SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
10
นวัตกรรม
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
แปลและเรียบเรียง: อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ณัฐธิดา เย็นบารุง ฮาพีฟี สะมะแอ จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ปาณัท ทองพ่วง
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
ปก: ธีรสิทธิ์ปิยะอภินันท์
รูปเล่ม: ปาณัท ทองพ่วง
ปีที่เผยแพร่: มีนาคม 2559
เผยแพร่โดย: แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
และสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริม
ปัญญาสาธารณะ (CPWI)
สนับสนุนโดย: สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
1
จัดสรรพื้นที่ใช้สอยในเมืองใหม่ด้วยเทคโนโลยี
ปัญหา
สังคมเมืองคืออนาคตของโลก คนที่อยู่ในเมืองจะ
เพิ่มขึ้นจาก 4 พันล้านเป็น 7 พันล้านในอีกสามสิบปีข้างหน้า
เมืองจะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการรองรับประชากรที่จะ
เพิ่มขึ้นให้ได้เป็นสองเท่าภายในปี 2050 ซึ่งไม่มีเวลาหรือเงิน
เพียงพอที่จะสร้างโครงสร้างพื้นฐานใหม่ที่จะรองรับประชากร
ขนาดนั้นได้ทัน ดังนั้น ทางออกจึงเป็นการใช้เทคโนโลยีมา
ช่วยจัดสรรและปรับการใช้ประโยชน์พื้นที่และโครงสร้าง
กายภาพที่มีอยู่แล้วให้เอนกประสงค์มากขึ้น
แนวทางแก้ไข
ปัจจุบัน หลายเมืองเริ่มหันมาใช้เทคโนโลยีจัดสรร
การใช้งานพื้นที่ในเมืองเสียใหม่ให้คุ้มค่ามากที่สุดในขณะที่
ลงทุนน้อยที่สุด เช่น แวนคูเวอร์ (Vancouver) สามารถลด
มลภาวะในเมืองลง กลาสโกว์ (Glasgow) เปลี่ยนแนวคิดใน
การพัฒนาเมืองจากการขยายตัวมาเป็นกระจุกตัว มหานครนิวยอร์ค (New York City) ขยายทางเท้า
และพื้นที่สาธารณะ ส่วนเมลเบิร์น (Melbourne) หันมาปรับปรุงถนนที่ไม่ค่อยได้ใช้งานและจัดสรรการ
พัฒนาเขตที่อยู่อาศัยที่มีประชากรหนาแน่นให้ไปอยู่รอบๆ สถานีรถไฟและโครงข่ายคมนาคมทางถนน
ในกรณีเมลเบิร์น คาดกันว่าหากใช้เทคโนโลยีมาจัดสรรโครงสร้างทางกายภาพเดิมของเมืองที่มี
อยู่ให้รองรับจานวนประชากรที่จะเพิ่มขึ้นอีก 3.5 ล้านคนภายในปี 2050 ได้โดยไม่ต้องขยายเขตเมือง
ออกไปจากปัจจุบัน จะสามารถลดงบประมาณก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานได้มหาศาล นอกจากนี้ การ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยียังช่วยให้ย่านเก่าของเมืองทารายได้ได้ด้วย เพราะนวัตกรรมเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ทางาน สร้างอาชีพใหม่ๆ และทาลายข้อจากัดด้านการผลิต การเข้าไปปรับปรุงอาคารเก่าโดยใช้
นวัตกรรมใหม่ เปลี่ยนให้อาคารเก่าหลังหนึ่งกลายเป็นพื้นที่ที่ทากิจกรรมได้เอนกประสงค์ เช่น เป็นโรง
ภาพยนตร์ สถานที่ออกกาลังกาย พิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ แหล่งท่องเที่ยวผ่อนคลาย จุดพบปะ
สังสรรค์ ได้ในเวลาเดียวกัน
2
ควบคุมระบบประปาผ่านอินเทอร์เน็ต
ปัญหา
ยิ่งคนอาศัยอยู่ในเมืองมากขึ้น เรื่องน้าหรือการ
ประปาของเมืองก็ยิ่งทวีความสาคัญมากขึ้น เพราะ
เกี่ยวพันกับการใช้น้าอุปโภคบริโภค ใช้น้าในการผลิต
รวมทั้งเป็นแหล่งถ่ายเทของเสียและเส้นทางแพร่กระจาย
ของโรค ภายในปี 2030 ประเมินกันว่าความต้องการใช้
น้าสะอาดจะมีมากกว่าปริมาณน้าที่มีอยู่ถึง 40% แต่ใน
ปัจจุบัน คาดกันว่าน้าสะอาดที่มีค่านั้นหมดไปกับการ
รั่วไหลถึง 25-30% หรือมากกว่านั้น
แนวทางแก้ไข
ด้วยเหตุนี้ เมืองหลายแห่งจึงเริ่มหันมาสร้าง
“ระบบบริหารจัดการน้าอัจฉริยะ” ที่ติดตั้งเซ็นเซอร์ไว้ใน
ระบบประปาเพื่อตรวจจับและควบคุมการไหลของน้าทั้ง
ระบบผ่านคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นคาตอบในการจัดการน้า
อย่างยั่งยืน ตัวอย่างเช่น ในอิสราเอล (Israel) บริษัท TaKaDu สร้างระบบที่เชื่อมต่อระบบประปาเข้ากับ
อินเตอร์เน็ต ช่วยให้สามารถควบคุมน้าท่วมและเก็บกักน้าฝนได้ดียิ่งขึ้น และชี้จุดอ่อนหรือความเสียหาย
ภายในระบบประปาได้ก่อนเกิดปัญหา ส่วนในรัฐควีนแลนส์ (Queensland) ของออสเตรเลีย บริษัท
Unitywater ซึ่งใช้นวัตกรรมคล้ายกันนี้ก็สามารถลดปริมาณการสูญเสียน้าได้หลายพันล้านลิตรต่อปี
ประหยัดทั้งเงินและเวลาในการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาในระบบประปา
ไม่เพียงเท่านี้ การติดตั้งเซ็นเซอร์ในระบบประปายังช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ในโครงการ
Underworlds ของ MIT ตรวจจับไวรัสและแบคทีเรีย ประเมินประสิทธิภาพของมาตรการด้าน
สาธารณสุขในระบบประปาได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยป้องกันโรคระบาดและลดงบประมาณด้านสาธารณสุข
ของรัฐลงอีกด้วย โครงการดังกล่าวกาลังทดลองอยู่ในเมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสซาชูเซตส์
(Massachusetts) สหรัฐอเมริกา
3
รับต้นไม้สักต้นมาดูแลผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค
ปัญหา
คณะกรรมการระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลง
สภาพ ภู มิอากาศ (The International Panel on Climate
Change) ได้คาดการณ์ถึงสถานการณ์ด้านสภาพอากาศที่
นับวันยิ่งรุนแรงจนอาจส่งผลกระทบและเพิ่มความท้าทายต่อ
เมืองทั่วโลก โดยเฉพาะเมืองในบรรดาประเทศกาลังพัฒนา
ด้วยเหตุนี้ เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมรูปแบบต่างๆ อาทิ การ
สร้างเขื่อนหรือกาแพงกั้นน้าจึงมีบทบาทสาคัญยิ่งในการรับมือ
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและบรรเทาผลกระทบ
จากพายุและระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การเพิ่ม
จานวนต้นไม้เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่อาจช่วยลดปัญหาเหล่านี้ได้
จากการศึกษาพบว่า การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง 10%
สามารถช่วยชดเชยการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกได้ กล่าวคือ
ต้นไม้ที่รวมถึงพืชผักมีส่วนช่วยป้ องกันรังสีคลื่นสั้น
(Shortwave Radiation) จากดวงอาทิตย์ นอกจากนี้ปฏิกิริยาการคายน้าจากใบไม้ยังช่วยระบายอากาศ
และทาให้อากาศรอบๆ บริเวณนั้นเย็นขึ้นนอกจากนี้ ร่มไม้และระบบรากไม้ยังช่วยระบายน้าท่วมขังที่
เกิดจากพายุฝน ทั้งยังช่วยรักษาสมดุลสารอาหารในดินอีกด้วย
แนวทางแก้ไข
เมลเบิร์น (Melbourne) เป็นเมืองตัวอย่างที่ส่งเสริมให้พลเมืองภูมิใจในความเป็นเมืองสีเขียว
ผ่านการใช้กลยุทธ์ป่าในเมือง (Urban Forest Strategy) เป็นตัวขับเคลื่อน โดยใช้ต้นไม้กว่า 70,000 ต้น
ซึ่งทุกต้นจะถูกเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลส่วนกลางแจกจ่ายให้ประชาชนรับไปดูแล จากนั้นภาครัฐจะติดตาม
การเจริญเติบโตและอัตราการลดก๊าซคาร์บอนของต้นไม้เหล่านี้โดยมีการแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันผ่าน
เครือข่ายสังคม (Social Network) นอกจากนี้ ต้นไม้แต่ละต้นยังมีอีเมล์เป็นของตัวเองซึ่งช่วยอานวย
ความสะดวกให้แก่ประชาชนในการแจ้งปัญหาหรือรับคาปรึกษาในเรื่องการดูแลรักษาต้นไม้
ปัจจุบันเมลเบิร์นมีต้นไม้ครอบคลุมทั่วเมือง 22% และจะเพิ่มขึ้นถึง 40% ภายในปี ค.ศ. 2040
ด้วยเพราะมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาเครื่องมือและกระบวนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อบรรเทาผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เช่นนี้ จึงทาให้เมลเบิร์นเดินหน้าผลักดันตนเองสู่การเป็นเมือง
ผู้นาด้านป่าไม้ระดับโลกอย่างเต็มตัว
4
การเดินทางแห่งอนาคต
ปัญหา
ในช่วง ค.ศ. 1920-1930 ความคิดของพวกหัวสมัยใหม่
(Modernist) เป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้เมืองพัฒนาแบบไร้ทิศทาง
(Sprawl) เติบโตในแนวดิ่ง (Tall) และเน้นการใช้รถยนต์เป็น
หลัก (Car-centric) เฉกเช่นทุกวันนี้ ส่งผลให้เมืองขาดแคลน
พื้นที่สาหรับคนเดิน คนขี่จักรยาน หรือแม้กระทั่งรถขนส่ง
สาธารณะ เนื่องจากเมืองไม่มีการวางแผนที่ดีและไม่มีพื้นที่
สาธารณะเพียงพอที่จะส่งเสริมให้เมืองมีความยั่งยืน มีสุขภาวะ
มีความปลอดภัย น่าอยู่และมีชีวิตชีวาได้
แนวทางแก้ไข
สิ่งสาคัญอันดับแรกคือ การเดินทางด้วยเท้าและด้วย
พาหนะที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ต้องมีความปลอดภัยมากขึ้นก่อน การ
ใช้บริการขนส่งสาธารณะจึงจะมีประสิทธิผล ช่วยลดความแออัดและมลภาวะ ทาให้คนเมืองมีสุขภาวะที่ดี
และสามารถเดินทางในชั่วโมงเร่งด่วนได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะการขี่จักรยานที่เร็วกว่าการนั่งรถยนต์มากถึง
ร้อยละ 40 อีกทั้งยังสามารถคาดการณ์ระยะเวลาเดินทางได้และมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางที่ถูกกว่าด้วย
นอกจากนี้ การลงทุนเพียงเล็กน้อยในด้านการสนับสนุนการขี่จักรยาน สามารถก่อให้เกิด
ผลตอบแทนกลับคืนมาได้อย่างมาก เห็นได้จากการศึกษาของรัฐบาลอังกฤษที่พบว่า อัตราผลตอบแทน
จากการลงทุนสนับสนุนการขี่จักรยานมีค่ามากถึง 35 ต่อ 1 ทั้งนี้ เป็นผลมาจากต้นทุนโครงสร้างพื้นฐาน
ที่ต่า ไม่ว่าจะเป็นการทาเลนจักรยาน การทาระบบยืมจักรยาน (Bike-sharing) การปรับระยะเวลา
สัญญาณไฟจราจรเพื่อให้เหมาะสมกับความเร็วของการขี่จักรยาน ตลอดจนการปลูกต้นไม้สองฝั่งข้าง
ทางเพื่อลดความเร็วของการจราจร
ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งการใช้ระบบเซ็นเซอร์ (Sensors) การอาศัยคุณสมบัติของแสง
(Optics) และการฝังชิปในผลิตภัณฑ์ต่างๆ จึงไม่ใช่เรื่องยาก หากจะนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาผนวกเข้า
กับระบบขนส่ง ยกตัวอย่างเช่น ล้อจักรยานโคเปนเฮเกน (Copenhagen Wheel) ที่คิดค้นโดยศูนย์
SENSEable City Lab ของ MIT ซึ่งเป็นล้อที่สามารถช่วยเพิ่มพลังของนักปั่นได้ด้วยแบตเตอรี่ที่สามารถ
เก็บกักพลังงานที่แปรมาจากการปั่นลงเขาหรือเวลาหยุดรถ
5
หมุนเปลี่ยนเวียนใช้พลังงาน
ปัญหา
ข้อมูลของ IEA ปี 2011 พบว่าปริมาณปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 3 ใน 5 ของโลก
มีที่มาจากการผลิตกระแสไฟฟ้า ความร้อนและการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งทั้งหมด
มีสาเหตุมาจากการเพิ่มจานวนประชากรและการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จนมีการคาดการณ์ว่าการใช้
พลังงานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 50% ในช่วงปี 2010 – 2035 หรือประมาณ 226,000,000,000 MWh ซึ่งใน
ท้ายที่สุดจะนาไปสู่การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น
แนวทางแก้ไข
โดยทั่วไป การผลิตกระแสไฟฟ้าจะก่อให้เกิด
พลังงานความร้อนเหลือทิ้งจานวนมาก แนวคิด
Cogeneration จึงถูกพัฒนาขึ้นโดยมีลักษณะเป็นระบบ
เครื่องกลที่ทาหน้าที่ตรวจจับและนาพลังงานความร้อน
ส่วนเกินไปใช้ประโยชน์ ซึ่งถือเป็นการปรับปรุงการใช้
พลังงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ระบบ Trigeneration ที่นาพลังงานความร้อนเหลือทิ้ง
จากการผลิตไฟฟ้ามาใช้ให้ความอบอุ่นหรือความเย็นแก่
อาคารโดยผ่านเทคโนโลยีทาความเย็นแบบดูดซึม
(Absorption Refrigerator Technology) เช่น การระบาย
ความร้อนจากอาคารซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่เป็น
จานวนมาก ปัจจุบันระบบ Trigeneration ได้เริ่มนามาใช้
ในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ยุโรปตอนใต้ เกาหลีใต้และ
ญี่ปุ่น
ปัจจุบัน เทคโนโลยีที่กล่าวถึงข้างต้นได้มีการ
พัฒนาไปอีกขั้น นั่นคือการพยายามนาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เกิดจากการผลิตไฟฟ้าและการ
เผาไหม้แก๊สกลับมาใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม การทาสวน รวมไปถึงการผลิตอาหาร เช่น
น้าอัดลม ซึ่งเทคโนโลยีการนาพลังงานและของเสียกลับมาใช้ใหม่นี้หากนามาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมได้จะ
ก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ทั้งทาให้การดาเนินงานมีความยืดหยุ่น ช่วยลดต้นทุนการดาเนินงาน
ตลอดทั้งยังช่วยเพิ่มศักยภาพในการลดอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อีกด้วย อย่างไรก็ตาม
ความท้าทายหลักสาหรับการริเริ่มระบบดังกล่าวอยู่ที่การลงทุนในช่วงแรกเริ่มซึ่งอาจต้องใช้งบประมาณ
ค่อนข้างมาก
6
เมืองแห่งการแบ่งปัน:
ปลดปล่อยศักยภาพของเมืองที่ไม่ได้ใช้
ปัญหา
หลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม รูปแบบการบริโภคของผู้คนเปลี่ยนไปอย่างมาก ผู้คนบริโภค
สูงขึ้นมากและบริโภคอย่างสิ้นเปลือง ทาให้ภาพรวมของเศรษฐกิจมีการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่าง
หนักหน่วง
ด้วยเหตุนี้ทาให้ปัจจุบันเริ่มมีการคิดถึง “เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน” (Circular Economy) มากขึ้น
เพราะจะช่วยลดการใช้ทรัพยากรและช่วยลดการปล่อยมลพิษ โดยเศรษฐกิจแบบหมุนเวียนนี้มีแนวคิด
คล้ายกับ “เศรษฐกิจแบ่งปัน” (Sharing Economy) เน้นเปลี่ยนวัฒนธรรมการบริโภคให้หันมาคานึงถึง
การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่ามากขึ้น
แนวทางแก้ไข
ในหลายๆ เมือง ผู้คนเริ่มใช้เว็บไซต์ต่างๆ เพื่อเป็น
สื่อกลางให้การแบ่งปันสิ่งของ เช่น Airbnb website สื่อกลาง
ที่ให้ผู้ที่มีบ้านหรือห้องว่างที่ไม่ได้ใช้งานมาโพสต์ข้อมูลและ
ช่วยให้นักท่องเที่ยวได้เช่าที่พักในราคาถูก ช่วยรองรับความ
ต้องการที่พักของนักท่องเที่ยวได้มาก ขณะที่ Zipcar เป็น
website สื่อกลางให้บริการรถเช่าที่แปรแนวคิดการแชร์รถ 1
คัน ให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น Steetbank เป็นอีกหนึ่ง
website สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและยืมของกัน โดยของ
ที่ไม่ได้ใช้แล้วนั้นสามารถโพสต์ข้อมูล เพื่อให้คนอื่นมายืมใช้
ต่อได้
หลักคิดของเศรษฐกิจแบ่งปันสามารถประยุกต์ใช้กับ
การพัฒนาเมืองได้ คือ การแบ่งหรือการใช้สถานที่ร่วมกัน
(Co – location) ให้ผู้คนในเมืองได้เข้ามาใช้ประโยชน์ของ
สถานที่ได้มากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนมัธยมมักมีสนามกีฬา โรงยิม และสิ่งอานวยความสะดวก
อื่นๆ ควรจะแบ่งหรือเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปได้เข้าไปใช้ประโยชน์ด้วย หรือที่ดินเปล่าของภาครัฐ
ควรนามาปรับปรุงเพื่อให้ผู้คนได้เข้าไปใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด การแบ่งหรือการใช้สถานที่ร่วมกัน จะ
ช่วยลดความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานของผู้คนในเมือง ซึ่งช่วยประหยัดงบประมาณในการสร้างสิ่ง
ต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกของคนในเมืองด้วย
7
ไปไหนๆ ได้ตามใจสั่ง
ปัญหา
ท่ามกลางความวุ่นวายภายในเมือง ความแออัดของการจราจรบนท้องถนนเป็นสาเหตุสาคัญที่
ทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศ ก่อให้เกิดต้นทุนทั้งด้านการเงินและด้านการใช้ชีวิตของคนเมืองที่ต้อง
เสียเวลาและสุขภาพ จากผลการศึกษาในเขตเมืองใหญ่ของประเทศสหรัฐอเมริกาจานวน 83 แห่ง พบว่า
ความแออัดทาให้คนเมืองเสียทั้งเวลาและพลังงานคิดเป็นมูลค่ารวมกว่า 6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ(2.1
ล้านล้านบาท) นอกจากนี้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ระบุว่า ประชากร
ทั่วโลกเสียชีวิตด้วยสาเหตุจากมลพิษทางอากาศมากกว่า 1 ล้านคนต่อปี ซึ่งมลพิษส่วนใหญ่นั้นมีสาเหตุ
มาจากรถยนต์
แนวทางแก้ไข
ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว เราสามารถใช้ข้อมูล
ข่าวสารทางดิจิทัลและเทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพของการจราจรให้ดีขึ้นได้ โดยเฉพาะข้อมูลที่ทันต่อ
เวลา (Real-time) จะทาให้เราสามารถสอดส่องดูแลความเป็นไป
ของโครงสร้างพื้นฐานของระบบขนส่งภายในเมืองโดยการใช้วิธี
หาเส้นทางที่เหมาะสมที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ระบบจัดเส้นทางให้
รถขนส่งมวลชน (Mass Transport Vehicle Routing) ที่พัฒนา
โดยนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเออร์ไวน์
(University of California, Irvine) ระบบนี้สามารถจัดหาเส้นทางที่
เหมาะสมที่สุดได้ทันทีทุกช่วงเวลา เพื่อให้รถบริการสาธารณะขับ
ไปรับ-ส่งผู้โดยสารได้ตรงกับความต้องการของคนเมือง
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมากที่สุด
ปัจจุบัน สมาร์ทโฟนและแอพพลิเคชั่นต่างเป็นที่รู้จักและใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงไม่ใช่เรื่องยาก
หากจะริเริ่มออกแบบและสร้างระบบการแบ่งปันรถยนต์ส่วนตัวภายในเมือง เพื่อสนับสนุนแนวคิดไปทาง
เดียวกันไปด้วยกันในทานองว่า “รถยนต์ของคุณสามารถพาคุณไปทางานได้ แล้วทาไมไม่พาใครสักคนที่
ไปทางเดียวกันไปกับคุณด้วยล่ะ?” ระบบการแบ่งปันรถยนต์ส่วนตัวเป็นระบบที่ทาให้คนเมืองสามารถ
เดินทางไปไหนมาไหนด้วยรถยนต์ส่วนตัวหรือแท็กซี่ได้ตามความต้องการ (On-demand) อีกทั้ง ยัง
สามารถทดแทนการใช้รถบริการขนส่งสาธารณะได้เป็นอย่างดี เพราะคนเมืองจะเริ่มรู้สึกว่าการใช้
รถยนต์ส่วนตัวไม่แตกต่างกับการใช้บริการรถขนส่งสาธารณะเท่าใดนัก
8
มองเมืองเมเดลลิน:
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการบูรณาการทางสังคม
ปัญหา
ใน ค.ศ. 1992 เมืองเมเดลลิน (Medellin) ประเทศโคลอมเบีย เป็นหนึ่งในเมืองที่อันตรายที่สุดใน
โลก ทว่าปัจจุบันเมเดลลินถูกมองว่าเป็นตัวอย่างที่ก้าวหน้าของการพัฒนาทางสถาปัตยกรรมและการ
พัฒนาเมือง ซึ่งถูกริเริ่มในสมัยนายกเทศมนตรี Sergio Fajardo (ค.ศ. 2003-2007) ซึ่งโดยทั่วไป
โครงการการพัฒนาเมืองมักมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาทางกายภาพเป็นหลัก แต่เมืองเมเดลลินใช้
สถาปัตยกรรมและความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคนในเมืองมาเป็นเครื่องมือในการบูรณาการทางสังคม
แนวทางแก้ไข
โครงการต่างๆ อาทิ หอสมุดแอสปาญา (Espana
Library Park) และกระเช้าลอยฟ้าของเมือง ในฐานะระบบ
ขนส่งสาธารณะ เป็นกุญแจสาคัญในกระบวนการที่นามาซึ่ง
การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
โดยการเชื่อมโยงคนและชุมชนที่มีรายได้น้อยเข้ากับ
ศูนย์กลางเศรษฐกิจที่ร่ารวยกว่าของเมือง เป็นผลให้เมืองเม
เดลลินเปลี่ยนไปใน 10 ปีที่ผ่านมา ไม่เพียงในเชิงพลวัตทาง
กายภาพของพื้นที่เท่านั้น หากแต่ในเชิงความคิดและการ
รับรู้ของผู้คนในเมือง ผู้ซึ่งประจักษ์ว่าวัฒนธรรมเป็น
เครื่องมือสาคัญในการพัฒนา วิธีการนี้ทาให้ผู้เชี่ยวชาญที่
อื่นๆ ต่างมาศึกษาดูงานที่เมเดลลินในฐานะเมืองต้นแบบใน
การวางแผนและการบริหารเมือง
การใช้สถาปัตยกรรมและความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคน
เมืองมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเมือง สามารถนามาซึ่งผลลัพธ์ที่คาดไม่ถึงทั้งในการเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพ การทางาน และพฤติกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้างให้เกิดการเชื่อมโยงที่ทลายกาแพง
ระหว่างความรวยและความจน ซึ่งช่วยลดความรุนแรงภายในเมืองได้อีกด้วย
9
ใช้เสาไฟถนน “อัจฉริยะ” ติดตามความเป็นไปในเมือง
ปัญหา
เสาไฟที่เรียงรายตามถนนในปัจจุบันนั้นแพงเกินไปสาหรับเทศบาลต่างๆ ในการใช้งานและ
บารุงรักษา อีกทั้งในบางกรณียังมีส่วนประกอบของก๊าซพิษอีกด้วย ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลอดไฟกว่า 4
พันล้านดวงทั่วโลกจะถูกเปลี่ยนเป็นหลอดไฟ LED ซึ่งเป็นหลอดไฟที่มีอายุการใช้งานยาวนาน และ
ประหยัดพลังงานกว่าหลอดไฟแบบเดิม และมีส่วนประกอบของสารอันตรายน้อยกว่าอีกด้วย
แนวทางแก้ไข
หลอดไฟ LED รุ่นใหม่ที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดแบบไฮเทค จะสามารถเก็บข้อมูลสภาพ
อากาศ มลพิษ แผ่นดินไหว สภาพการจราจรและผู้คน
รวมทั้งมลภาวะทางเสียงและอากาศ โดยการเชื่อมต่อเสาไฟ
ถนนอัจฉริยะเหล่านั้นเข้ากับระบบโครงข่ายอินเทอร์เน็ต
เป็นผลให้สามารถตรวจวัดเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายใน
เมืองแบบทันต่อเหตุการณ์ และยังเป็นนวัตกรรมที่ช่วย
แก้ปัญหาในพื้นที่อีกด้วย เช่น ความปลอดภัยในที่สาธารณะ
หรือการระบุที่ว่างที่สามารถจอดรถในเมืองได้ บริษัท Cisco,
Sensity และเทศบาลนครชิคาโก ได้มาสาธิตเทคโนโลยีเสา
ไฟถนนอัจฉริยะนี้ในงาน The Internet of Things World
Forum
การเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยี LED ทาให้เมือง
สามารถเปลี่ยนเสาไฟถนน ซึ่งเป็นทรัพย์สินที่จม (Dead
Asset) เปลืองทั้งพลังงานและเงิน มาเป็น Live asset หรือ
ทรัพย์สินที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเมือง
10
เกษตรกรรมในเมือง: การปลูกผักแนวตั้ง
ปัญหา
สหประชาชาติคาดการณ์ว่าภายในปี ค.ศ. 2050 โลกจะมีประชากรสูงขึ้นไปถึง 9 พันล้านคน
และส่วนใหญ่ของประชากร 2 พันล้านคนที่จะเพิ่มขึ้นมาจากปัจจุบันนี้ จะอาศัยอยู่ในเมือง ดังนั้น เราควร
จะใส่ใจกับการจัดการระบบอาหารใหม่ เพราะปัจจุบันมนุษย์บริโภคอาหารสิ้นเปลืองอย่างมหาศาล
มูลนิธิ Ellen McArthur พบว่า 45% ของผักในยุโรปเน่าเสียง่าย และมีกระบวนการผลิตที่
สิ้นเปลืองมาก สะท้อนให้เห็นถึงห่วงโซ่อาหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ
แนวทางแก้ไข
การแก้ปัญหากระบวนการผลิตที่สิ้นเปลืองนั้น ใช้วิธี
ง่ายๆ คือ การย้ายการทาเกษตรกรรมมาอยู่ในเมือง
สามารถปลูกผักบนหลังคาหรือผนังของอาคาร โดยใช้วิธี
ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิค (Hyproponic System) คือปลูก
พืชโดยไม่ใช้ดิน ข้อดีคือ พืชหลายชนิดได้ผลผลิตที่มากขึ้น
ในเวลาที่น้อยกว่าเดิม อีกทั้งมีการใช้น้าน้อยมาก โดยใช้น้า
น้อยกว่าวิธีการปลูกแบบเดิมถึง 10 เท่า นอกจากนี้ การ
พัฒนาของไฟ LED ซึ่งขณะนี้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นมาก จะ
ช่วยปล่อยความยาวคลื่นเฉพาะ (Specific Wavelengths) ที่
เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช โดยระบบนี้ได้ใช้ใน ฟาร์ม
Aero ซึ่งสามารถสร้างผลผลิตได้ถึง 100 เท่า จากการ
เปลี่ยนวิธีการปลูกพืช
ขณะนี้ มีบริษัทขนส่งสินค้าที่ลูกค้าสามารถสั่งได้
ทางโทรศัพท์ มีการจัดส่งเครื่องมือการเกษตร เช่น เสียม
ซ้อมพรวนดิน เพื่อให้คนในเมืองสามารถปลูกผักได้อย่าง
เต็มที่ในพื้นที่ว่างของตัวเอง เช่น ลานจอดรถ เป็นต้น อีกทั้งเริ่มมีการปรับวิธีการผลิตอาหารในเมืองโดย
ใช้วิธีปลูกผักแบบใหม่ เช่น การรวมระบบของการเลี้ยงสัตว์น้าและปลูกผักด้วยกัน (Aquaponic) โดย
ฟาร์ม Sky Greens ได้ใช้วิธีดังกล่าว คือ การเอาน้าจากการเลี้ยงสัตว์น้าซึ่งเป็นของเสียมาปลูกพืช และ
นาพืชมาเป็นอาหารปลา หากไปดูในลอนดอน จะเห็นว่ามีการกาหนดให้รักษาพื้นที่เกษตรไว้รอบๆ
เมือง เรียกว่า “วงแหวนเขียว” (Green Belt) เพื่อสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสาหรับรองรับการ
ขยายตัวของเมือง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงกระแสใหม่ของการทาฟาร์มในเมือง ซึ่งเป็นการทาฟาร์ม
แนวตั้งที่จะเป็นแหล่งอาหารที่ดีสาหรับคนเมือง
เอกสารอ้างอิง
Oliver Cann. 2015. Top 10 urban innovations of 2015. World Economic Forum. ออนไลน์
http://www.weforum.org/agenda/2015/10/top-10-urban-innovations-of-2015.

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 

What's hot (20)

I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 

Viewers also liked

บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
RESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืน
RESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืนRESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืน
RESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืนFURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 

Viewers also liked (6)

บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
Yothi innovation district
Yothi innovation district  Yothi innovation district
Yothi innovation district
 
RESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืน
RESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืนRESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืน
RESILIENCE ทางออกของการจัดการน้ำท่วมที่ยั่งยืน
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 

Similar to 10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015

FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD_RSU
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมdomwitlism
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 

Similar to 10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015 (20)

FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
868 file1
868 file1868 file1
868 file1
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015

  • 1.
  • 2. 10 นวัตกรรม การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน แปลและเรียบเรียง: อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ณัฐธิดา เย็นบารุง ฮาพีฟี สะมะแอ จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ปาณัท ทองพ่วง บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ปก: ธีรสิทธิ์ปิยะอภินันท์ รูปเล่ม: ปาณัท ทองพ่วง ปีที่เผยแพร่: มีนาคม 2559 เผยแพร่โดย: แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง และสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริม ปัญญาสาธารณะ (CPWI) สนับสนุนโดย: สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 3. 1 จัดสรรพื้นที่ใช้สอยในเมืองใหม่ด้วยเทคโนโลยี ปัญหา สังคมเมืองคืออนาคตของโลก คนที่อยู่ในเมืองจะ เพิ่มขึ้นจาก 4 พันล้านเป็น 7 พันล้านในอีกสามสิบปีข้างหน้า เมืองจะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการรองรับประชากรที่จะ เพิ่มขึ้นให้ได้เป็นสองเท่าภายในปี 2050 ซึ่งไม่มีเวลาหรือเงิน เพียงพอที่จะสร้างโครงสร้างพื้นฐานใหม่ที่จะรองรับประชากร ขนาดนั้นได้ทัน ดังนั้น ทางออกจึงเป็นการใช้เทคโนโลยีมา ช่วยจัดสรรและปรับการใช้ประโยชน์พื้นที่และโครงสร้าง กายภาพที่มีอยู่แล้วให้เอนกประสงค์มากขึ้น แนวทางแก้ไข ปัจจุบัน หลายเมืองเริ่มหันมาใช้เทคโนโลยีจัดสรร การใช้งานพื้นที่ในเมืองเสียใหม่ให้คุ้มค่ามากที่สุดในขณะที่ ลงทุนน้อยที่สุด เช่น แวนคูเวอร์ (Vancouver) สามารถลด มลภาวะในเมืองลง กลาสโกว์ (Glasgow) เปลี่ยนแนวคิดใน การพัฒนาเมืองจากการขยายตัวมาเป็นกระจุกตัว มหานครนิวยอร์ค (New York City) ขยายทางเท้า และพื้นที่สาธารณะ ส่วนเมลเบิร์น (Melbourne) หันมาปรับปรุงถนนที่ไม่ค่อยได้ใช้งานและจัดสรรการ พัฒนาเขตที่อยู่อาศัยที่มีประชากรหนาแน่นให้ไปอยู่รอบๆ สถานีรถไฟและโครงข่ายคมนาคมทางถนน ในกรณีเมลเบิร์น คาดกันว่าหากใช้เทคโนโลยีมาจัดสรรโครงสร้างทางกายภาพเดิมของเมืองที่มี อยู่ให้รองรับจานวนประชากรที่จะเพิ่มขึ้นอีก 3.5 ล้านคนภายในปี 2050 ได้โดยไม่ต้องขยายเขตเมือง ออกไปจากปัจจุบัน จะสามารถลดงบประมาณก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานได้มหาศาล นอกจากนี้ การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยียังช่วยให้ย่านเก่าของเมืองทารายได้ได้ด้วย เพราะนวัตกรรมเปลี่ยนแปลงวิธีการ ทางาน สร้างอาชีพใหม่ๆ และทาลายข้อจากัดด้านการผลิต การเข้าไปปรับปรุงอาคารเก่าโดยใช้ นวัตกรรมใหม่ เปลี่ยนให้อาคารเก่าหลังหนึ่งกลายเป็นพื้นที่ที่ทากิจกรรมได้เอนกประสงค์ เช่น เป็นโรง ภาพยนตร์ สถานที่ออกกาลังกาย พิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ แหล่งท่องเที่ยวผ่อนคลาย จุดพบปะ สังสรรค์ ได้ในเวลาเดียวกัน
  • 4. 2 ควบคุมระบบประปาผ่านอินเทอร์เน็ต ปัญหา ยิ่งคนอาศัยอยู่ในเมืองมากขึ้น เรื่องน้าหรือการ ประปาของเมืองก็ยิ่งทวีความสาคัญมากขึ้น เพราะ เกี่ยวพันกับการใช้น้าอุปโภคบริโภค ใช้น้าในการผลิต รวมทั้งเป็นแหล่งถ่ายเทของเสียและเส้นทางแพร่กระจาย ของโรค ภายในปี 2030 ประเมินกันว่าความต้องการใช้ น้าสะอาดจะมีมากกว่าปริมาณน้าที่มีอยู่ถึง 40% แต่ใน ปัจจุบัน คาดกันว่าน้าสะอาดที่มีค่านั้นหมดไปกับการ รั่วไหลถึง 25-30% หรือมากกว่านั้น แนวทางแก้ไข ด้วยเหตุนี้ เมืองหลายแห่งจึงเริ่มหันมาสร้าง “ระบบบริหารจัดการน้าอัจฉริยะ” ที่ติดตั้งเซ็นเซอร์ไว้ใน ระบบประปาเพื่อตรวจจับและควบคุมการไหลของน้าทั้ง ระบบผ่านคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นคาตอบในการจัดการน้า อย่างยั่งยืน ตัวอย่างเช่น ในอิสราเอล (Israel) บริษัท TaKaDu สร้างระบบที่เชื่อมต่อระบบประปาเข้ากับ อินเตอร์เน็ต ช่วยให้สามารถควบคุมน้าท่วมและเก็บกักน้าฝนได้ดียิ่งขึ้น และชี้จุดอ่อนหรือความเสียหาย ภายในระบบประปาได้ก่อนเกิดปัญหา ส่วนในรัฐควีนแลนส์ (Queensland) ของออสเตรเลีย บริษัท Unitywater ซึ่งใช้นวัตกรรมคล้ายกันนี้ก็สามารถลดปริมาณการสูญเสียน้าได้หลายพันล้านลิตรต่อปี ประหยัดทั้งเงินและเวลาในการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาในระบบประปา ไม่เพียงเท่านี้ การติดตั้งเซ็นเซอร์ในระบบประปายังช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ในโครงการ Underworlds ของ MIT ตรวจจับไวรัสและแบคทีเรีย ประเมินประสิทธิภาพของมาตรการด้าน สาธารณสุขในระบบประปาได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยป้องกันโรคระบาดและลดงบประมาณด้านสาธารณสุข ของรัฐลงอีกด้วย โครงการดังกล่าวกาลังทดลองอยู่ในเมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) รัฐแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts) สหรัฐอเมริกา
  • 5. 3 รับต้นไม้สักต้นมาดูแลผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ปัญหา คณะกรรมการระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพ ภู มิอากาศ (The International Panel on Climate Change) ได้คาดการณ์ถึงสถานการณ์ด้านสภาพอากาศที่ นับวันยิ่งรุนแรงจนอาจส่งผลกระทบและเพิ่มความท้าทายต่อ เมืองทั่วโลก โดยเฉพาะเมืองในบรรดาประเทศกาลังพัฒนา ด้วยเหตุนี้ เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมรูปแบบต่างๆ อาทิ การ สร้างเขื่อนหรือกาแพงกั้นน้าจึงมีบทบาทสาคัญยิ่งในการรับมือ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและบรรเทาผลกระทบ จากพายุและระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การเพิ่ม จานวนต้นไม้เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่อาจช่วยลดปัญหาเหล่านี้ได้ จากการศึกษาพบว่า การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง 10% สามารถช่วยชดเชยการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกได้ กล่าวคือ ต้นไม้ที่รวมถึงพืชผักมีส่วนช่วยป้ องกันรังสีคลื่นสั้น (Shortwave Radiation) จากดวงอาทิตย์ นอกจากนี้ปฏิกิริยาการคายน้าจากใบไม้ยังช่วยระบายอากาศ และทาให้อากาศรอบๆ บริเวณนั้นเย็นขึ้นนอกจากนี้ ร่มไม้และระบบรากไม้ยังช่วยระบายน้าท่วมขังที่ เกิดจากพายุฝน ทั้งยังช่วยรักษาสมดุลสารอาหารในดินอีกด้วย แนวทางแก้ไข เมลเบิร์น (Melbourne) เป็นเมืองตัวอย่างที่ส่งเสริมให้พลเมืองภูมิใจในความเป็นเมืองสีเขียว ผ่านการใช้กลยุทธ์ป่าในเมือง (Urban Forest Strategy) เป็นตัวขับเคลื่อน โดยใช้ต้นไม้กว่า 70,000 ต้น ซึ่งทุกต้นจะถูกเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลส่วนกลางแจกจ่ายให้ประชาชนรับไปดูแล จากนั้นภาครัฐจะติดตาม การเจริญเติบโตและอัตราการลดก๊าซคาร์บอนของต้นไม้เหล่านี้โดยมีการแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันผ่าน เครือข่ายสังคม (Social Network) นอกจากนี้ ต้นไม้แต่ละต้นยังมีอีเมล์เป็นของตัวเองซึ่งช่วยอานวย ความสะดวกให้แก่ประชาชนในการแจ้งปัญหาหรือรับคาปรึกษาในเรื่องการดูแลรักษาต้นไม้ ปัจจุบันเมลเบิร์นมีต้นไม้ครอบคลุมทั่วเมือง 22% และจะเพิ่มขึ้นถึง 40% ภายในปี ค.ศ. 2040 ด้วยเพราะมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาเครื่องมือและกระบวนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อบรรเทาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เช่นนี้ จึงทาให้เมลเบิร์นเดินหน้าผลักดันตนเองสู่การเป็นเมือง ผู้นาด้านป่าไม้ระดับโลกอย่างเต็มตัว
  • 6. 4 การเดินทางแห่งอนาคต ปัญหา ในช่วง ค.ศ. 1920-1930 ความคิดของพวกหัวสมัยใหม่ (Modernist) เป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้เมืองพัฒนาแบบไร้ทิศทาง (Sprawl) เติบโตในแนวดิ่ง (Tall) และเน้นการใช้รถยนต์เป็น หลัก (Car-centric) เฉกเช่นทุกวันนี้ ส่งผลให้เมืองขาดแคลน พื้นที่สาหรับคนเดิน คนขี่จักรยาน หรือแม้กระทั่งรถขนส่ง สาธารณะ เนื่องจากเมืองไม่มีการวางแผนที่ดีและไม่มีพื้นที่ สาธารณะเพียงพอที่จะส่งเสริมให้เมืองมีความยั่งยืน มีสุขภาวะ มีความปลอดภัย น่าอยู่และมีชีวิตชีวาได้ แนวทางแก้ไข สิ่งสาคัญอันดับแรกคือ การเดินทางด้วยเท้าและด้วย พาหนะที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ต้องมีความปลอดภัยมากขึ้นก่อน การ ใช้บริการขนส่งสาธารณะจึงจะมีประสิทธิผล ช่วยลดความแออัดและมลภาวะ ทาให้คนเมืองมีสุขภาวะที่ดี และสามารถเดินทางในชั่วโมงเร่งด่วนได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะการขี่จักรยานที่เร็วกว่าการนั่งรถยนต์มากถึง ร้อยละ 40 อีกทั้งยังสามารถคาดการณ์ระยะเวลาเดินทางได้และมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางที่ถูกกว่าด้วย นอกจากนี้ การลงทุนเพียงเล็กน้อยในด้านการสนับสนุนการขี่จักรยาน สามารถก่อให้เกิด ผลตอบแทนกลับคืนมาได้อย่างมาก เห็นได้จากการศึกษาของรัฐบาลอังกฤษที่พบว่า อัตราผลตอบแทน จากการลงทุนสนับสนุนการขี่จักรยานมีค่ามากถึง 35 ต่อ 1 ทั้งนี้ เป็นผลมาจากต้นทุนโครงสร้างพื้นฐาน ที่ต่า ไม่ว่าจะเป็นการทาเลนจักรยาน การทาระบบยืมจักรยาน (Bike-sharing) การปรับระยะเวลา สัญญาณไฟจราจรเพื่อให้เหมาะสมกับความเร็วของการขี่จักรยาน ตลอดจนการปลูกต้นไม้สองฝั่งข้าง ทางเพื่อลดความเร็วของการจราจร ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งการใช้ระบบเซ็นเซอร์ (Sensors) การอาศัยคุณสมบัติของแสง (Optics) และการฝังชิปในผลิตภัณฑ์ต่างๆ จึงไม่ใช่เรื่องยาก หากจะนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาผนวกเข้า กับระบบขนส่ง ยกตัวอย่างเช่น ล้อจักรยานโคเปนเฮเกน (Copenhagen Wheel) ที่คิดค้นโดยศูนย์ SENSEable City Lab ของ MIT ซึ่งเป็นล้อที่สามารถช่วยเพิ่มพลังของนักปั่นได้ด้วยแบตเตอรี่ที่สามารถ เก็บกักพลังงานที่แปรมาจากการปั่นลงเขาหรือเวลาหยุดรถ
  • 7. 5 หมุนเปลี่ยนเวียนใช้พลังงาน ปัญหา ข้อมูลของ IEA ปี 2011 พบว่าปริมาณปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 3 ใน 5 ของโลก มีที่มาจากการผลิตกระแสไฟฟ้า ความร้อนและการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งทั้งหมด มีสาเหตุมาจากการเพิ่มจานวนประชากรและการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จนมีการคาดการณ์ว่าการใช้ พลังงานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นอีก 50% ในช่วงปี 2010 – 2035 หรือประมาณ 226,000,000,000 MWh ซึ่งใน ท้ายที่สุดจะนาไปสู่การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น แนวทางแก้ไข โดยทั่วไป การผลิตกระแสไฟฟ้าจะก่อให้เกิด พลังงานความร้อนเหลือทิ้งจานวนมาก แนวคิด Cogeneration จึงถูกพัฒนาขึ้นโดยมีลักษณะเป็นระบบ เครื่องกลที่ทาหน้าที่ตรวจจับและนาพลังงานความร้อน ส่วนเกินไปใช้ประโยชน์ ซึ่งถือเป็นการปรับปรุงการใช้ พลังงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบ Trigeneration ที่นาพลังงานความร้อนเหลือทิ้ง จากการผลิตไฟฟ้ามาใช้ให้ความอบอุ่นหรือความเย็นแก่ อาคารโดยผ่านเทคโนโลยีทาความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Refrigerator Technology) เช่น การระบาย ความร้อนจากอาคารซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่เป็น จานวนมาก ปัจจุบันระบบ Trigeneration ได้เริ่มนามาใช้ ในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ยุโรปตอนใต้ เกาหลีใต้และ ญี่ปุ่น ปัจจุบัน เทคโนโลยีที่กล่าวถึงข้างต้นได้มีการ พัฒนาไปอีกขั้น นั่นคือการพยายามนาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เกิดจากการผลิตไฟฟ้าและการ เผาไหม้แก๊สกลับมาใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม การทาสวน รวมไปถึงการผลิตอาหาร เช่น น้าอัดลม ซึ่งเทคโนโลยีการนาพลังงานและของเสียกลับมาใช้ใหม่นี้หากนามาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมได้จะ ก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ทั้งทาให้การดาเนินงานมีความยืดหยุ่น ช่วยลดต้นทุนการดาเนินงาน ตลอดทั้งยังช่วยเพิ่มศักยภาพในการลดอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ความท้าทายหลักสาหรับการริเริ่มระบบดังกล่าวอยู่ที่การลงทุนในช่วงแรกเริ่มซึ่งอาจต้องใช้งบประมาณ ค่อนข้างมาก
  • 8. 6 เมืองแห่งการแบ่งปัน: ปลดปล่อยศักยภาพของเมืองที่ไม่ได้ใช้ ปัญหา หลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม รูปแบบการบริโภคของผู้คนเปลี่ยนไปอย่างมาก ผู้คนบริโภค สูงขึ้นมากและบริโภคอย่างสิ้นเปลือง ทาให้ภาพรวมของเศรษฐกิจมีการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่าง หนักหน่วง ด้วยเหตุนี้ทาให้ปัจจุบันเริ่มมีการคิดถึง “เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน” (Circular Economy) มากขึ้น เพราะจะช่วยลดการใช้ทรัพยากรและช่วยลดการปล่อยมลพิษ โดยเศรษฐกิจแบบหมุนเวียนนี้มีแนวคิด คล้ายกับ “เศรษฐกิจแบ่งปัน” (Sharing Economy) เน้นเปลี่ยนวัฒนธรรมการบริโภคให้หันมาคานึงถึง การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่ามากขึ้น แนวทางแก้ไข ในหลายๆ เมือง ผู้คนเริ่มใช้เว็บไซต์ต่างๆ เพื่อเป็น สื่อกลางให้การแบ่งปันสิ่งของ เช่น Airbnb website สื่อกลาง ที่ให้ผู้ที่มีบ้านหรือห้องว่างที่ไม่ได้ใช้งานมาโพสต์ข้อมูลและ ช่วยให้นักท่องเที่ยวได้เช่าที่พักในราคาถูก ช่วยรองรับความ ต้องการที่พักของนักท่องเที่ยวได้มาก ขณะที่ Zipcar เป็น website สื่อกลางให้บริการรถเช่าที่แปรแนวคิดการแชร์รถ 1 คัน ให้สามารถใช้งานได้มากขึ้น Steetbank เป็นอีกหนึ่ง website สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและยืมของกัน โดยของ ที่ไม่ได้ใช้แล้วนั้นสามารถโพสต์ข้อมูล เพื่อให้คนอื่นมายืมใช้ ต่อได้ หลักคิดของเศรษฐกิจแบ่งปันสามารถประยุกต์ใช้กับ การพัฒนาเมืองได้ คือ การแบ่งหรือการใช้สถานที่ร่วมกัน (Co – location) ให้ผู้คนในเมืองได้เข้ามาใช้ประโยชน์ของ สถานที่ได้มากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนมัธยมมักมีสนามกีฬา โรงยิม และสิ่งอานวยความสะดวก อื่นๆ ควรจะแบ่งหรือเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปได้เข้าไปใช้ประโยชน์ด้วย หรือที่ดินเปล่าของภาครัฐ ควรนามาปรับปรุงเพื่อให้ผู้คนได้เข้าไปใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด การแบ่งหรือการใช้สถานที่ร่วมกัน จะ ช่วยลดความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานของผู้คนในเมือง ซึ่งช่วยประหยัดงบประมาณในการสร้างสิ่ง ต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกของคนในเมืองด้วย
  • 9. 7 ไปไหนๆ ได้ตามใจสั่ง ปัญหา ท่ามกลางความวุ่นวายภายในเมือง ความแออัดของการจราจรบนท้องถนนเป็นสาเหตุสาคัญที่ ทาให้เกิดมลภาวะทางอากาศ ก่อให้เกิดต้นทุนทั้งด้านการเงินและด้านการใช้ชีวิตของคนเมืองที่ต้อง เสียเวลาและสุขภาพ จากผลการศึกษาในเขตเมืองใหญ่ของประเทศสหรัฐอเมริกาจานวน 83 แห่ง พบว่า ความแออัดทาให้คนเมืองเสียทั้งเวลาและพลังงานคิดเป็นมูลค่ารวมกว่า 6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ(2.1 ล้านล้านบาท) นอกจากนี้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ระบุว่า ประชากร ทั่วโลกเสียชีวิตด้วยสาเหตุจากมลพิษทางอากาศมากกว่า 1 ล้านคนต่อปี ซึ่งมลพิษส่วนใหญ่นั้นมีสาเหตุ มาจากรถยนต์ แนวทางแก้ไข ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว เราสามารถใช้ข้อมูล ข่าวสารทางดิจิทัลและเทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของการจราจรให้ดีขึ้นได้ โดยเฉพาะข้อมูลที่ทันต่อ เวลา (Real-time) จะทาให้เราสามารถสอดส่องดูแลความเป็นไป ของโครงสร้างพื้นฐานของระบบขนส่งภายในเมืองโดยการใช้วิธี หาเส้นทางที่เหมาะสมที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ระบบจัดเส้นทางให้ รถขนส่งมวลชน (Mass Transport Vehicle Routing) ที่พัฒนา โดยนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเออร์ไวน์ (University of California, Irvine) ระบบนี้สามารถจัดหาเส้นทางที่ เหมาะสมที่สุดได้ทันทีทุกช่วงเวลา เพื่อให้รถบริการสาธารณะขับ ไปรับ-ส่งผู้โดยสารได้ตรงกับความต้องการของคนเมือง ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมากที่สุด ปัจจุบัน สมาร์ทโฟนและแอพพลิเคชั่นต่างเป็นที่รู้จักและใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงไม่ใช่เรื่องยาก หากจะริเริ่มออกแบบและสร้างระบบการแบ่งปันรถยนต์ส่วนตัวภายในเมือง เพื่อสนับสนุนแนวคิดไปทาง เดียวกันไปด้วยกันในทานองว่า “รถยนต์ของคุณสามารถพาคุณไปทางานได้ แล้วทาไมไม่พาใครสักคนที่ ไปทางเดียวกันไปกับคุณด้วยล่ะ?” ระบบการแบ่งปันรถยนต์ส่วนตัวเป็นระบบที่ทาให้คนเมืองสามารถ เดินทางไปไหนมาไหนด้วยรถยนต์ส่วนตัวหรือแท็กซี่ได้ตามความต้องการ (On-demand) อีกทั้ง ยัง สามารถทดแทนการใช้รถบริการขนส่งสาธารณะได้เป็นอย่างดี เพราะคนเมืองจะเริ่มรู้สึกว่าการใช้ รถยนต์ส่วนตัวไม่แตกต่างกับการใช้บริการรถขนส่งสาธารณะเท่าใดนัก
  • 10. 8 มองเมืองเมเดลลิน: โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการบูรณาการทางสังคม ปัญหา ใน ค.ศ. 1992 เมืองเมเดลลิน (Medellin) ประเทศโคลอมเบีย เป็นหนึ่งในเมืองที่อันตรายที่สุดใน โลก ทว่าปัจจุบันเมเดลลินถูกมองว่าเป็นตัวอย่างที่ก้าวหน้าของการพัฒนาทางสถาปัตยกรรมและการ พัฒนาเมือง ซึ่งถูกริเริ่มในสมัยนายกเทศมนตรี Sergio Fajardo (ค.ศ. 2003-2007) ซึ่งโดยทั่วไป โครงการการพัฒนาเมืองมักมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาทางกายภาพเป็นหลัก แต่เมืองเมเดลลินใช้ สถาปัตยกรรมและความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคนในเมืองมาเป็นเครื่องมือในการบูรณาการทางสังคม แนวทางแก้ไข โครงการต่างๆ อาทิ หอสมุดแอสปาญา (Espana Library Park) และกระเช้าลอยฟ้าของเมือง ในฐานะระบบ ขนส่งสาธารณะ เป็นกุญแจสาคัญในกระบวนการที่นามาซึ่ง การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยการเชื่อมโยงคนและชุมชนที่มีรายได้น้อยเข้ากับ ศูนย์กลางเศรษฐกิจที่ร่ารวยกว่าของเมือง เป็นผลให้เมืองเม เดลลินเปลี่ยนไปใน 10 ปีที่ผ่านมา ไม่เพียงในเชิงพลวัตทาง กายภาพของพื้นที่เท่านั้น หากแต่ในเชิงความคิดและการ รับรู้ของผู้คนในเมือง ผู้ซึ่งประจักษ์ว่าวัฒนธรรมเป็น เครื่องมือสาคัญในการพัฒนา วิธีการนี้ทาให้ผู้เชี่ยวชาญที่ อื่นๆ ต่างมาศึกษาดูงานที่เมเดลลินในฐานะเมืองต้นแบบใน การวางแผนและการบริหารเมือง การใช้สถาปัตยกรรมและความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคน เมืองมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเมือง สามารถนามาซึ่งผลลัพธ์ที่คาดไม่ถึงทั้งในการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพ การทางาน และพฤติกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้างให้เกิดการเชื่อมโยงที่ทลายกาแพง ระหว่างความรวยและความจน ซึ่งช่วยลดความรุนแรงภายในเมืองได้อีกด้วย
  • 11. 9 ใช้เสาไฟถนน “อัจฉริยะ” ติดตามความเป็นไปในเมือง ปัญหา เสาไฟที่เรียงรายตามถนนในปัจจุบันนั้นแพงเกินไปสาหรับเทศบาลต่างๆ ในการใช้งานและ บารุงรักษา อีกทั้งในบางกรณียังมีส่วนประกอบของก๊าซพิษอีกด้วย ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลอดไฟกว่า 4 พันล้านดวงทั่วโลกจะถูกเปลี่ยนเป็นหลอดไฟ LED ซึ่งเป็นหลอดไฟที่มีอายุการใช้งานยาวนาน และ ประหยัดพลังงานกว่าหลอดไฟแบบเดิม และมีส่วนประกอบของสารอันตรายน้อยกว่าอีกด้วย แนวทางแก้ไข หลอดไฟ LED รุ่นใหม่ที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดแบบไฮเทค จะสามารถเก็บข้อมูลสภาพ อากาศ มลพิษ แผ่นดินไหว สภาพการจราจรและผู้คน รวมทั้งมลภาวะทางเสียงและอากาศ โดยการเชื่อมต่อเสาไฟ ถนนอัจฉริยะเหล่านั้นเข้ากับระบบโครงข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นผลให้สามารถตรวจวัดเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายใน เมืองแบบทันต่อเหตุการณ์ และยังเป็นนวัตกรรมที่ช่วย แก้ปัญหาในพื้นที่อีกด้วย เช่น ความปลอดภัยในที่สาธารณะ หรือการระบุที่ว่างที่สามารถจอดรถในเมืองได้ บริษัท Cisco, Sensity และเทศบาลนครชิคาโก ได้มาสาธิตเทคโนโลยีเสา ไฟถนนอัจฉริยะนี้ในงาน The Internet of Things World Forum การเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยี LED ทาให้เมือง สามารถเปลี่ยนเสาไฟถนน ซึ่งเป็นทรัพย์สินที่จม (Dead Asset) เปลืองทั้งพลังงานและเงิน มาเป็น Live asset หรือ ทรัพย์สินที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเมือง
  • 12. 10 เกษตรกรรมในเมือง: การปลูกผักแนวตั้ง ปัญหา สหประชาชาติคาดการณ์ว่าภายในปี ค.ศ. 2050 โลกจะมีประชากรสูงขึ้นไปถึง 9 พันล้านคน และส่วนใหญ่ของประชากร 2 พันล้านคนที่จะเพิ่มขึ้นมาจากปัจจุบันนี้ จะอาศัยอยู่ในเมือง ดังนั้น เราควร จะใส่ใจกับการจัดการระบบอาหารใหม่ เพราะปัจจุบันมนุษย์บริโภคอาหารสิ้นเปลืองอย่างมหาศาล มูลนิธิ Ellen McArthur พบว่า 45% ของผักในยุโรปเน่าเสียง่าย และมีกระบวนการผลิตที่ สิ้นเปลืองมาก สะท้อนให้เห็นถึงห่วงโซ่อาหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ แนวทางแก้ไข การแก้ปัญหากระบวนการผลิตที่สิ้นเปลืองนั้น ใช้วิธี ง่ายๆ คือ การย้ายการทาเกษตรกรรมมาอยู่ในเมือง สามารถปลูกผักบนหลังคาหรือผนังของอาคาร โดยใช้วิธี ปลูกด้วยระบบไฮโดรโปนิค (Hyproponic System) คือปลูก พืชโดยไม่ใช้ดิน ข้อดีคือ พืชหลายชนิดได้ผลผลิตที่มากขึ้น ในเวลาที่น้อยกว่าเดิม อีกทั้งมีการใช้น้าน้อยมาก โดยใช้น้า น้อยกว่าวิธีการปลูกแบบเดิมถึง 10 เท่า นอกจากนี้ การ พัฒนาของไฟ LED ซึ่งขณะนี้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นมาก จะ ช่วยปล่อยความยาวคลื่นเฉพาะ (Specific Wavelengths) ที่ เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช โดยระบบนี้ได้ใช้ใน ฟาร์ม Aero ซึ่งสามารถสร้างผลผลิตได้ถึง 100 เท่า จากการ เปลี่ยนวิธีการปลูกพืช ขณะนี้ มีบริษัทขนส่งสินค้าที่ลูกค้าสามารถสั่งได้ ทางโทรศัพท์ มีการจัดส่งเครื่องมือการเกษตร เช่น เสียม ซ้อมพรวนดิน เพื่อให้คนในเมืองสามารถปลูกผักได้อย่าง เต็มที่ในพื้นที่ว่างของตัวเอง เช่น ลานจอดรถ เป็นต้น อีกทั้งเริ่มมีการปรับวิธีการผลิตอาหารในเมืองโดย ใช้วิธีปลูกผักแบบใหม่ เช่น การรวมระบบของการเลี้ยงสัตว์น้าและปลูกผักด้วยกัน (Aquaponic) โดย ฟาร์ม Sky Greens ได้ใช้วิธีดังกล่าว คือ การเอาน้าจากการเลี้ยงสัตว์น้าซึ่งเป็นของเสียมาปลูกพืช และ นาพืชมาเป็นอาหารปลา หากไปดูในลอนดอน จะเห็นว่ามีการกาหนดให้รักษาพื้นที่เกษตรไว้รอบๆ เมือง เรียกว่า “วงแหวนเขียว” (Green Belt) เพื่อสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสาหรับรองรับการ ขยายตัวของเมือง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงกระแสใหม่ของการทาฟาร์มในเมือง ซึ่งเป็นการทาฟาร์ม แนวตั้งที่จะเป็นแหล่งอาหารที่ดีสาหรับคนเมือง
  • 13. เอกสารอ้างอิง Oliver Cann. 2015. Top 10 urban innovations of 2015. World Economic Forum. ออนไลน์ http://www.weforum.org/agenda/2015/10/top-10-urban-innovations-of-2015.