SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
Learning Environments Design
1. จะจัดการเรียนรู้ในหัวข้อ(เนื้อหา)ใด ต้องดูที่ หลักสูตรแกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ 
จัดการเรียนรู้เรื่องเรขาคณิต ระดับชั้น ป.3 
ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช 2551
2.ต้องการให้นักเรียนมีคุณลักษณะ/ 
ทักษะอย่างไร 
เมื่อเรียนเรื่องเรขาคณิตในระดับชั้น ป.3 จบแล้วผู้เรียน จะต้องมีความรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ดังนี้
2.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ 
เมื่อกาหนดรูปเรขาคณิตสองมิติให้ สามารถบอกได้ว่ารูป ใดเป็นรูปวงกลม รูปวงรี รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม 
รูปห้าเหลี่ยม รูปหกเหลี่ยม ฯลฯ 
บอกรูปเรขาคณิตต่าง ๆ ที่อยู่ใน สิ่งแวดลอมรอบตัว 
(รูปเรขาคณิตสองมิติ)
2.2 ด้านทักษะและกระบวนการ 
2.2.1 การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน 
2.2.2 กระบวนการกลุ่ม 
2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
2.3.1 มีวินัย
3.หาวิธีจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ 
ออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ร่วมทางานกันเป็นกลุ่มหลังจาก 
ที่ได้เรียนรู้และทาความกับเนื้อหาซึ่งให้นักเรียนได้ใช้ทฤษฎีการ เรียนรู้จากการเก็บข้อมูล (Retention Theory) 
1.ครูผู้สอนให้เด็กนักเรียนแบ่งกลุ่ม สังเกตความแตกต่าง ระหว่าง วงกลม กับ วงรี รูปเหลี่ยมกับรูปเหลี่ยมอีกชนิดหนึ่ง เช่น สามเหลี่ยม กับ สี่เหลี่ยม และอภิปราย
2.ครูผู้สอนสรุป และนาเข้าสู่การสอนบอกวิธีดูว่าลักษณะของ รูปแตกต่างกันอย่างไร 
3.ครูผู้สอนแบ่งกลุ่มให้นักเรียน และติดรูป สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี ฯลฯ บนกระดานให้ครบทุกกลุ่ม 
4. ให้นักเรียน แต่ละกลุ่ม ออกมาตอบว่าชื่อรูปชื่อว่าอะไร ถ้า เป็นรูปเหลี่ยม ให้บอกว่ามีกี่ด้าน มีมุมกี่มุม 
5.ครูผู้สอนยกตัวอย่างรูปเรขาคณิตจากสิ่งแวดล้อมเช่น กรอบ ประตู และมอบหมายให้นักเรียนคิดหารูปเรขาคณิตสองมิติจาก สิ่งแวดล้อม กลุ่มละ 2 อย่าง
จากการที่ผู้เรียนได้ร่วมทากิจกรรมกลุ่มจะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิด ความกระตือรือร้น และรู้สึกสนุกสนานในการทากิจกกรมที่ครูผู้สอน ได้ออกแบบ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีของ ความกระตือรือร้น (Motivative Theory) อีกทั้งการให้ผู้เรียนได้ทา กิจกรรมกลุ่มร่วมกันแล้วนั้นยังเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ แบบการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง(Active Participation Theory)
และที่สาคัญคือนอกจากผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการ เรียนรู้ที่กล่าวไปแล้วนั้น ผู้เรียนยังสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ ด้วยตนเอง (Constructionism) ซึ่งถือว่าเป็นการเรียนรู้ที่ทาให้ ผู้เรียนได้นาไปปรับใช้ได้จริงกับชีวิตประจาวัน เป็นการเรียนรู้ที่ ทาให้ผู้เรียนได้นาเอาไปพัฒนาแนวความคิดต่อไปได้
Text in here 
4.จะใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ใดบ้าง 
เลือกใช้สื่อ/เทคโนโลยี/แหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการ เรียนรู้ในแต่ละชั้น/แต่ละกระบวนการ สื่อวัสดุ อุปกรณ์ โดย การจัดทาอุปกรณ์ประกอบการเรียนรู้ สร้างรูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี ฯลฯ 
สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการเรายกตัวอย่างรูป เรขาคณิตสองมิติที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม
Your text 
in here 
Your text 
in here 
5.สื่อ/แหล่งเรียนรู้/ผลิตอย่างไร 
วางแผนการผลิต 
ออกแบบสื่อ ละรูปแบบกิจกรรมที่จะทาในการเรียน เรขาคณิตแบบคร่าวๆเพื่อให้รู้ลักษณะของสื่อที่จะทา และเพื่อให้สะดวกต่อการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็น
สร้าง story board 
-ครูนารูปวงกลม วงรีออกมา แล้วให้นักเรียนทาการสังเกตหา ความเหมือนหรือแตกต่าง ให้เวลานักเรียนประมาณ 4 นาที 
-ให้นักเรียนอภิปรายความคิดจากที่ได้สังเกตรูปเมื่อสักครู่ 
-ครูนารูปเหลี่ยม และรูปเหลี่ยมอื่นออกมา แล้วให้นักเรียนทาการ สังเกตหาความเหมือนและความแตกต่าง ให้เวลานักเรียนประมาณ 4 นาที 
-ให้นักเรียนอภิปรายความคิดจากที่ได้สังเกตรูปเมื่อสักครู่
-เมื่อนักเรียนได้อภิปรายแนวคิดครบหมดแล้ว ครูสอดแทรก ความรู้ และอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรขาคณิตจากแนวความคิดที่ ได้ 
-ครูทาการแบ่งกลุ่มนักเรียน 
-ครูติดรูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี ฯลฯ บนกระดาน สาหรับนักเรียนทุกกลุ่ม 
-ให้นักเรียนร่วมกันสังเกต และอภิปรายร่วมกันภายในกลุ่ม
-ให้นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มออกมาอธิบายคาตอบและ แนวคิดที่ได้หน้าชั้นเรียน 
-ครูยกตัวอย่างเรขาคณิตรอบตัวนักเรียน และสรุปสิ่งที่ได้ จากกิจกรรมนี้
60% 
Click to add Text 
เก็บรวบรวมข้อมูล 
สารวจข้อมูลและเนื้อหาในเรื่องเรขาคณิตว่าจะแทรกความรู้เข้าไป ในสื่ออย่างไรให้เหมาะสมและให้มีประสิทธิภาพสูงสุดกับนักเรียนใน การเรียนรู้จากสื่อนี้ 
ดาเนินการสร้าง 
ลงมือปฏิบัติสร้างสื่อ และจัดสถานที่ตามที่ได้วางแผนเอาไว้ 
ประเมินผลผลิต 
สังเกตการได้ความรู้ และเกิดความเข้าใจของนักเรียนหลังจากใช้ สื่อ
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม เครื่องมือแบบสังเกต พฤติกรรมการทางานกลุ่ม 
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 
6.มีวิธีประเมินผลการเรียนรู้อย่างไร

Contenu connexe

Similaire à Learning environments design

05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 

Similaire à Learning environments design (20)

Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
111111
111111111111
111111
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Plan 1
Plan 1Plan 1
Plan 1
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Learning environments design