) ใช้ทาลายแบคทีเรียในอาหาร
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี 
6. ด้านพลลังงาน 
มีการใช้พลลังงานความร้อนที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในเตาปฏิกรณ์ 
ปรมาณูของยูเรเนียม-238 ( U-238 ) ต้มนา้ให้กลายเป็นไอ แล้วผ่านไอนา้ 
ไปหมุนกังหันเพลื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับรังสี
โทษของธาตุกัมมันตรังสี 
ทาให้เซลล์โมเลกุลภายในเซลล์เกิด 
การเปลี่ยนแปลงไม่สามารถทางาน 
ได้ตามปกติ
โทษของธาตุกัมมันตรังสี 
บาดแผลที่ได้รับรังสี

Contenu connexe

Tendances

บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 

En vedette

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร Janejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงJanejira Meezong
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตJanejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายJanejira Meezong
 
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2Janejira Meezong
 
สารประกอบ
สารประกอบสารประกอบ
สารประกอบJanejira Meezong
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ ดีโด้ ดีโด้
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงJanejira Meezong
 
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำJanejira Meezong
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2Janejira Meezong
 

En vedette (11)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิต
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
 
สารประกอบ
สารประกอบสารประกอบ
สารประกอบ
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
 

Similaire à ธาตุ

เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรWichai Likitponrak
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารSumalee Panpeng
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)
วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)
วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)Asah Chaithep
 
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)viewil
 
Science o net part 1
Science o net part 1Science o net part 1
Science o net part 1Asah Chaithep
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 

Similaire à ธาตุ (20)

เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)
วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)
วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์,เคมี,ชีวะ)
 
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)
ติวมาม่า16th วิทยาศาสตร์ O-NET (ครูติ่ง)
 
Science o net part 1
Science o net part 1Science o net part 1
Science o net part 1
 
Scienceo
Scienceo Scienceo
Scienceo
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
สาร
สารสาร
สาร
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 

ธาตุ