SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คานา
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้
มีจานวน 6 เล่ม
เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เล่มที่ 6 เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน
สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป
ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป
ปรีช์ญภัทร เล่งระบา
ก
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 1
กิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 3
ใบความรู้ที่ 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 5
กิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 10
ใบความรู้ที่ 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 14
ใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 17
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 18
ภาคผนวก 20
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 22
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 24
 เฉลยใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 27
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 28
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 29
บรรณานุกรม 30
ข
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. สารในข้อใดทาปฏิกิริยากับหินปูนแล้วเกิดฟองก๊าซได้
ก. โซเดียมคลอไรด์ ข. กรดอะซิติก
ค. โซเดียมคาร์บอเนต ง. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
2. ผงฟูที่ใช้ทาขนมปังคือสารใด
ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมคาร์บอเนต
ค. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ง. โซเดียมคลอไรด์
3. เมื่อท่อน้าทิ้งอุดตัน หากต้องการให้น้าทิ้งไหลได้สะดวกอีกครั้งควรใช้สารตัวใดเทใส่ท่อน้าทิ้งที่อุดตันนั้น
ก. โซดาไฟ ข. น้าโซดา
ค. โซดาซักผ้า ง. โซเดียมซิลิเกต
4. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารที่เป็นกรด
ก. ทาปฏิกิริยากับหินปูน ข. กัดกร่อนสารพลาสติกได้
ค. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลาย ง. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง
5. การเกิดหินงอกหินย้อยเกิดจากสารใดทาปฏิกิริยากัน
ก. กรดกับเบส ข. กรดกับโลหะ
ค. กรดกับออกซิเจน ง. กรดกับหินปูน
6. ในการดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทาให้
สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊สที่หนักกว่าอากาศ มาปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้
บรรเทาหรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ แก๊สที่เกิดจากการสลายตัวของ NaHCO3 คือแก๊สชนิดใด
ก. ไนโตรเจนไดออกไซด์ ข. คาร์บอนมอนอกไซด์
ค. คาร์บอนไดออกไซด์ ง. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
7. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดจากน้าฝนละลายแก๊สชนิดต่างๆ ทาให้ได้น้าฝนมีสภาพเป็นกรด สมการใดไม่ถูกต้อง
ก. CO2(g) + H2O(l) H2CO3(aq)
ข. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq)
ค. SO3(g) + H2O(l) H2SO4(aq)
ง. 2NO2(g) + 2H2O(l) 4HNO2(aq)
1
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
8. ข้อใดเป็นมลพิษที่เกิดจากควันจากท่อไอเสียรถยนต์ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ที่รุนแรงที่สุด
ก. คาร์บอนมอนอกไซด์และตะกั่ว ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ค. ตะกั่วและไฮโดรคาร์บอน ง. ไนโตรเจนออกไซด์
9. ข้อใดเป็นผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. ฝนกรด 2. การเกิดสม็อก
3. การทาฝนเทียม 4. การเกิดหินงอกหินย้อย
5. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 6. น้าเน่าเสียที่เกิดจากการทิ้งสารอินทรีย์
ข้อใดถูกต้องตามข้อความข้างต้น
ก. 1 , 2 , 4 และ 6 ข. 1 , 2 , 5 และ 6
ค. 1 , 3 , 4 และ 6 ง. 1 , 3 , 5 และ 6
10. ประโยชน์ของการใช้ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) สามารถใช้ดับไฟป่าได้
ข. ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ได้ น้า และ แก๊สไฮโดรเจน
ค. ผลผลิตที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสง คือ น้าตาล น้า และ แก๊สออกซิเจน
ง. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สหุงต้ม ได้ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ น้า และ พลังงาน
***********************************************************************
2
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
2. บอกประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน โดยระดมความคิดและอภิปราย
ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง
2. สรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2.6 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิต
ประจาวัน
3. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายของกลุ่ม
3
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปรายถึงสารเคมี ผลิตภัณฑ์และปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน และ
บอกประโยชน์ที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์ สารเคมีหรือปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่นักเรียนได้ร่วมกันสืบค้นและ
อภิปราย บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีใน
ชีวิตประจาวัน
สารเคมี/ผลิตภัณฑ์/ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน ประโยชน์
2. จากความรู้เรื่องการเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้อย่างไรบ้าง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
4
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน
1. การผุกร่อนของโลหะ เช่น การผุกร่อนเนื่องจากการเกิดสนิม การเกิดออกไซด์ของอะลูมิเนียม เป็นต้น
การเกิดสนิมของเหล็กเกิดจากเหล็กสัมผัสกับน้าและออกซิเจนในอากาศ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้
4Fe (s) + 3O2 (g) + 2H2O (g) 2Fe2O3·2H2O (s)
สนิมเหล็กสีน้าตาลแดง
การเกิดออกไซด์ของอลูมิเนียมเกิดจากอะลูมิเนียมรวมกับออกซิเจนในอากาศ ดังสมการ
4Al (s) + 3O2(g) 2Al2O3(s)
สีขาว
2. การผุกร่อนของหินปูนเนื่องจากกรด
การผุกร่อนของหินปูนซึ่งมีแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นองค์ประกอบ เมื่อถูกน้าฝนที่ละลาย
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
H2O(l) + CO2 (g) H2CO3 (aq)
กรดคาร์บอนิก
CaCO3 (s) + H2CO3 (aq) Ca(HCO3)2 (aq)
แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเป็นสารละลายใสเมื่อถูกความร้อนจะเปลี่ยนเป็น CaCO3.H2O และ
CO2 ซึ่งเป็นกระบวนการเกิดหินงอกและหินย้อยตามถ้าต่างๆ
Ca(HCO3)2 (aq) CaCO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g)
3. การเผาไหม้
การเผาไหม้ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากสารรวมกับออกซิเจนได้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง สารที่เกิด
จากการเผาไหม้จัดเป็นสารประเภทเชื้อเพลิง ซึ่งส่วนใหญ่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ
การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ เป็นการเผาไหม้ของสารที่มีเชื้อเพลิงที่ได้น้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
เป็นสารผลิตภัณฑ์ เช่น
เชื้อเพลิง + O2 (g) H2O (l) + CO2 (g)
การเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็นการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบ แล้วมีปริมาณของก๊าซออกซิเจนไม่เพียงพอ จะเกิดการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ ได้สารผลิตภัณฑ์เป็น
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) น้า และ คาร์บอนไดออกไซด์
ปัจจัยที่มีผลต่อการเผาไหม้
1. เชื้อเพลิง
2. ความร้อน
3. ก๊าซออกซิเจน
5
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ปฏิกิริยาของกรดกับเบส
ปฏิกิริยาที่กรดรวมกับเบสได้สารผลิตภัณฑ์ที่เป็นเกลือกับน้า เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาสะเทิน เขียนแทน
ด้วยสมการดังนี้ กรด + เบส เกลือ + น้า
เช่น HCl (aq) + KOH (aq) KCl (aq) + H2O (l)
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในตัวเราและรอบๆ ตัวเรา มีทั้งปฏิกิริยาง่ายๆ ไปจนถึงปฏิกิริยาที่ซับซ้อน ในบทนี้
นักเรียนจะได้ศึกษาปฏิกิริยาบางชนิดที่เกิดขึ้นและใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ซึ่งบางปฏิกิริยามีผลต่อ
สิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาที่เผาไหม้ของเชื้อเพลิงต่างๆ เช่น แก๊สหุงต้มน้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้ในยานพาหนะและในโรงงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากจะให้พลังงานจานวนมากนาไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ยังก่อให้เกิดผลเสีย
ตามมา เพราะเชื้อเพลิงฟอสซิล ได้แก่ ถ่านหินและน้ามันดิบที่เกิดอยู่ใต้พื้นโลก มักมีประโยชน์ต้องนามาก
กลั่นหรือเผาที่อุณหภูมิสูง ขณะกลั่นกามะถันจะทาปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน ให้ผลิตภัณฑ์เป็น
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SO2 ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาการรวมตัวกับแก๊สออกซิเจนต่อไปนี้ ให้แก๊สซัลเฟอร์
ไตรออกไซด์ SO3 เกิดขึ้นดังสมการ
S (s) + O2 (g) SO2 (g)
2SO2 (g) + O2 (g) 2SO3 (g)
เมื่อแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ถูกความชื้นในอากาศจะเกิดปฏิกิริยารวมตัวกับละอองน้า เกิดเป็นกรด
กามะถัน H2SO4 ดังสมการ ถ้ากรดที่เกิดขึ้นมีปริมาณมาก เมื่อฝนตกก็จะชะลงมากับฝนเรียกว่า ฝนกรด
SO3 (g) + H2O (g) H2SO4 (aq)
ในเมืองอุตสาหกรรมและเมืองใหญ่ๆ ที่มีการใช้เชื้อเพลิงในปริมาณมาก จะมีแก๊สไนโตรเจนมอนอ
ไซด์ (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) โอโซน (O3) และ SO2[เกิดขึ้นตามมาด้วย แก๊ส NO2 ส่วนใหญ่เกิดจาก
การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ ดังสมการ
(อากาศ) N2 + O2
อุณหภูมิสูง
→ 2NO
2NO + O2 2NO2
แก๊ส NO2 ในอากาศ เมื่อถูกแสงอาทิตย์จะสลายตัวเป็นแก๊ส NO และอะตอมอิสระของ
ออกซิเจน ซึ่งสามารถรวมตัวกับแก๊ส O2 ต่อไปเป็น O3 ดังสมการ
O2 + O O3
ในวันที่มีความกดอากาศสูง แก๊ส SO3 , NO2 และ O3 ตลอดจนฝุ่นละอองและสารไฮโดรคาร์บอน
ที่เป็นละอองเล็กๆ ลอยปะปนกันอยู่ในระดับต่า เกิดเป็นหมอกควันที่เรียกว่า สม็อก (smog) ถ้าปริมาณ
มากทาให้เกิดทัศนวิสัยต่าบดบังการมองเห็นซึ่งเป็นอันตรายมาก โดยเฉพาะกับกิจกรรมที่เกี่ยวกับการบินหรือ
การเดินทาง นอกจากนั้นแก๊ส NO2 และ O3 ยังก่อให้เกิดการระคายเคืองกับดวงตาและทางเดินหายใจ หาก
ได้รับปริมาณมากจะก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน
6
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
smog มากจากคาว่า smoke + fog
ภาพที่ 5.1 หมอกควันที่เกิดขึ้นเป็นประจาในกรุงเทพฯ
ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061
ในวันที่อากาศปลอดโปร่ง แก๊ส SO3 และ NO2 ลอยขึ้นสูงไปตามกระแสลม เมื่อได้รับความชื้นใน
อากาศจากเมฆและฝน SO3 รวมตัวเกิดเป็นกรดกามะถัน (H2SO4) ส่วน NO2 รวมตัวกับละอองน้าเป็น
กรดไนตริก (HNO3) เมื่อตกลงมาบนพื้นดินจะเป็นฝนกรดเหมือนกัน
ปฏิกิริยาอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นทั่วๆ ไปคือ ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก โดยทั่วไป ตึก สะพาน และ
สิ่งก่อสร้างต่างๆ มีเหล็กเป็นองค์ประกอบของโครงสร้าง เมื่อเหล็กถูกอากาศและความชื้นจะค่อยๆสึกกร่อน
กลายเป็นสนิมเหล็ก Fe2O3 .H2O ดังสมการ
4Fe + 3O2 → 2Fe2O3.H2O
ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) ด้วยความร้อนให้แก๊ส CO2 ,
Na2CO3 และ H2Oมีประโยชน์ในการทาขนมหลายชนิดเช่น เค้ก ขนมถ้วยฟู และขนมสาลี เมื่อผสม
NaHCO3 (เรียกกันทั่วไปว่า ผงฟู) ลงในส่วนผสมของขนมแล้วนาไปอบหรือนึ่ง ผงฟูจะสลายตัวให้
แก๊ส CO2 ซึ่งพยายามแทรกตัวออกมา ทาให้เกิดเป็นโพรงอากาศอยู่ทั่วไปในขนม ขนมจึงมีลักษณะพองหรือ
ฟูขึ้น
ภาพที่ 5.2 NaHCO3 เป็นส่วนผสมในเค้ก
ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061
7
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์ในดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า
แก๊ส CO2 ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศ จึงปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้บรรเทา
หรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ระดับหนึ่ง
ภาพที่ 5.3 การโปรยผง NaHCO3 ในการดับไฟป่า
ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เป็นสารใช้ฟอกสีผสมและฆ่าเชื้อโรค โดยปกติจะสลายตัวได้เอง
อย่างช้าๆ ให้น้าและ O2 เกิดขึ้น ดังสมการ แสงสว่างและความร้อนจะช่วยเร่งให้เกิดการสลายตัวเร็ว
ขึ้น ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในที่มืดหรือในภาชนะสีนาตาลเข้มและในที่เย็น
2H2O2 2H2O + O2
ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่ชนิดต่างๆ เป็นปฏิกิริยาที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า ซึ่งนามาใช้ประโยชน์ได้
หลากหลาย เช่น แบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ประเภทต่างๆ เป็นปฏิกิริยาระหว่างแผ่นตะกั่ว (Pb) ซึ่งทาหน้าที่
เป็นขั้ว (-) และตะกั่วไดออกไซด์ (PbO2) ทาหน้าที่เป็นขั้วบวก (+) กับกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เข้มข้นประมาณ
30-38% โดยน้าหนักเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้ดังนี้
Pb + PbO2 + 2H2SO4 2PbSO4 + 2H2O
ภาพที่ 5.4 แบตเตอรี่ตะกั่วกรดที่ใช้ในรถยนต์
ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061
8
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบตเตอรี่อีกชนิดหนึ่ง เรียกว่าแบตเตอรี่ปรอท เป็นแบตเตอรี่ที่มีขนาดเล็กมาก เบา จึงนิยมใช้ใน
เครื่องมือเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องวัดแสงในกล้องถ่ายรูป เครื่องช่วยฟัง เครื่อง
คิดเลขติดกระเป๋า เป็นต้น ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่ มีสังกะสี (Zn) เป็นขั้วลบ (-) และปรอทออกไซด์ (HgO)
เป็นขั้วบวก (+) ในสารผสมระหว่างโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) กับสังกะสีไฮดรอกไซด์ Zn(OH)2 และ
น้า ซึ่งมีลักษณะคล้ายแป้งเปียก เขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้นี้
Zn + HgO ZnO + Hg
ภาพที่ 5.5 อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้แบตเตอรี่แบบปรอท
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061
นอกจากนี้ ยังมีแบตเตอรี่ชนิดอื่นๆ อีก เช่น แบตเตอรี่อัลคาไลน์ แบตเตอรี่นิกเกิล-แคดเมียม หรือ
เรียกสั้นๆ ว่า NICAD และแบตเตอรี่ที่ใส่ในตัวคนไข้ที่หัวใจเต้นไม่ปกติ ซึ่งต่างผลิตกระแสไฟฟ้าจากปฏิกิริยา
เคมีของโลหะและเบสที่แตกต่างกันไป
ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน CaCO3 ด้วยความร้อน ให้แก๊ส CO2 และปูนขาว (CaO) นามาใช้
ในอุตสาหกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดกามะถันหรือกรดดินประสิว ซึ่งมีอยู่ในฝน
กรด เกิดเป็นแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) หรือแคลเซียมไนเตรด[Ca(NO3)2] และแก๊ส CO2
ดังสมการ
CaCO3(s) + H2SO4(aq) CO2(g) + CaSO4(aq) + H2O(l)
หรือ
CaCO3(s) + 2HNO3(aq) CO2(g) + Ca(NO3)2(aq) + H2O(l)
ปฏิกิริยานี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ รูปปั้น รูปแกะสลัก ตึกรามบ้านช่อง และสิ่งก่อสร้างที่ทาด้วยหินปูน
หรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อนเสียหาย
9
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. อภิปรายผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
2. บอกแนวทางการแก้ไขหรือลดผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
โดยระดมความคิดและอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง
2. สรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2.7 เรื่อง ผลกระทบของปฏิกิริยา
เคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
3. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายของกลุ่ม
10
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปราย การเกิดและผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมต่อไปนี้
1.1 การเกิดฝนกรด วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิดฝนกรดทาได้อย่างไร
1.2 การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิด
ปรากฏการณ์เรือนกระจกทาได้อย่างไร
1.3 การเกิดสม็อก วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิดสม็อคทาได้อย่างไร
บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมี
ต่อสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง
1. การเกิดฝนกรด
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ
11
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง
2. การเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ
12
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง
3. การเกิดสม็อก/หมอกควัน
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ
13
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.7 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาเคมีนับได้ว่ามีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก แต่หากมนุษย์ใช้ประโยชน์
จากสารเคมีและปฏิกิริยาเคมีโดยขาดความรอบคอบ ปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้นก็อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อมได้ ตัวอย่าง เช่น
1) ฝนกรด (acid rain) เกิดจากแก๊สบางชนิดในบรรยากาศเช่น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์แก๊สไนโตรเจน
ออกไซด์ เป็นต้น รวมกับละอองน้าในอากาศซึ่งจะทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติเป็นกรด โดยถ้ากรดที่เกิดขึ้นมี
ปริมาณมาก เมื่อฝนตกกรดก็จะปนลงมากับน้าฝน เรียกว่า ฝนกรด โดยแก๊สต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของฝนส่วน
ใหญ่จะเกิดจากการ เผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีสารปนเปื้อนอยู่ เช่น สารประกอบของซัลเฟอร์สารประกอบของ
ไนโตรเจน เป็นต้น เชื้อเพลิงที่มักมีสารปนเปื้อนอยู่มาก ได้แก่ เชื้อเพลิงจากพวกถ่านหิน ซึ่งนิยมใช้กันมากใน
โรงงานไฟฟ้าและในโรงงานอุตสาหกรรม ฝนกรดเป็นน้าฝนที่มีค่า pH ต่ากว่า 5.6 จึงทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ง
ต่างๆ เช่น ทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ป่าไม้ถูกทาลายหรือทาให้เกิดริ้วรอยเป็นจุดหรือเป็นลายบนพืช
การควบคุมการเกิดฝนกรด ทาได้โดยทาการควบคุมสารประกอบ ของซัมเมอร์และไนโตรเจนในอากาศซึ่งเป็น
สาเหตุให้เกิดฝนกรด ดังนี้
1. เลือกใช้เชื้อเพลิงที่มีสารประกอบของซัลเฟอร์ปนเปื้อน
2. เลือกใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น พลังงานแสงอาทิตย์พลังงานลม
เป็นต้น
3. ติดตั้งอุปกรณ์เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่บรรยากาศ
ภาพที่ 5.5 การเกิดฝนกรด
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1451
14
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2) ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) เป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดจากแก๊สต่างๆ ลอยขึ้นไป
สะสมอยู่บนชั้นบรรยากาศเหนือพื้นผิวโลก โดยแก๊สเรือนกระจกที่สาคัญ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊ส
มีเทน แก๊สไนตรัสออกไซด์ เป็นต้น เมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสงมายังโลกพื้นผิวโลกจะดูดซับความร้อนส่วนหนึ่ง อีก
ส่วนหนึ่งซึ่งเป็นรังสีคลื่นสั้นจะสะท้อนกลับ ขึ้นไปได้เพียงเล็กน้อย เนื่องจากถูกแก๊สเรือนกระจกกักเก็บเอาไว้
ส่งผลให้ พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งจะเกิดผลกระทบไปทั่วโลก โดยลักษณะการ กักเก็บอุณหภูมินี้มีลักษณะ
ไม่แตกต่างจากเรือนกระจกที่เก็บอุณหภูมิความร้อนในการปลูกพืชเขตหนาว จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือน
กระจก การลดปรากฏการณ์เรือนกระจกสามารถทาได้ ดังนี้
1. ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก รวมทั้งลดการใช้สินค้าที่มีกระบวนการผลิตที่ทาให้เกิดการปล่อย
แก๊สเรือนกระจกมากขึ้น
2. ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
3. ปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิโลกและยังช่วยดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ภาพที่ 5.6 การเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก
ที่มา : https://sites.google.com/site/wartercom/prak-d-karn-reuxn-krack
15
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3) สม็อก (smog)หรือหมอกควัน เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในปริมาณมาก โดยเฉพาะในเขต
อุตสาหกรรมและ เมืองใหญ่ที่มีการจราจรหนาแน่น รวมทั้งควันไฟที่เกิดจากไฟป่า ซึ่งจะมีแก๊สไนโตรเจน
มอนอกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ สารไฮโดรคาร์บอน ตลอดจน
ฝุ่นละอองขนาดเล็กๆปะปนอยู่ในปริมาณมากซึ่งในวันที่มีความกดอากาศสูงสารเหล่านี้จะลอยปะปนในอากาศ
ที่ความสูงไม่มากนัก เมื่อมีปริมาณมากจะบดบังการมองเห็นซึ่งเป็นอันตรายมากต่อการบิน นอกจากนี้ แก๊ส
ไนโตรเจนไดออกไซด์ยังทาให้เกิดการระคายเคืองกับดวงตาและระบบทางเดินหายใจ
ภาพที่ 5.7 การสม็อก
ที่มา : http://www.cbsnews.com/pictures/chinas-smog-problem/
16
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
จับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและสมการเคมี โดยนาตัวอักษรด้าน
ขวามือมาเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
.......1. การเกิดฝนกรด
.......2. การเกิดหินงอกหินย้อย
.......3. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์
........4. การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
........5. การผุกร่อนของโลหะ
........6. การกินยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
........7. การสลายตัวของผงฟูเมื่อได้รับความร้อน
........8. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
........9. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับวัสดุคาร์บอเนต
........10.การเกิดสนิมเหล็ก
ก. CH4(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(l)
ข. 2CaH(CO3)2(aq)
ความร้อนจากแสงอาทิตย์
→ CaCO3(s)+H2O(l)+CO2(g)
ค. 2HCl(aq) +Mg(s) MgCl2(aq) + H2(g)
ง. 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O
จ. 4Fe(s) + 3O2(g) +6H2O(l) 2Fe2O3.3H2O
ฉ. C3H8(g) +3O2(g) 2CO(g) +C(s) + 4H2O(l)
ช. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq)
ซ. Fe(s) + 2HCl(aq) FeCl3(aq) + H2(g)
ฌ. Mg(OH)2(aq) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + 2H2O(l)
ญ. H2SO4(aq) + CaCO3(s) CaSO4(s) + CO2(g) + H2O(l)
ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง จงเติมข้อความในแผนผังความคิดให้สมบูรณ์
ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
17
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. ข้อใดเป็นมลพิษที่เกิดจากควันจากท่อไอเสียรถยนต์ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ที่รุนแรงที่สุด
ก. คาร์บอนมอนอกไซด์และตะกั่ว ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ค. ตะกั่วและไฮโดรคาร์บอน ง. ไนโตรเจนออกไซด์
2. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารที่เป็นกรด
ก. ทาปฏิกิริยากับหินปูน ข. กัดกร่อนสารพลาสติกได้
ค. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลาย ง. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง
3. ในการดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทาให้
สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊สที่หนักกว่าอากาศ มาปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้
บรรเทาหรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ แก๊สที่เกิดจากการสลายตัวของ NaHCO3 คือแก๊สชนิดใด
ก. ไนโตรเจนไดออกไซด์ ข. คาร์บอนมอนอกไซด์
ค. คาร์บอนไดออกไซด์ ง. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
4. ประโยชน์ของการใช้ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) สามารถใช้ดับไฟป่าได้
ข. ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ได้ น้า และ แก๊สไฮโดรเจน
ค. ผลผลิตที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสง คือ น้าตาล น้า และ แก๊สออกซิเจน
ง. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สหุงต้ม ได้ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ น้า และ พลังงาน
5. สารในข้อใดทาปฏิกิริยากับหินปูนแล้วเกิดฟองก๊าซได้
ก. โซเดียมคลอไรด์ ข. กรดอะซิติก
ค. โซเดียมคาร์บอเนต ง. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
6. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดจากน้าฝนละลายแก๊สชนิดต่างๆ ทาให้ได้น้าฝนมีสภาพเป็นกรด สมการใดไม่ถูกต้อง
ก. CO2(g) + H2O(l) H2CO3(aq)
ข. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq)
ค. SO3(g) + H2O(l) H2SO4(aq)
ง. 2NO2(g) + 2H2O(l) 4HNO2(aq)
18
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
7. ผงฟูที่ใช้ทาขนมปังคือสารใด
ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมคาร์บอเนต
ค. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ง. โซเดียมคลอไรด์
8. ข้อใดเป็นผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. ฝนกรด 2. การเกิดสม็อก
3. การทาฝนเทียม 4. การเกิดหินงอกหินย้อย
5. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 6. น้าเน่าเสียที่เกิดจากการทิ้งสารอินทรีย์
ข้อใดถูกต้องตามข้อความข้างต้น
ก. 1 , 2 , 4 และ 6 ข. 1 , 2 , 5 และ 6
ค. 1 , 3 , 4 และ 6 ง. 1 , 3 , 5 และ 6
9. เมื่อท่อน้าทิ้งอุดตัน หากต้องการให้น้าทิ้งไหลได้สะดวกอีกครั้งควรใช้สารตัวใดเทใส่ท่อน้าทิ้งที่อุดตันนั้น
ก. โซดาไฟ ข. น้าโซดา
ค. โซดาซักผ้า ง. โซเดียมซิลิเกต
10. การเกิดหินงอกหินย้อยเกิดจากสารใดทาปฏิกิริยากัน
ก. กรดกับเบส ข. กรดกับโลหะ
ค. กรดกับออกซิเจน ง. กรดกับหินปูน
***********************************************************************
19
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
 ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 เฉลยใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
20
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่.....................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
1. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
2. บอกประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน โดยระดมความคิดและอภิปราย
ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง
2. สรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2.6 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิต
ประจาวัน
3. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายของกลุ่ม
21
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปรายถึงสารเคมี ผลิตภัณฑ์และปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน และ
บอกประโยชน์ที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์ สารเคมีหรือปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่นักเรียนได้ร่วมกันสืบค้นและ
อภิปราย บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีใน
ชีวิตประจาวัน
สารเคมี/ผลิตภัณฑ์/ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน ประโยชน์
แชมพู/ยาสระผม ทาความสะอาดผม
น้ายาทาความสะอาดห้องน้า/น้ายาขัดห้องน้า ทาความสะอาดห้องน้า
การเผาไหม้ ใช้ทาอาหารให้สุก
การย่อยอาหาร ร่างกายสามารถนาสารอาหารไปใช้เป็น
พลังงานให้กับร่างกาย
การเน่าเสียของอาหาร ใช้ทาปุ๋ยหมัก
การหมัก ใช้ถนอมอาหาร
ปฏิกิริยาการสะเทินระหว่างกรดกับเบส -ใช้ในการแก้ไขปัญหาดินเป็นกรดโดยการ
เติมปูนขาวหรือดินมาร์ล
-ใช้ในการลดกรดในกระเพาะอาหารโดย
การรับประทานยาลดกรดที่มีส่วนผสมของ
เบส
-ใช้ในการบรรเทาพิษจากผึ้งต่อย โดยการ
ทาบริเวณที่โดนผึ้งต่อยด้วยแอมโมเนีย
ปฏิกิริยาระหว่างเบสกับไขมัน ใช้ในการทาสบู่
ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับคาร์บอเนต ทาให้เกิดหินงอกหินย้อย
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด ได้แก๊สไฮโดรเจนใช้เป็นพลังงานทดแทนได้
22
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. จากความรู้เรื่องการเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้อย่างไรบ้าง
แนวตอบ นาความรู้เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆที่เราใช้ใน
ชีวิตประจาวัน เช่น สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก น้ายาขัดห้องน้า การปรุงอาหาร การถนอมอาหาร
การทาพลุไฟ เป็นต้น และเมื่อเราทราบว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา เราก็นาความรู้นั้น
ๆ มาใช้ เช่น เราทราบว่าอุณหภูมิจะเร่งปฏิกิริยาต่าง ๆ ให้เกิดได้เร็วขึ้น เราก็นาความรู้นี้ไปใช้ในการ
ช่วยบ่มผลไม้ หรือเราอยากจะลดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารต่าง ๆ เราก็ลดอุณหภูมิลง เช่น การ
เก็บรักษาอาหารให้สดนานขึ้นโดยการนาไปแช่ในตู้เย็น การผลิตเป็นอาหารแช่แข็ง เราทราบว่าเหล็ก
เมื่อได้รับความชื้นและออกซิเจนในอากาศมาก ๆ จะทาให้เหล็กเกิดสนิมและผุกร่อนได้ง่าย เราจึง
ป้องกันการเกิดสนิมและการผุกร่อนของเหล็กได้โดยการทาสีหรือทาน้ามันเคลือบผิวของเหล็กไว้เพื่อ
ป้องกันไม่ให้พื้นผิวของเหล็กสัมผัสกับความชื้นและออกซิเจนในอากาศได้ยากขึ้น เป็นต้น
23
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปราย การเกิดและผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมต่อไปนี้
1.1 การเกิดฝนกรด วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิดฝนกรดทาได้อย่างไร
1.2 การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิด
ปรากฏการณ์เรือนกระจกทาได้อย่างไร
1.3 การเกิดสม็อก/หมอกควัน วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการการเกิดสม็อก/
หมอกควันทาได้อย่างไร
บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมี
ต่อสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง
1.การเกิดฝนกรด แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์(SO3)
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2)
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2)
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ
ฝนกรดเป็นน้าฝนที่มีค่า pH ต่ากว่า 5.6 จึงทาให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ เช่น ทาให้ดินขาดความ
อุดมสมบูรณ์ ป่าไม้ถูกทาลายหรือทาให้เกิดริ้วรอยเป็น
จุดหรือเป็นลายบนพืช
การควบคุมการเกิดฝนกรด ทาได้โดยทาการ
ควบคุมสารประกอบ ของซัลเฟอร์และไนโตรเจนใน
อากาศซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดฝนกรด ดังนี้
1. เลือกใช้เชื้อเพลิงที่มีสารประกอบของซัลเฟอร์
ปนเปื้อน
2. เลือกใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติแทน
เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน
ลม เป็นต้น
3. ติดตั้งอุปกรณ์เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่
บรรยากาศ
24
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง
2. การเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ
มีเทน(CH4) ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัว
ของ อินทรีย์วัตถุ เช่น ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ ของ
เสีย อุจจาระ
CFC เป็นสารประกอบสาหรับทาความเย็น พบใน
เครื่องทาความเย็นต่างๆ เป็นสิ่งที่อยู่ร่วมกับ ฟรีออน
และยังพบได้ใน สเปรย์ ต่าง ๆ อีกด้วย
Nitrous Oxide (N2O) เป็นก๊าซมีพิษที่เกิดจาก
เครื่องยนต์ การเผาถ่านหิน และใช้ประกอบในรถยนต์
เพื่อเพิ่มกาลังเครื่อง
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ
เกิดจากแก๊สต่างๆ ลอยขึ้นไปสะสมอยู่บนชั้น
บรรยากาศเหนือพื้นผิวโลก โดยแก๊สเรือนกระจกที่
สาคัญ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊ส
ไนตรัสออกไซด์ เป็นต้น เมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสงมายัง
โลกพื้นผิวโลกจะดูดซับความร้อนส่วนหนึ่ง อีกส่วน
หนึ่งซึ่งเป็นรังสีคลื่นสั้นจะสะท้อนกลับ ขึ้นไปได้เพียง
เล็กน้อย เนื่องจากถูกแก๊สเรือนกระจกกักเก็บเอาไว้
ส่งผลให้ พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งจะเกิด
ผลกระทบไปทั่วโลก โดยลักษณะการ กักเก็บอุณหภูมิ
นี้มีลักษณะ ไม่แตกต่างจากเรือนกระจกที่เก็บ
อุณหภูมิความร้อนในการปลูกพืชเขตหนาว จึงเรียกว่า
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
การลดปรากฏการณ์เรือนกระจกสามารถทาได้
ดังนี้
1. ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก รวมทั้งลดการใช้
สินค้าที่มีกระบวนการผลิตที่ทาให้เกิดการปล่อยแก๊ส
เรือนกระจกมากขึ้น
2. ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
3. ปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิโลกและยังช่วยดูด
ซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
25
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง
3. การเกิดสม็อก/หมอกควัน แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์(NO)
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2)
คาร์บอนไดออกไซด์(CO2)
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) สารไฮโดรคาร์บอน(H-C)
ตลอดจนฝุ่นละอองขนาดเล็กๆ
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ
บดบังการมองเห็นซึ่งเป็นอันตรายมากต่อการ
บิน นอกจากนี้ แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ยังทาให้เกิด
การระคายเคืองกับดวงตาและระบบทางเดินหายใจ
สาเหตุของการเกิดหมอกควัน มีหลายสาเหตุ
ด้วยกัน ได้แก่ ไฟป่า การเผาเศษพืชและเศษวัสดุ
การเกษตร การเผาขยะมูลฝอยจากชุมชน การเผา
วัชพืชริมถนน มลพิษจากอุตสาหกรรม ดังนั้นการ
ควบคุมหรือป้องกันการเกิดหมอกควันที่ดีที่สุดคือการ
ระมัดระวัง เฝ้าระวัง ไม่ให้เกิดการเผาไหม้ที่รุนแรง
สร้างแนวกันไฟและวางมาตรการรักษาความปลอดภัย
ในการเกิดเพลิงไหม้ในพื้นที่ต่าง ๆ ให้ทันถ่วงที
** คาตอบขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครู
26
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
จับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและสมการเคมี โดยนาตัวอักษรด้าน
ขวามือมาเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
27
...ช....1. การเกิดฝนกรด
...ข...2. การเกิดหินงอกหินย้อย
...ก...3. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์
...ฉ....4. การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
...ค....5. การผุกร่อนของโลหะ
...ฌ....6. การกินยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
...ซ...7. การสลายตัวของผงฟูเมื่อได้รับความร้อน
...ง....8. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
...ญ...9. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับวัสดุคาร์บอเนต
...จ....10.การเกิดสนิมเหล็ก
ก. CH4(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(l)
ข. 2CaH(CO3)2(aq)
ความร้อนจากแสงอาทิตย์
→ CaCO3(s)+H2O(l)+CO2(g)
ค. Fe(s) + 2HCl(aq) FeCl3(aq) + H2(g)
ง. 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O
จ. 4Fe(s) + 3O2(g) +6H2O(l) 2Fe2O3.3H2O
ฉ. C3H8(g) +3O2(g) 2CO(g) +C(s) + 4H2O(l)
ช. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq)
ซ. NaHCO3(s) Na2CO3(s) + CO2(g) + H2O(l)
ฌ. Mg(OH)2(aq) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + 2H2O(l)
ญ. H2SO4(aq) + CaCO3(s) CaSO4(s) + CO2(g) + H2O(l)
ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง จงเติมข้อความในแผนผังความคิดให้สมบูรณ์
ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
ปรากฏการณ์เรือนกระจก การเกิดสนิม
การเกิดสม็อก/หมอกควันฝนกรด การเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
28
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
29
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
_____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์
พ.ศ. พัฒนา จากัด.
_____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.
30

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3oraneehussem
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

Tendances (20)

แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

Similaire à เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีpoomarin
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959mamka
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 
รายงานแข่งขันชีวสัตว
รายงานแข่งขันชีวสัตวรายงานแข่งขันชีวสัตว
รายงานแข่งขันชีวสัตวWichai Likitponrak
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51Yam Moo
 
วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51Prapasson Tiptem
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์momaysnail
 

Similaire à เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน (20)

เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
รายงานแข่งขันชีวสัตว
รายงานแข่งขันชีวสัตวรายงานแข่งขันชีวสัตว
รายงานแข่งขันชีวสัตว
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51วิทยาศาสตร์ Onet'51
วิทยาศาสตร์ Onet'51
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 

Plus de Preeyapat Lengrabam

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...Preeyapat Lengrabam
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Plus de Preeyapat Lengrabam (10)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 

เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

  • 1.
  • 2. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คานา เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้ มีจานวน 6 เล่ม เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน เล่มที่ 6 เรื่อง หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป ปรีช์ญภัทร เล่งระบา ก
  • 3. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 1 กิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 3 ใบความรู้ที่ 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 5 กิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 10 ใบความรู้ที่ 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 14 ใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 17 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 18 ภาคผนวก 20  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 22  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 24  เฉลยใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 27  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 28  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 29 บรรณานุกรม 30 ข
  • 4. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. สารในข้อใดทาปฏิกิริยากับหินปูนแล้วเกิดฟองก๊าซได้ ก. โซเดียมคลอไรด์ ข. กรดอะซิติก ค. โซเดียมคาร์บอเนต ง. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 2. ผงฟูที่ใช้ทาขนมปังคือสารใด ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมคาร์บอเนต ค. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ง. โซเดียมคลอไรด์ 3. เมื่อท่อน้าทิ้งอุดตัน หากต้องการให้น้าทิ้งไหลได้สะดวกอีกครั้งควรใช้สารตัวใดเทใส่ท่อน้าทิ้งที่อุดตันนั้น ก. โซดาไฟ ข. น้าโซดา ค. โซดาซักผ้า ง. โซเดียมซิลิเกต 4. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารที่เป็นกรด ก. ทาปฏิกิริยากับหินปูน ข. กัดกร่อนสารพลาสติกได้ ค. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลาย ง. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง 5. การเกิดหินงอกหินย้อยเกิดจากสารใดทาปฏิกิริยากัน ก. กรดกับเบส ข. กรดกับโลหะ ค. กรดกับออกซิเจน ง. กรดกับหินปูน 6. ในการดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทาให้ สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊สที่หนักกว่าอากาศ มาปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้ บรรเทาหรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ แก๊สที่เกิดจากการสลายตัวของ NaHCO3 คือแก๊สชนิดใด ก. ไนโตรเจนไดออกไซด์ ข. คาร์บอนมอนอกไซด์ ค. คาร์บอนไดออกไซด์ ง. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 7. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดจากน้าฝนละลายแก๊สชนิดต่างๆ ทาให้ได้น้าฝนมีสภาพเป็นกรด สมการใดไม่ถูกต้อง ก. CO2(g) + H2O(l) H2CO3(aq) ข. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq) ค. SO3(g) + H2O(l) H2SO4(aq) ง. 2NO2(g) + 2H2O(l) 4HNO2(aq) 1
  • 5. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8. ข้อใดเป็นมลพิษที่เกิดจากควันจากท่อไอเสียรถยนต์ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ที่รุนแรงที่สุด ก. คาร์บอนมอนอกไซด์และตะกั่ว ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ค. ตะกั่วและไฮโดรคาร์บอน ง. ไนโตรเจนออกไซด์ 9. ข้อใดเป็นผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. ฝนกรด 2. การเกิดสม็อก 3. การทาฝนเทียม 4. การเกิดหินงอกหินย้อย 5. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 6. น้าเน่าเสียที่เกิดจากการทิ้งสารอินทรีย์ ข้อใดถูกต้องตามข้อความข้างต้น ก. 1 , 2 , 4 และ 6 ข. 1 , 2 , 5 และ 6 ค. 1 , 3 , 4 และ 6 ง. 1 , 3 , 5 และ 6 10. ประโยชน์ของการใช้ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) สามารถใช้ดับไฟป่าได้ ข. ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ได้ น้า และ แก๊สไฮโดรเจน ค. ผลผลิตที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสง คือ น้าตาล น้า และ แก๊สออกซิเจน ง. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สหุงต้ม ได้ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ น้า และ พลังงาน *********************************************************************** 2
  • 6. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 2. บอกประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน โดยระดมความคิดและอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง 2. สรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2.6 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิต ประจาวัน 3. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายของกลุ่ม 3
  • 7. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปรายถึงสารเคมี ผลิตภัณฑ์และปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน และ บอกประโยชน์ที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์ สารเคมีหรือปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่นักเรียนได้ร่วมกันสืบค้นและ อภิปราย บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีใน ชีวิตประจาวัน สารเคมี/ผลิตภัณฑ์/ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน ประโยชน์ 2. จากความรู้เรื่องการเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้อย่างไรบ้าง ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 4
  • 8. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน 1. การผุกร่อนของโลหะ เช่น การผุกร่อนเนื่องจากการเกิดสนิม การเกิดออกไซด์ของอะลูมิเนียม เป็นต้น การเกิดสนิมของเหล็กเกิดจากเหล็กสัมผัสกับน้าและออกซิเจนในอากาศ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้ 4Fe (s) + 3O2 (g) + 2H2O (g) 2Fe2O3·2H2O (s) สนิมเหล็กสีน้าตาลแดง การเกิดออกไซด์ของอลูมิเนียมเกิดจากอะลูมิเนียมรวมกับออกซิเจนในอากาศ ดังสมการ 4Al (s) + 3O2(g) 2Al2O3(s) สีขาว 2. การผุกร่อนของหินปูนเนื่องจากกรด การผุกร่อนของหินปูนซึ่งมีแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นองค์ประกอบ เมื่อถูกน้าฝนที่ละลาย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ H2O(l) + CO2 (g) H2CO3 (aq) กรดคาร์บอนิก CaCO3 (s) + H2CO3 (aq) Ca(HCO3)2 (aq) แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเป็นสารละลายใสเมื่อถูกความร้อนจะเปลี่ยนเป็น CaCO3.H2O และ CO2 ซึ่งเป็นกระบวนการเกิดหินงอกและหินย้อยตามถ้าต่างๆ Ca(HCO3)2 (aq) CaCO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g) 3. การเผาไหม้ การเผาไหม้ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากสารรวมกับออกซิเจนได้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง สารที่เกิด จากการเผาไหม้จัดเป็นสารประเภทเชื้อเพลิง ซึ่งส่วนใหญ่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ เป็นการเผาไหม้ของสารที่มีเชื้อเพลิงที่ได้น้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารผลิตภัณฑ์ เช่น เชื้อเพลิง + O2 (g) H2O (l) + CO2 (g) การเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็นการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น องค์ประกอบ แล้วมีปริมาณของก๊าซออกซิเจนไม่เพียงพอ จะเกิดการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ ได้สารผลิตภัณฑ์เป็น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) น้า และ คาร์บอนไดออกไซด์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเผาไหม้ 1. เชื้อเพลิง 2. ความร้อน 3. ก๊าซออกซิเจน 5
  • 9. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. ปฏิกิริยาของกรดกับเบส ปฏิกิริยาที่กรดรวมกับเบสได้สารผลิตภัณฑ์ที่เป็นเกลือกับน้า เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาสะเทิน เขียนแทน ด้วยสมการดังนี้ กรด + เบส เกลือ + น้า เช่น HCl (aq) + KOH (aq) KCl (aq) + H2O (l) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในตัวเราและรอบๆ ตัวเรา มีทั้งปฏิกิริยาง่ายๆ ไปจนถึงปฏิกิริยาที่ซับซ้อน ในบทนี้ นักเรียนจะได้ศึกษาปฏิกิริยาบางชนิดที่เกิดขึ้นและใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ซึ่งบางปฏิกิริยามีผลต่อ สิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาที่เผาไหม้ของเชื้อเพลิงต่างๆ เช่น แก๊สหุงต้มน้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้ในยานพาหนะและในโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากจะให้พลังงานจานวนมากนาไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ยังก่อให้เกิดผลเสีย ตามมา เพราะเชื้อเพลิงฟอสซิล ได้แก่ ถ่านหินและน้ามันดิบที่เกิดอยู่ใต้พื้นโลก มักมีประโยชน์ต้องนามาก กลั่นหรือเผาที่อุณหภูมิสูง ขณะกลั่นกามะถันจะทาปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน ให้ผลิตภัณฑ์เป็น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SO2 ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาการรวมตัวกับแก๊สออกซิเจนต่อไปนี้ ให้แก๊สซัลเฟอร์ ไตรออกไซด์ SO3 เกิดขึ้นดังสมการ S (s) + O2 (g) SO2 (g) 2SO2 (g) + O2 (g) 2SO3 (g) เมื่อแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ถูกความชื้นในอากาศจะเกิดปฏิกิริยารวมตัวกับละอองน้า เกิดเป็นกรด กามะถัน H2SO4 ดังสมการ ถ้ากรดที่เกิดขึ้นมีปริมาณมาก เมื่อฝนตกก็จะชะลงมากับฝนเรียกว่า ฝนกรด SO3 (g) + H2O (g) H2SO4 (aq) ในเมืองอุตสาหกรรมและเมืองใหญ่ๆ ที่มีการใช้เชื้อเพลิงในปริมาณมาก จะมีแก๊สไนโตรเจนมอนอ ไซด์ (NO) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) โอโซน (O3) และ SO2[เกิดขึ้นตามมาด้วย แก๊ส NO2 ส่วนใหญ่เกิดจาก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ ดังสมการ (อากาศ) N2 + O2 อุณหภูมิสูง → 2NO 2NO + O2 2NO2 แก๊ส NO2 ในอากาศ เมื่อถูกแสงอาทิตย์จะสลายตัวเป็นแก๊ส NO และอะตอมอิสระของ ออกซิเจน ซึ่งสามารถรวมตัวกับแก๊ส O2 ต่อไปเป็น O3 ดังสมการ O2 + O O3 ในวันที่มีความกดอากาศสูง แก๊ส SO3 , NO2 และ O3 ตลอดจนฝุ่นละอองและสารไฮโดรคาร์บอน ที่เป็นละอองเล็กๆ ลอยปะปนกันอยู่ในระดับต่า เกิดเป็นหมอกควันที่เรียกว่า สม็อก (smog) ถ้าปริมาณ มากทาให้เกิดทัศนวิสัยต่าบดบังการมองเห็นซึ่งเป็นอันตรายมาก โดยเฉพาะกับกิจกรรมที่เกี่ยวกับการบินหรือ การเดินทาง นอกจากนั้นแก๊ส NO2 และ O3 ยังก่อให้เกิดการระคายเคืองกับดวงตาและทางเดินหายใจ หาก ได้รับปริมาณมากจะก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน 6
  • 10. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี smog มากจากคาว่า smoke + fog ภาพที่ 5.1 หมอกควันที่เกิดขึ้นเป็นประจาในกรุงเทพฯ ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061 ในวันที่อากาศปลอดโปร่ง แก๊ส SO3 และ NO2 ลอยขึ้นสูงไปตามกระแสลม เมื่อได้รับความชื้นใน อากาศจากเมฆและฝน SO3 รวมตัวเกิดเป็นกรดกามะถัน (H2SO4) ส่วน NO2 รวมตัวกับละอองน้าเป็น กรดไนตริก (HNO3) เมื่อตกลงมาบนพื้นดินจะเป็นฝนกรดเหมือนกัน ปฏิกิริยาอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นทั่วๆ ไปคือ ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก โดยทั่วไป ตึก สะพาน และ สิ่งก่อสร้างต่างๆ มีเหล็กเป็นองค์ประกอบของโครงสร้าง เมื่อเหล็กถูกอากาศและความชื้นจะค่อยๆสึกกร่อน กลายเป็นสนิมเหล็ก Fe2O3 .H2O ดังสมการ 4Fe + 3O2 → 2Fe2O3.H2O ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) ด้วยความร้อนให้แก๊ส CO2 , Na2CO3 และ H2Oมีประโยชน์ในการทาขนมหลายชนิดเช่น เค้ก ขนมถ้วยฟู และขนมสาลี เมื่อผสม NaHCO3 (เรียกกันทั่วไปว่า ผงฟู) ลงในส่วนผสมของขนมแล้วนาไปอบหรือนึ่ง ผงฟูจะสลายตัวให้ แก๊ส CO2 ซึ่งพยายามแทรกตัวออกมา ทาให้เกิดเป็นโพรงอากาศอยู่ทั่วไปในขนม ขนมจึงมีลักษณะพองหรือ ฟูขึ้น ภาพที่ 5.2 NaHCO3 เป็นส่วนผสมในเค้ก ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061 7
  • 11. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์ในดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า แก๊ส CO2 ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศ จึงปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้บรรเทา หรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ระดับหนึ่ง ภาพที่ 5.3 การโปรยผง NaHCO3 ในการดับไฟป่า ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061 ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เป็นสารใช้ฟอกสีผสมและฆ่าเชื้อโรค โดยปกติจะสลายตัวได้เอง อย่างช้าๆ ให้น้าและ O2 เกิดขึ้น ดังสมการ แสงสว่างและความร้อนจะช่วยเร่งให้เกิดการสลายตัวเร็ว ขึ้น ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในที่มืดหรือในภาชนะสีนาตาลเข้มและในที่เย็น 2H2O2 2H2O + O2 ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่ชนิดต่างๆ เป็นปฏิกิริยาที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า ซึ่งนามาใช้ประโยชน์ได้ หลากหลาย เช่น แบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ประเภทต่างๆ เป็นปฏิกิริยาระหว่างแผ่นตะกั่ว (Pb) ซึ่งทาหน้าที่ เป็นขั้ว (-) และตะกั่วไดออกไซด์ (PbO2) ทาหน้าที่เป็นขั้วบวก (+) กับกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เข้มข้นประมาณ 30-38% โดยน้าหนักเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้ดังนี้ Pb + PbO2 + 2H2SO4 2PbSO4 + 2H2O ภาพที่ 5.4 แบตเตอรี่ตะกั่วกรดที่ใช้ในรถยนต์ ทีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061 8
  • 12. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบตเตอรี่อีกชนิดหนึ่ง เรียกว่าแบตเตอรี่ปรอท เป็นแบตเตอรี่ที่มีขนาดเล็กมาก เบา จึงนิยมใช้ใน เครื่องมือเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องวัดแสงในกล้องถ่ายรูป เครื่องช่วยฟัง เครื่อง คิดเลขติดกระเป๋า เป็นต้น ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่ มีสังกะสี (Zn) เป็นขั้วลบ (-) และปรอทออกไซด์ (HgO) เป็นขั้วบวก (+) ในสารผสมระหว่างโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) กับสังกะสีไฮดรอกไซด์ Zn(OH)2 และ น้า ซึ่งมีลักษณะคล้ายแป้งเปียก เขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้นี้ Zn + HgO ZnO + Hg ภาพที่ 5.5 อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้แบตเตอรี่แบบปรอท ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1061 นอกจากนี้ ยังมีแบตเตอรี่ชนิดอื่นๆ อีก เช่น แบตเตอรี่อัลคาไลน์ แบตเตอรี่นิกเกิล-แคดเมียม หรือ เรียกสั้นๆ ว่า NICAD และแบตเตอรี่ที่ใส่ในตัวคนไข้ที่หัวใจเต้นไม่ปกติ ซึ่งต่างผลิตกระแสไฟฟ้าจากปฏิกิริยา เคมีของโลหะและเบสที่แตกต่างกันไป ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน CaCO3 ด้วยความร้อน ให้แก๊ส CO2 และปูนขาว (CaO) นามาใช้ ในอุตสาหกรรม ปฏิกิริยาระหว่างหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดกามะถันหรือกรดดินประสิว ซึ่งมีอยู่ในฝน กรด เกิดเป็นแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) หรือแคลเซียมไนเตรด[Ca(NO3)2] และแก๊ส CO2 ดังสมการ CaCO3(s) + H2SO4(aq) CO2(g) + CaSO4(aq) + H2O(l) หรือ CaCO3(s) + 2HNO3(aq) CO2(g) + Ca(NO3)2(aq) + H2O(l) ปฏิกิริยานี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ รูปปั้น รูปแกะสลัก ตึกรามบ้านช่อง และสิ่งก่อสร้างที่ทาด้วยหินปูน หรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อนเสียหาย 9
  • 13. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. อภิปรายผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2. บอกแนวทางการแก้ไขหรือลดผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยระดมความคิดและอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง 2. สรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2.7 เรื่อง ผลกระทบของปฏิกิริยา เคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 3. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายของกลุ่ม 10
  • 14. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปราย การเกิดและผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อมต่อไปนี้ 1.1 การเกิดฝนกรด วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิดฝนกรดทาได้อย่างไร 1.2 การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิด ปรากฏการณ์เรือนกระจกทาได้อย่างไร 1.3 การเกิดสม็อก วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิดสม็อคทาได้อย่างไร บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมี ต่อสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง 1. การเกิดฝนกรด ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ 11
  • 15. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง 2. การเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ 12
  • 16. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง 3. การเกิดสม็อก/หมอกควัน ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ 13
  • 17. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.7 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาเคมีนับได้ว่ามีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก แต่หากมนุษย์ใช้ประโยชน์ จากสารเคมีและปฏิกิริยาเคมีโดยขาดความรอบคอบ ปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้นก็อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อมได้ ตัวอย่าง เช่น 1) ฝนกรด (acid rain) เกิดจากแก๊สบางชนิดในบรรยากาศเช่น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์แก๊สไนโตรเจน ออกไซด์ เป็นต้น รวมกับละอองน้าในอากาศซึ่งจะทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติเป็นกรด โดยถ้ากรดที่เกิดขึ้นมี ปริมาณมาก เมื่อฝนตกกรดก็จะปนลงมากับน้าฝน เรียกว่า ฝนกรด โดยแก๊สต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของฝนส่วน ใหญ่จะเกิดจากการ เผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีสารปนเปื้อนอยู่ เช่น สารประกอบของซัลเฟอร์สารประกอบของ ไนโตรเจน เป็นต้น เชื้อเพลิงที่มักมีสารปนเปื้อนอยู่มาก ได้แก่ เชื้อเพลิงจากพวกถ่านหิน ซึ่งนิยมใช้กันมากใน โรงงานไฟฟ้าและในโรงงานอุตสาหกรรม ฝนกรดเป็นน้าฝนที่มีค่า pH ต่ากว่า 5.6 จึงทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ง ต่างๆ เช่น ทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ป่าไม้ถูกทาลายหรือทาให้เกิดริ้วรอยเป็นจุดหรือเป็นลายบนพืช การควบคุมการเกิดฝนกรด ทาได้โดยทาการควบคุมสารประกอบ ของซัมเมอร์และไนโตรเจนในอากาศซึ่งเป็น สาเหตุให้เกิดฝนกรด ดังนี้ 1. เลือกใช้เชื้อเพลิงที่มีสารประกอบของซัลเฟอร์ปนเปื้อน 2. เลือกใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น พลังงานแสงอาทิตย์พลังงานลม เป็นต้น 3. ติดตั้งอุปกรณ์เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่บรรยากาศ ภาพที่ 5.5 การเกิดฝนกรด ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1451 14
  • 18. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2) ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) เป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดจากแก๊สต่างๆ ลอยขึ้นไป สะสมอยู่บนชั้นบรรยากาศเหนือพื้นผิวโลก โดยแก๊สเรือนกระจกที่สาคัญ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊ส มีเทน แก๊สไนตรัสออกไซด์ เป็นต้น เมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสงมายังโลกพื้นผิวโลกจะดูดซับความร้อนส่วนหนึ่ง อีก ส่วนหนึ่งซึ่งเป็นรังสีคลื่นสั้นจะสะท้อนกลับ ขึ้นไปได้เพียงเล็กน้อย เนื่องจากถูกแก๊สเรือนกระจกกักเก็บเอาไว้ ส่งผลให้ พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งจะเกิดผลกระทบไปทั่วโลก โดยลักษณะการ กักเก็บอุณหภูมินี้มีลักษณะ ไม่แตกต่างจากเรือนกระจกที่เก็บอุณหภูมิความร้อนในการปลูกพืชเขตหนาว จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือน กระจก การลดปรากฏการณ์เรือนกระจกสามารถทาได้ ดังนี้ 1. ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก รวมทั้งลดการใช้สินค้าที่มีกระบวนการผลิตที่ทาให้เกิดการปล่อย แก๊สเรือนกระจกมากขึ้น 2. ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล 3. ปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิโลกและยังช่วยดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ภาพที่ 5.6 การเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก ที่มา : https://sites.google.com/site/wartercom/prak-d-karn-reuxn-krack 15
  • 19. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3) สม็อก (smog)หรือหมอกควัน เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในปริมาณมาก โดยเฉพาะในเขต อุตสาหกรรมและ เมืองใหญ่ที่มีการจราจรหนาแน่น รวมทั้งควันไฟที่เกิดจากไฟป่า ซึ่งจะมีแก๊สไนโตรเจน มอนอกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ สารไฮโดรคาร์บอน ตลอดจน ฝุ่นละอองขนาดเล็กๆปะปนอยู่ในปริมาณมากซึ่งในวันที่มีความกดอากาศสูงสารเหล่านี้จะลอยปะปนในอากาศ ที่ความสูงไม่มากนัก เมื่อมีปริมาณมากจะบดบังการมองเห็นซึ่งเป็นอันตรายมากต่อการบิน นอกจากนี้ แก๊ส ไนโตรเจนไดออกไซด์ยังทาให้เกิดการระคายเคืองกับดวงตาและระบบทางเดินหายใจ ภาพที่ 5.7 การสม็อก ที่มา : http://www.cbsnews.com/pictures/chinas-smog-problem/ 16
  • 20. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน จับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและสมการเคมี โดยนาตัวอักษรด้าน ขวามือมาเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง .......1. การเกิดฝนกรด .......2. การเกิดหินงอกหินย้อย .......3. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ ........4. การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ........5. การผุกร่อนของโลหะ ........6. การกินยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ........7. การสลายตัวของผงฟูเมื่อได้รับความร้อน ........8. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ........9. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับวัสดุคาร์บอเนต ........10.การเกิดสนิมเหล็ก ก. CH4(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(l) ข. 2CaH(CO3)2(aq) ความร้อนจากแสงอาทิตย์ → CaCO3(s)+H2O(l)+CO2(g) ค. 2HCl(aq) +Mg(s) MgCl2(aq) + H2(g) ง. 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O จ. 4Fe(s) + 3O2(g) +6H2O(l) 2Fe2O3.3H2O ฉ. C3H8(g) +3O2(g) 2CO(g) +C(s) + 4H2O(l) ช. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq) ซ. Fe(s) + 2HCl(aq) FeCl3(aq) + H2(g) ฌ. Mg(OH)2(aq) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + 2H2O(l) ญ. H2SO4(aq) + CaCO3(s) CaSO4(s) + CO2(g) + H2O(l) ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง จงเติมข้อความในแผนผังความคิดให้สมบูรณ์ ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม 17
  • 21. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. ข้อใดเป็นมลพิษที่เกิดจากควันจากท่อไอเสียรถยนต์ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ที่รุนแรงที่สุด ก. คาร์บอนมอนอกไซด์และตะกั่ว ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ค. ตะกั่วและไฮโดรคาร์บอน ง. ไนโตรเจนออกไซด์ 2. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารที่เป็นกรด ก. ทาปฏิกิริยากับหินปูน ข. กัดกร่อนสารพลาสติกได้ ค. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารละลาย ง. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง 3. ในการดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทาให้ สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊สที่หนักกว่าอากาศ มาปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้ บรรเทาหรือหยุดการเผาไหม้ลงได้ แก๊สที่เกิดจากการสลายตัวของ NaHCO3 คือแก๊สชนิดใด ก. ไนโตรเจนไดออกไซด์ ข. คาร์บอนมอนอกไซด์ ค. คาร์บอนไดออกไซด์ ง. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 4. ประโยชน์ของการใช้ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) สามารถใช้ดับไฟป่าได้ ข. ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ได้ น้า และ แก๊สไฮโดรเจน ค. ผลผลิตที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสง คือ น้าตาล น้า และ แก๊สออกซิเจน ง. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สหุงต้ม ได้ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ น้า และ พลังงาน 5. สารในข้อใดทาปฏิกิริยากับหินปูนแล้วเกิดฟองก๊าซได้ ก. โซเดียมคลอไรด์ ข. กรดอะซิติก ค. โซเดียมคาร์บอเนต ง. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 6. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดจากน้าฝนละลายแก๊สชนิดต่างๆ ทาให้ได้น้าฝนมีสภาพเป็นกรด สมการใดไม่ถูกต้อง ก. CO2(g) + H2O(l) H2CO3(aq) ข. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq) ค. SO3(g) + H2O(l) H2SO4(aq) ง. 2NO2(g) + 2H2O(l) 4HNO2(aq) 18
  • 22. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 7. ผงฟูที่ใช้ทาขนมปังคือสารใด ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมคาร์บอเนต ค. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ง. โซเดียมคลอไรด์ 8. ข้อใดเป็นผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. ฝนกรด 2. การเกิดสม็อก 3. การทาฝนเทียม 4. การเกิดหินงอกหินย้อย 5. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 6. น้าเน่าเสียที่เกิดจากการทิ้งสารอินทรีย์ ข้อใดถูกต้องตามข้อความข้างต้น ก. 1 , 2 , 4 และ 6 ข. 1 , 2 , 5 และ 6 ค. 1 , 3 , 4 และ 6 ง. 1 , 3 , 5 และ 6 9. เมื่อท่อน้าทิ้งอุดตัน หากต้องการให้น้าทิ้งไหลได้สะดวกอีกครั้งควรใช้สารตัวใดเทใส่ท่อน้าทิ้งที่อุดตันนั้น ก. โซดาไฟ ข. น้าโซดา ค. โซดาซักผ้า ง. โซเดียมซิลิเกต 10. การเกิดหินงอกหินย้อยเกิดจากสารใดทาปฏิกิริยากัน ก. กรดกับเบส ข. กรดกับโลหะ ค. กรดกับออกซิเจน ง. กรดกับหินปูน *********************************************************************** 19
  • 23. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน  ตัวอย่างการบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม  เฉลยใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 20
  • 24. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี กิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน สมาชิกในกลุ่ม 1. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 2. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 3. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 4. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 5. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... 6. ชื่อ..................................................................................................ชั้น.................เลขที่..................... จุดประสงค์ของกิจกรรม เมื่อทากิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ 1. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 2. บอกประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน โดยระดมความคิดและอภิปราย ร่วมกันภายในกลุ่มของตนเอง 2. สรุปเป็นคาตอบของกลุ่ม แล้วบันทึกลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2.6 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิต ประจาวัน 3. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการค้นคว้าและอภิปรายของกลุ่ม 21
  • 25. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน 1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปรายถึงสารเคมี ผลิตภัณฑ์และปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน และ บอกประโยชน์ที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์ สารเคมีหรือปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่นักเรียนได้ร่วมกันสืบค้นและ อภิปราย บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.6 ปฏิกิริยาเคมีใน ชีวิตประจาวัน สารเคมี/ผลิตภัณฑ์/ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน ประโยชน์ แชมพู/ยาสระผม ทาความสะอาดผม น้ายาทาความสะอาดห้องน้า/น้ายาขัดห้องน้า ทาความสะอาดห้องน้า การเผาไหม้ ใช้ทาอาหารให้สุก การย่อยอาหาร ร่างกายสามารถนาสารอาหารไปใช้เป็น พลังงานให้กับร่างกาย การเน่าเสียของอาหาร ใช้ทาปุ๋ยหมัก การหมัก ใช้ถนอมอาหาร ปฏิกิริยาการสะเทินระหว่างกรดกับเบส -ใช้ในการแก้ไขปัญหาดินเป็นกรดโดยการ เติมปูนขาวหรือดินมาร์ล -ใช้ในการลดกรดในกระเพาะอาหารโดย การรับประทานยาลดกรดที่มีส่วนผสมของ เบส -ใช้ในการบรรเทาพิษจากผึ้งต่อย โดยการ ทาบริเวณที่โดนผึ้งต่อยด้วยแอมโมเนีย ปฏิกิริยาระหว่างเบสกับไขมัน ใช้ในการทาสบู่ ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับคาร์บอเนต ทาให้เกิดหินงอกหินย้อย ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด ได้แก๊สไฮโดรเจนใช้เป็นพลังงานทดแทนได้ 22
  • 26. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. จากความรู้เรื่องการเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้อย่างไรบ้าง แนวตอบ นาความรู้เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆที่เราใช้ใน ชีวิตประจาวัน เช่น สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก น้ายาขัดห้องน้า การปรุงอาหาร การถนอมอาหาร การทาพลุไฟ เป็นต้น และเมื่อเราทราบว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา เราก็นาความรู้นั้น ๆ มาใช้ เช่น เราทราบว่าอุณหภูมิจะเร่งปฏิกิริยาต่าง ๆ ให้เกิดได้เร็วขึ้น เราก็นาความรู้นี้ไปใช้ในการ ช่วยบ่มผลไม้ หรือเราอยากจะลดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารต่าง ๆ เราก็ลดอุณหภูมิลง เช่น การ เก็บรักษาอาหารให้สดนานขึ้นโดยการนาไปแช่ในตู้เย็น การผลิตเป็นอาหารแช่แข็ง เราทราบว่าเหล็ก เมื่อได้รับความชื้นและออกซิเจนในอากาศมาก ๆ จะทาให้เหล็กเกิดสนิมและผุกร่อนได้ง่าย เราจึง ป้องกันการเกิดสนิมและการผุกร่อนของเหล็กได้โดยการทาสีหรือทาน้ามันเคลือบผิวของเหล็กไว้เพื่อ ป้องกันไม่ให้พื้นผิวของเหล็กสัมผัสกับความชื้นและออกซิเจนในอากาศได้ยากขึ้น เป็นต้น 23
  • 27. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นและอภิปราย การเกิดและผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อมต่อไปนี้ 1.1 การเกิดฝนกรด วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิดฝนกรดทาได้อย่างไร 1.2 การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการเกิด ปรากฏการณ์เรือนกระจกทาได้อย่างไร 1.3 การเกิดสม็อก/หมอกควัน วิธีควบคุมป้องกันและการลดผลกระทบจากการการเกิดสม็อก/ หมอกควันทาได้อย่างไร บันทึกผลการสืบค้นและอภิปรายลงในแบบบันทึกกิจกรรม 2.7 ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมี ต่อสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง 1.การเกิดฝนกรด แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์(SO3) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ ฝนกรดเป็นน้าฝนที่มีค่า pH ต่ากว่า 5.6 จึงทาให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ เช่น ทาให้ดินขาดความ อุดมสมบูรณ์ ป่าไม้ถูกทาลายหรือทาให้เกิดริ้วรอยเป็น จุดหรือเป็นลายบนพืช การควบคุมการเกิดฝนกรด ทาได้โดยทาการ ควบคุมสารประกอบ ของซัลเฟอร์และไนโตรเจนใน อากาศซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดฝนกรด ดังนี้ 1. เลือกใช้เชื้อเพลิงที่มีสารประกอบของซัลเฟอร์ ปนเปื้อน 2. เลือกใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติแทน เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน ลม เป็นต้น 3. ติดตั้งอุปกรณ์เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่ บรรยากาศ 24
  • 28. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง 2. การเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ มีเทน(CH4) ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสลายตัว ของ อินทรีย์วัตถุ เช่น ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ ของ เสีย อุจจาระ CFC เป็นสารประกอบสาหรับทาความเย็น พบใน เครื่องทาความเย็นต่างๆ เป็นสิ่งที่อยู่ร่วมกับ ฟรีออน และยังพบได้ใน สเปรย์ ต่าง ๆ อีกด้วย Nitrous Oxide (N2O) เป็นก๊าซมีพิษที่เกิดจาก เครื่องยนต์ การเผาถ่านหิน และใช้ประกอบในรถยนต์ เพื่อเพิ่มกาลังเครื่อง ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ เกิดจากแก๊สต่างๆ ลอยขึ้นไปสะสมอยู่บนชั้น บรรยากาศเหนือพื้นผิวโลก โดยแก๊สเรือนกระจกที่ สาคัญ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน แก๊ส ไนตรัสออกไซด์ เป็นต้น เมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสงมายัง โลกพื้นผิวโลกจะดูดซับความร้อนส่วนหนึ่ง อีกส่วน หนึ่งซึ่งเป็นรังสีคลื่นสั้นจะสะท้อนกลับ ขึ้นไปได้เพียง เล็กน้อย เนื่องจากถูกแก๊สเรือนกระจกกักเก็บเอาไว้ ส่งผลให้ พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งจะเกิด ผลกระทบไปทั่วโลก โดยลักษณะการ กักเก็บอุณหภูมิ นี้มีลักษณะ ไม่แตกต่างจากเรือนกระจกที่เก็บ อุณหภูมิความร้อนในการปลูกพืชเขตหนาว จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก การลดปรากฏการณ์เรือนกระจกสามารถทาได้ ดังนี้ 1. ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก รวมทั้งลดการใช้ สินค้าที่มีกระบวนการผลิตที่ทาให้เกิดการปล่อยแก๊ส เรือนกระจกมากขึ้น 2. ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล 3. ปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิโลกและยังช่วยดูด ซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 25
  • 29. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยา แก๊สที่เกี่ยวข้อง 3. การเกิดสม็อก/หมอกควัน แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์(NO) แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) คาร์บอนไดออกไซด์(CO2) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) สารไฮโดรคาร์บอน(H-C) ตลอดจนฝุ่นละอองขนาดเล็กๆ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แนวทางการควบคุม ป้องกันหรือลดผลกระทบ บดบังการมองเห็นซึ่งเป็นอันตรายมากต่อการ บิน นอกจากนี้ แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ยังทาให้เกิด การระคายเคืองกับดวงตาและระบบทางเดินหายใจ สาเหตุของการเกิดหมอกควัน มีหลายสาเหตุ ด้วยกัน ได้แก่ ไฟป่า การเผาเศษพืชและเศษวัสดุ การเกษตร การเผาขยะมูลฝอยจากชุมชน การเผา วัชพืชริมถนน มลพิษจากอุตสาหกรรม ดังนั้นการ ควบคุมหรือป้องกันการเกิดหมอกควันที่ดีที่สุดคือการ ระมัดระวัง เฝ้าระวัง ไม่ให้เกิดการเผาไหม้ที่รุนแรง สร้างแนวกันไฟและวางมาตรการรักษาความปลอดภัย ในการเกิดเพลิงไหม้ในพื้นที่ต่าง ๆ ให้ทันถ่วงที ** คาตอบขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครู 26
  • 30. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยใบงานที่ 2.5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน จับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและสมการเคมี โดยนาตัวอักษรด้าน ขวามือมาเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 27 ...ช....1. การเกิดฝนกรด ...ข...2. การเกิดหินงอกหินย้อย ...ก...3. การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ ...ฉ....4. การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ...ค....5. การผุกร่อนของโลหะ ...ฌ....6. การกินยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ...ซ...7. การสลายตัวของผงฟูเมื่อได้รับความร้อน ...ง....8. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ...ญ...9. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับวัสดุคาร์บอเนต ...จ....10.การเกิดสนิมเหล็ก ก. CH4(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(l) ข. 2CaH(CO3)2(aq) ความร้อนจากแสงอาทิตย์ → CaCO3(s)+H2O(l)+CO2(g) ค. Fe(s) + 2HCl(aq) FeCl3(aq) + H2(g) ง. 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O จ. 4Fe(s) + 3O2(g) +6H2O(l) 2Fe2O3.3H2O ฉ. C3H8(g) +3O2(g) 2CO(g) +C(s) + 4H2O(l) ช. SO2(g) + H2O(l) H2SO3(aq) ซ. NaHCO3(s) Na2CO3(s) + CO2(g) + H2O(l) ฌ. Mg(OH)2(aq) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + 2H2O(l) ญ. H2SO4(aq) + CaCO3(s) CaSO4(s) + CO2(g) + H2O(l) ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง จงเติมข้อความในแผนผังความคิดให้สมบูรณ์ ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ปรากฏการณ์เรือนกระจก การเกิดสนิม การเกิดสม็อก/หมอกควันฝนกรด การเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
  • 31. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  28
  • 32. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  29
  • 33. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. _____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. _____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. _____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด. รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด. 30